SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง น้าหมักจากผลไม้ สีเหลืองเร่ งการเจริญเติบโตของพืช

โดย

นางสาวกัญธิมา เอียดชู ทอง เลขที่12
นางสาวสุ พรรณิการ์ นพรัตน์ เลขที่7
นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุ ข เลขที่ 6
ครูที่ปรึกษา
นางอัมรัตน์ เอียดละออง

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว32222
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
้ ่
เรื่อง น้าหมักจากผลไม้ สีเหลืองเร่ งการเจริญเติบโตของพืช

โดย

นางสาวกัญธิมา เอียดชู ทอง เลขที่12
นางสาวสุ พรรณิการ์ นพรัตน์ เลขที่7
นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุ ข เลขที่ 6

ครูที่ปรึกษา
นางอัมรัตน์ เอียดละออง
ชื่อโครงงาน
ชื่อผู้ทาโครงงาน

ระดับชั้น
ชื่อครูที่ปรึกษา
ชื่อโรงเรียน
ปี พ.ศ.

น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช
1.นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่12
2.นางสาวสุพรรณิ การ์ นพรัตน์ เลขที่7
3.นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุข เลขที่ 6
ม.4 ‟ ม.6
นางอัมรัตน์ เอียดละออง
รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
2556

บทคัดย่ อ
โครงงานเรื่ องน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาผลของชนิดของสารเร่ ง
จากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย และ ผลไม้สีเหลืองทั้ง 3 ชนิดต่อการเจริ ญเติบโตของ
พืช และเพื่อเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ งจากน้ าหมักจาก
ผลไม้สีเหลือง โดยการทดลองนา ผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย มาทาเป็ นน้ าหมักชีวภาพโดยแยก
เป็ นหมักทีละชนิ ด และ 3 ชนิดรวมกัน แล้วนาน้ าหมักปริ มาณ 10 ml ผสมกับน้ า 10 Lไปรดต้นผักบุงที่มีอายุประมาณ
้
7 วัน บันทึกการเจริ ญเติบโตเป็ นระยะ 7 วัน ต่อครั้ง จานวน 3 ครั้ง ปรากฏว่า ค่าเฉลี่ย จากการใช้สารเร่ งการเจริ ญ
เติบโตของพืชจากสารเคมี ความสูงของต้นผักบุงเพิมขึ้น 5.67 cm สารเร่ งจากน้ าหมักมะละกอ ความสูงของต้นผักบุง
้ ่
้
เพิ่มขึ้น 4 cm สารเร่ งจากน้ าหมักสับปะรด ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 3.4 cm สารเร่ งจากน้ าหมักกล้วย ความสูง
้
ของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 5.33 cm สารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 11.4 cm
้
้
และไม่ใช้สารเร่ ง ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 3.76 cm แสดงว่านาหมักจากผลไม้ สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน เป็ น
้
้
สารเร่ งที่เหมาะสมที่สุด และจากเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ ง
จากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลือง ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยจากการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี ความสูงของ
ต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 5.67 cm และสารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 11.4 cm
้
้
แสดงว่า สารเร่ งจากนาหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ สารเร่ งการเจริญเติบโตของพืชจากสารเคมี
้
ดังนั้นผลการทดลองสนับสนุนสมมติฐานที่ว่า ชนิดของน้ าหมักผลไม้มีผลต่อการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช และ สาร
เร่ งจากน้ าหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี
กิตติกรรมประกาศ
ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่ องผลไม้สีเหลือเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชในครั้งนี้ คณะผูจดทาได้รับความ
้ั
อนุเคราะห์จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ในการให้ใช้อุปกรณ์การทดลอง ขอบคุณนางสี เอียดชูทอง ให้ความ
อนุเคราะห์สถานที่ทาการทดลอง และบุคคลที่ทาให้การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี
้
สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานได้ อีกทั้งให้คาปรึ กษาแนะนาในการทาโครงงานคือ คุณครู อมรัตน์
ั
เอียดละออง รวมทั้งผูปกครองของคณะผูจดทาที่ให้การสนับสนุนในด้านของงบประมาณและการให้ขอเสนอแนะ
้
้ั
้
ต่างๆ คณะผูจดทาโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
้ั
กัญธิมา เอียดชูทอง
พิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุข
สุพรรณิ การ์ นพรัตน์
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ........................................... .........................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................................................ข
สารบัญ.......................................................................................................................................................ค
บทที่ 1 บทนา..............................................................................................................................................1
1.1 ที่มาและความสาคัญ................................................................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน.......................................................................................................1
1.3 สมมติฐาน.................................................................................................................................1
1.4 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง.....................................................................................................................1
1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า.........................................................................................................1
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ......................................................................................................................2
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ……………………………………………………………...……2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................................................3
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีทดลอง.............................................................................................................5
บทที่ 4 ผลการทดลอง.................................................................................................................................7
บทที่ 5 สรุ ปผล/อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ..........................................................................8
อ้างอิง………………………………………………………………………………………………….…ง
ภาคผนวก
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบนผูคนจานวนมากเป็ นโรคต่างๆและยังมีปัญหาสุขภาพตามมาอีก สาเหตุหลักๆมักมาจาก
ั ้
เรื่ องใกล้ตวที่เราคาดไม่ถึง คือ อาหารการกินการอุปโภคและบริ โภค โดยที่ไม่ทราบเลยว่าในอาหารที่เรารับประทาน
ั
เข้าไปแต่ละวันนั้นมีปริ มาณสารพิษมากน้อยแค่ไหน และเนื่องจากความต้องการการบริ โภคอย่างเร่ งด่วนของคนใน
สังคมปัจจุบน จึงทาให้เกษตรกรต้องเร่ งเพิ่มผลผลิตให้เร็ วขึ้นเพียงพอต่อการตลาด แม้แต่พืชผักต่างๆที่เรารับประทาน
ั
กันอยูทุกวันนี้ก็มกจะใช้สารเคมีในการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก เมื่อรับประทานเข้าไปก็จะสะสมและส่งผลเสีย
่
ั
ต่อร่ างกาย ก่อให้เกิดโรคร้ายต่างๆตามมา และเนื่องจากสมาชิกในกลุ่มได้ศกษาเรื่ องการสร้างสารเร่ งการเจริ ญเติบโต
ึ
จากธรรมชาติมาจากประสบการณ์การแข่งขัน My little farm ปี 4 ซึ่งมีการทดลองนาสารในผลไม้สีเหลืองมาเร่ งการ
เจริ ญเติบโตของพืชได้จริ งและไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผูใช้และผูบริ โภค โดยนาผลไม้ 3 ชนิด คือ กล้วย สับปะรด
้
้
และ มะละกอ มาหมักกับน้ าตาลในปริ มาณที่ตวงไว้เท่าๆกัน และนามาเปรี ยบเทียบกันระหว่าง พืชผักที่สารเคมีเร่ ง
การเจริ ญเติบโต พืชผักที่ใช้สารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองแต่ละชนิด กับพืชผักที่ไม่ใช้สารเร่ งใดๆ โดยทางกลุ่มจะหา
ผลไม้สีเหลืองที่หาได้ง่ายตามท้องตลาดและราคาไม่สูงจนเกินไป ดังนั้นทางกลุ่มของพวกเราจึงได้จดทาโครงงาน
ั
เรื่ อง น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช ขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาผลของชนิดของสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย และ ผลไม้สี
เหลืองทั้ง 3 ชนิดต่อการเจริ ญเติบโตของพืช
2.เพื่อเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สี
เหลือง
สมมติฐาน
1. ถ้าชนิดของน้ าหมักผลไม้มีผลต่อการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชแล้ว ดังนั้นชนิดของน้ าหมักผลไม้ต่างกันจะ
เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชได้ต่างกัน
2. สารเร่ งจากน้ าหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี
ตัวแปรที่เกียวข้อง
่
ตัวแปรต้น
ชนิดของสารเร่ ง ได้แก่ น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองชนิดต่าง ๆ สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจาก
สารเคมี
ตัวแปรตาม
การเจริ ญเติบโตของพืช (ความสูงที่เพิ่มขึ้นของต้นผักบุง)
้
ตัวแปรควบคุม อัตราส่วนระหว่างปริ มาณสารเร่ งกับน้ า ชนิดของดิน ชนิดของพืช เวลาที่รด
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ศึกษาเกี่ยวกับน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด และ กล้วย และสารเร่ งจากสารเคมี
ศึกษาจากการปลูกผักบุงที่บานของนางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง บ้านเลขที่ 6 หมู่ที่ 3 ตาบลวังมะปรางเหนือ
้ ้
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
นิยามศัพท์เฉพาะ
น้ าหมักจากผลไม้สีเหลือง หมายถึง น้ าหมักจากมะละกอ สับปะรด กล้วย และน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองทั้ง 3 ชนิด
เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช หมายถึง การใช้สารเร่ งความสูงของต้นผักบุง
้
ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ
1. สามารถทาสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองใช้ได้เอง
2. เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. เกิดความรับผิดชอบและสามัคคีภายในกลุ่ม
4. ลดสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
บทที่ 2
เอกสารที่เกียวข้ อง
่
วัสดุทานาหมัก นาหมักจากพืชสีเขียว(นาหมักแม่)
้
้
้
1. ผักบุง 1 กิโลกรัม
้
2. หน่อไม้ 1 กิโลกรัม
3. หน่อกล้วย 1 กิโลกรัม
4. น้ าตาลสีรา 1 กิโลกรัม
5. เกลือ ( 70 กรัม )
6.หัวเชื้อจุลินทรี ย(์ ถ้ามีใช้ 3 ช้อนแกง)
นาหมักจากผลไม้สีเหลือง(นาหมักพ่อ)
้
้
1. กล้วยสุก 1 กิโลกรัม
2. ฟักทองแก่ 1 กิโลกรัม
3. มะละกอสุก 1 กิโลกรัม
4. น้ าตาล สีรา 1 กิโลกรัม
5. เกลือ (ไม่เกิน100 กรัม)
6. หัวเชื้อจุลินทรี ย ์ 3 ช้อนแกง (ถ้ามีหว เชื้อ)
ั
** ผักที่เก็บควรเก็บในตอนเช้าก่อนที่พระอาทิตย์จะขึ้น เพราะว่า จุลินทรี ยจะมีมากกว่าเวลา อื่นและการเก็บ
์
ผักทาน้ าหมักพืชสดสีเขียว แต่หากฝนตก ให้พกสัก 2-3 วันจึงจะได้จุลินทรี ยดี
ั
์
**เกลือช่วยในการ ดึงฮอร์โมนวิตามินในผักผลไม้ออกมา ให้มากขึ้นและ ช่วยในการรักษากลิน รสของ
่
ผลไม้
วิธีทา 1. นาพืชผักหรื อผลไม้มาหันให้เป็ นชิ้นเล็ก ๆ ขนาด 2-3 ซม. ใส่ภาชนะปิ ดฝา
่
2. นาน้ าตาลสีรา เกลือ ที่เตรี ยมไว้คลุกเคล้า ควรคลุกไปในทางเดียวกัน เสร็ จแล้ว
3. นาของหนักวางทับผักไว้ แล้วปิ ดฝาทิ้งไว้ 7-15 วัน
4. ปิ ดด้วยการนากระดาษทึบแสงมาพันรอบภาชนะแล้วมัดด้วยยางรัด ปิ ดธรรมดาไม่ตอง แน่นมาก
้
ให้อากาศเข้าได้แต่นอยๆจะได้น้ าหมักกลิ่นหอมดี
้
5. สังเกตจะมีน้ าสีน้ าตาลไหลออกมา คือ น้ าสกัดชีวภาพ น้ าหมักที่ดีน้ าหมักต้องสูงเท่าผัก
6. หากได้เวลา 7-15 วันให้แยกใส่ภาชนะ (น้ าหมักพ่อ, น้ าหมักแม่) ระบุวนที่ ให้ชดเจน
ั
ั
7. กากที่เหลือจากการทาน้ าหมักสามารถน้ าไปทาปุ๋ ยต่อไปได้
วิธีใช้ นาน้ าสกัดชีวภาพผสมน้ าธรรมดาทาให้เจือจาง
1. ต้องการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก ไม้ผล ไม้ยนต้น
ื
- ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 9 : 1 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดพ่น ได้
บ่อยครั้ง
2. ต้องการเร่ งการออกดอกของพืชผัก ไม้ผล
- ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 5 : 5 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดได้ บ่อยครั้ง
3. ต้องการเพิ่มความกรอบหวานของพืชผักไม้ผล
- ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 1 : 9 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดได้ บ่อยครั้ง
4. รดกองใบไม้ ใบหญ้าสด แห้ง อัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 10 ลิตร ใช้พลาสติกคลุมกองพืช ปล่อยให้
เกิดการย่อยสลาย 1-2 สัปดาห์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ใช้ผสมดินหรื อคลุมดิน บริ เวณต้นพืช
5. รดดินแปลงเพาะปลูกปฏิบติได้ดงนี้ พรวนดินผสมคลุกเคล้ากับวัชพืชหรื อเศษวัชพืชอัตรา เจือจาง
ั
ั
3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 10 ลิตร รดราด 1 ตร.ม. ปล่อยให้เกิดการย่อยสลาย 3-7 วัน สามารถปลูกพืชหรื อกล้า
ไม้ได้ ถ้าต้องการกาจัดวัชพืชพวกมีเมล็ดปล่อยให้วชพืชงอกอีกครั้งจึง พรวนซ้ า แล้วรดน้ าสกัด
ั
ชีวภาพเจือจาง 2 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 10 ลิตร ปลูกพืชได้ภายใน 2- 3 วัน
6. การขยายหัวเชื้อทาได้โดยมีอตราส่วนคือ น้ าสกัดชีวภาพ ต่อ กากน้ าตาล ในอัตราส่วน 1:1:10 ใส่
ั
ขวดปิ ดฝา 3 วัน นาไปใช้ได้
ประโยชน์ เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก ไม้ผล ไม้ยนต้น เร่ งการออกดอกของพืชผัก ไม้ผล เพิ่มความกรอบ
ื
หวานของพืชผักไม้ผล ตามอายุของพืชผักผลไม้
เลคติน สารประกอบเคมีทได้ จากกล้วย
ี่
กับการออกฤทธิ์ยบยังเชื้อ HIV-11, 2กล้วย3มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa sp. อยูในวงศ์Musaceae เป็ น
ั ้
่
ไม้ลมลุกมีลาต้นใต้ดิน ลาต้นบนดินรู ปทรงกระบอก เกิดจากกาบหุมซ้อนกันสูง 2-4 เมตร ใบเป็ นใบเดี่ยว
้
้
เรี ยงสลับซ้อนกันรอบต้นที่ปลายยอดเป็ นรู ปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เมตร ยาว 1-2 เมตร ก้านใบค่อนข้าง
กลมหนา ด้านบนเป็ นร่ องลึก ผิวใบเรี ยบมัน ท้องใบมีสีอ่อนกว่า มีนวล ดอกออกเป็ นช่อในลักษณะห้อยหัว
ลง ยาว 30-60 เซนติเมตร เรี ยกว่า ปลีออกที่ปลายยอด มีใบประดับหุมช่อ ดอกสีแดงหรื อสีม่วงขนาดใหญ่
้
เรี ยกว่า กาบดอกย่อยออกเรี ยงกันเป็ นแผง มีกาบหุมรองรับอยูโดยดอกที่อยูส่วนปลายช่อเป็ นดอกตัวผูดอกที่
้
่
่
้
โคนช่อเป็ นดอก ตัวเมียผลจึงออกเป็ นช่อเรี ยกว่า เครื อแต่ละช่อย่อยเรี ยกว่าหวีกล้วยหวีห นึ่งมีประมาณ 10
ผลเป็ นผลสดกลมยาว ขนาด รู ปร่ าง และรสขึ้นอยูกบพันธุ์ เนื้อกล้วยมีสีเหลืองครี ม เมื่อสุกมีรสหวาน
่ ั
รับประทานได้มกไม่มีเมล็ดขยายพันธุดวยการแตกหน่อหรื อแยกเหง้า ไม่ชอบดินที่มีน้ าขัง จะอยูในดินร่ วน
ั
์ ้
่
ซุยและดินเหนียว ที่อุมน้ าได้ดีในตารายาไทยกล่าวถึงสรรพคุณของกล้วยในการใช้บาบัดรักษาโรคต่างๆ
้
ดังต่อไปนี้คือรากแก้ไข้รากสาด แก้ไข้ตวร้อน แก้ขดเบา เหง้า ตาป่ นทาท้องน้อยคนคลอดบุตร
ั
ั
ทาให้ รกลอกภายหลังการคลอดบุตร ต้นห้ามเลือด ทากันผมร่ วงและทาให้ผมขึ้น แก้โรคไส้เลื่อนใบรักษา
โรคท้องเสียแก้บิดห้ามเลือดแก้ผนคัน ตามผิวหนัง ยางจากใบ ห้ามเลือด สมานแผลดอกรักษาโรคเบาหวาน
ื่
ผล บารุ งกาลัง บารุ งเลือดเป็ นยาระบาย รักษาอาการอาหารไม่ยอย ท้องขึ้น มีกรดมากสมานแผล แก้โรคบิด
่
รักษาแผลไฟไหม้ น้ าร้อนลวกแก้ทองร่ วงแก้ริดสีดวงทวารจะเห็นได้ว่ากล้วยมีสรรพคุณกว้างขวาง และพบ
้
สารสาคัญหลายชนิดในกล้วยเช่นbenzopyrene,dopamine, epinephrine, tryptamineและ serotoninเป็ นต้น
โดยผลดิบมีสารแทนนินมาก จึงรักษาอาการท้องเสีย และบิด และมีฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะ
อาหาร เชื่อว่าเกิดจากการกระตุนผนังกระเพาะอาหารให้หลังสารเมือกออกมามากขึ้น และกระตุนให้เนื้อเยือ
้
้
่
่
ของกระเพาะเจริ ญเพื่อปิ ดแผลเมื่อเปรี ยบเทียบกับยารักษาโรคกระเพาะอื่น ๆ ซึ่งเป็ นสารเคมีสงเคราะห์เช่น
ั
aluminium hydroxide,cimetidine เป็ นต้น สารประเภทนี้สามารถป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะได้แต่ไม่
สามารถสมานแผลได้เหมือนกล้วย สารที่มีฤทธิ์ตานแผลในกระเพาะของกล้วยคือsitoindosideIถึง IV
้
โดยสาร sitoindosideIV เป็ นสารที่มีฤทธิ์มากที่สุดไม่พบฤทธิ์ตานการเกิดแผลของกระเพาะอาหารในกล้วย
้
สุกแต่กล้วยสุกมีสรรพคุณเป็ นยาระบายสาหรับผูที่เป็ นริ ดสีดวงทวารหรื อผูมีอุจจาระแข็งนอกจากนี้ ใน
้
้
กล้วยยังพบสารประกอบประเภทเลคติน (Lectin) ซึ่งเป็ นชื่อเรี ยกของกลุ่มโปรตีนหรื อไกลโคโปรตีนที่
สามารถจับกับคาร์โบไฮเดรตอย่างจาเพาะและมีความสามารถทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์หลายชนิด
จับกลุ่มตกตะกอน มีรายงานการค้นพบเลคตินหลายร้อยชนิดจากแบคทีเรี ย รา พืช และสัตว์แต่ส่วนใหญ่
ได้มาจากพืช จากการศึกษาถึงบทบาทของเลคตินในพืชพบว่า เลคติน มีบทบาทที่น่าสนใจในการทาหน้าที่
เป็ นโมเลกุลป้ องกัน (Defensivemolecules) ที่ป้องกันพืชจากการรุ กรานของจุลชีพและไวรัส เลคตินจากพืช
มักจับอย่างจาเพาะกับน้ าตาลหรื อคาร์โบไฮเดรตมากกว่า1ตาแหน่งได้แก่mannose,glucose, galactose, Nacetylgalactosamine,N-acetylglucosamine และ fucose เป็ นต้น โดยจะจับกันอย่างหลวมและแยกออกจาก
กันได้ จึงสามารถทาให้เซลล์เกาะกลุ่มและตกตะกอนสารประกอบคาร์โบไฮเดรตได้ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์
ั
จาก University ofMichigan Medical School ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ทาการศึกษาค้นคว้าและเปิ ดเผยถึง
รายละเอียดงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับสารที่สกัดได้จากกล้วยว่ามีความสามารถในการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ
ั
HIV ได้เป็ นอย่างดีและยังเป็ นการค้นพบที่จะทาให้มีการพัฒนาวิธีการป้ องกันหรื อการรักษาการแพร่ ของเชื้อ
โรคจากการมีเพศสัมพันธ์อีกด้วยซึ่งสารที่สกัดได้น้ ีมีชื่อว่าแบนเลค(BanLec)4แบนเลค (BanLec) เป็ น
สารประกอบเลคตินที่แยกได้จากผลกล้วย Musa acuminata (รู ปที่ 1)ที่มีความสามารถในการหยุดยั้งการ
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ต่าง ๆ ที่ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อ ซึ่งโครงสร้างสามมิติของแบนเลค(รู ปที่2)การทางานของ
แบนเลค จะเข้าไปทาการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ HIV โดยการเข้าไปจับกับ glycosylatedHIV-1 envelope
protein ที่เรี ยกว่า gp120 และขัดขวางไม่ให้เชื้อเข้าสู่เซลล์แบนเลคสามารถนาไปใช้เป็ นส่วนประกอบของ
สารที่ผลิตตัวยาป้ องกันโรคเอดส์และส่วนประกอบของอุปกรณ์หรื อตัวช่วยที่ป้องกันการติดเชื้อในช่อง
คลอดได้การป้ องกันการเกิดโรคจากเชื้อ HIV
ถือว่ามีความสาคัญมาก เนื่องจากการเกิดโรคเชื้อ HIVมีอตราที่สูงมากขึ้นโดยเฉพาะในประเทศ
ั
สหรัฐอเมริ กาและประเทศที่ยากจนค่าใช้จ่ายในการรักษาในขณะนี้ก็ยงสูงอยูในประเทศที่กาลังพัฒนา
ั
่
ผูหญิงมีแนวโน้มที่จะใช้วิธีการป้ องกันการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ที่นอยดังนั้น การพัฒนาวิธีการ
้
้
ป้ องกันการติดเชื้อแบบใหม่ก็มีความเป็ นไปได้ที่คนจะสนใจมากขึ้นสารโปรตีนเลคตินจากกล้วยนี้ยงมี
ั
ความสามารถในการป้ องกันการแพร่ ของเชื้อไวรัสที่เข้ามาสู่ร่างกายได้อีกด้วย และราคาของยาที่ผลิตด้วย
สารประกอบจากธรรมชาติอย่างกล้วยก็น่าจะมีราคาที่ถกกว่าส่วนผสมที่ใช้ในยาต้านเชื้อ HIV ที่ใช้ใน
ู
ปัจจุบนอย่างT-20และ Maravirocปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์กาลังทาการทดลองเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์ว่ายาที่มี
ั
ั
ส่วนผสมของสารเลคตินจากผลกล้วยเป็ นหลักจะสามารถทางานในการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ HIV ได้
เพียงพอหรื อไม่ท้งในการติดเชื้อระยะยาวและเรื้ อรัง หรื อว่าต้องมีการใช้ควบคู่กบการรักษากับยาตัวอื่นหรื อ
ั
ั
วิธีการรักษาอื่น
มะละกอ
มะละกอ Carica papaya L.
วงศ์ Caricaceae
ชื่ออื่นได้แก่ มะก๊วยเทศ (เหนือ) มะกล้วยเต็ด (พายัพ) มะหุ่ง (ล้านช้าง) บักหุ่งหรื อหมักหุ่ง (เลย นครพนม)
สะกุยเส (แม่ฮ่องสอน) กล้วยลา (ยะลา) แตงต้น (สตูล) มะเต๊ะ (ปัตตานี) ลอกอ (ภาคใต้และมลายู) ภาษา
ฮินดูเรี ยก Papeeta ภาษาต่างประเทศอื่นๆ เรี ยก Papaya, Melan Tree, Paw Paw
มะละกอเป็ นไม้ผลล้มลุก ต้นสูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกาเนิดในทวีปอเมริ กากลาง เข้ามาในหมู่เกาะ
ฟิ ลิปปิ นส์และเอเชียราวปลายศตวรรษที่ 10 ที่ฟิลิปปิ นส์
ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึง ส้ม นิยมนาผลสดมากินสดและนาไปปรุ งอาหารได้ดวย
้
มะละกอมีลาต้นตรงไม่มกิ่งก้าน ลาต้นนิ่มมีสีเทา และมีร่องรอยของใบที่หลุดร่ วงไป
ี
ใบเป็ นใบเดี่ยวมีแฉกลึก 5-9 แฉก ก้านใบยาว เรี ยงตัวแบบสลับเกาะกลุ่มอยูดานบนสุดของลาต้น ภายในก้าน
่ ้
ใบและใบมียางเหนียวสีขาว
ช่ อดอกเพศผูมกานดอกยาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็ นหลอดยาว 1.5-2.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็ น 5 กลีบ
้ี ้
เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2.5 เซนติเมตร เกสรเพศผูมี 10 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกสั้นหรื อไม่มกานดอก
้
ี ้
เลย ดอกเพศเมียและดอกสมบูรณ์เพศออกเดี่ยวหรื อ 2-3 ดอก กลีบดอก 5 กลีบ ดอกมีขนาดใหญ่กว่าดอกเพศ
ผู้ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกทั้งสองเพศก็ได้ ผลดิบมีเนื้อสีขาวอมเขียวมี
น้ ายางสีขาวสะสมอยูที่เปลือก
่
ผลสุ กมีเนื้อสีแดงส้ม เนื้อหนาอ่อนนุ่ม รสหวาน มีเมล็ดรู ปไข่สีน้ าตาลดาผิวขรุ ขระมีถุงเมือกหุมจานวนมาก
้
มะละกอเป็ นไม้ผลที่คนไทยนิยมกิน ยอดอ่อนดองกินได้
ผลดิบนามาปรุ งอาหาร ใช้ปรุ งส้มตา แกงส้ม แกงเหลือง แกงอ่อม ผัดไข่ ต้มจิ้มน้ าพริ ก ผลสุกกินสด
น้ ามีรสชาติหวานหอม มีวิตามินเอและแคลเซียมสูง
นอกจากจะมีการกินภายในประเทศแล้วปัจจุบนยังมีการส่งมะละกอไปจาหน่ายตลาดต่างประเทศอีกด้วย
ั
นาน เนื้อกรอบ ตาส้มตาได้รสชาติดีพนธุในประเทศใช้กินผลสุกที่ได้รับความนิยมคือพันธุแขกดา ปัจจุบนมี
ั ์
์
ั
การพัฒนาพันธุครั่งใช้กินดิบเก็บได้
์
ผลดีต่อสุ ขภาพ
มะละกอมีไขมันอิ่มตัว คอเลสเตอรอล และเกลือโซเดียมต่า เป็ นแหล่งที่ดีของเส้นใยอาหาร ธาตุ
โพแทสเซียม วิตามินเอ ซี และโฟเลต แต่ร้อยละ 92 ของพลังงานจากมะละกอสุกมาจากคาร์โบไฮเดรต ผู้ที่
ควบคุมอาหารแปงและนาตาลจึงไม่ควรกินมะละกอมากเกินไป
้
้
สีแดงอมส้มที่พบในมะละกอสุกแสดงว่า มะละกอสุกมีสารไลโคพีนซึ่งเป็ นสารช่วยลดความเสี่ยงในการเกิด
มะเร็ งต่อมลูกหมากอีกด้วย มะละกอสุกอุดมด้วยสารต้านอนุมลอิสระ ได้แก่ แคโรทีน วิตามินซี สารฟลาโว
ู
นอยด์ สารโฟเลต กรดแพนโทเทนิก ธาตุโพแทสเซียม แมกนีเซียม และเส้นใยอาหาร สารอาหารเหล่านี้
บารุ งสุขภาพของระบบหัวใจและหลอดเลือด และป้ องกันการเกิดมะเร็ งลาไส้ใหญ่อีก ด้วย นอกจากนี้
มะละกอมีเอนไซม์ปาเปน สามารถนามาใช้ดานการแพทย์เพื่อรักษาอาการบาดเจ็บทางการกีฬา
้
นอกจากนี้นกวิจยจากมหาวิทยาลัยอินสบรุ๊ ค ประเทศออสเตรี ย พบว่ามะละกอมีสารต้านอนุมลอิสระ สูงสุด
ั ั
ู
เมื่อสุกงอม เนื่องจากคลอโรฟิ ลล์สีเขียวเปลี่ยนเป็ นสารไม่มีสีที่มีฤทธิ์ตานอนุมลอิสระอย่างเยียมยอดอีกชนิด
้
ู
่
หนึ่ง เรี ยก NCCs (nonfluorescing chlorophyll catabolytes) สะสมบริ เวณเปลือกผลและใต้ผวเปลือก เวลา
ิ
ปอกมะละกอสุกจึงไม่ควรกรี ดริ้ วบริ เวณใต้เปลือกเพราะจะสูญเสียคุณค่าอาหารนี้ไป
ปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด
้
มะละกออาจช่ วยปองกันโรคหลอดเลือดแข็งตัวและโรคหัวใจที่มีสาเหตุจากโรคเบาหวานได้ดี มะละกอมี
้
วิตามินซี วิตามินอีและวิตามินเอ (ในรู ปของสารแคโรทีนอยด์) ซึ่งเป็ นสารอนุมลอิสระที่มีความสาคัญช่วย
ู
ป้ องกันการเกิดอนุมลอิสระของคอเลสเตอรอล เชื่อว่าวิตามินซีและอีช่วยการทางานของเอนไซม์พาราออก
ู
โซเนสซึ่งหยุดการเกิดอนุมลอิสระของคอเลสเตอรอล เส้นใยอาหารในมะละกอช่วยลดคอเลสเตอรอลส่วน
ู
กรดโฟลิกใช้เปลี่ยนกรดอะมิโฮโมซิสเทอีนเป็ นกรดอะมิโนซิสเทอีนที่ไม่มีพิษภัยอะไร ถ้ามีโฮโมซิสเทอีนอ
ยูมากกรดอะมิโนนี้ จะทาลายผนังหลอดเลือด เกิดความเสี่ยงของอาการหัวใจวายหรื อหลอดเลือดสมองอุด
่
ตันได้
ช่ วยระบบทางเดินอาหาร
สารอาหารในมะละกอช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ ง ลาไส้ใหญ่ เส้นใยอาหารจากมะละกอสามารถจับกับ
สารพิษก่อมะเร็ งในลาไส้ใหญ่และพาส่งออกทาให้เกิดการสัมผัสกับเซลล์ลาไส้ใหญ่นอยที่สุด และสารโฟ
้
เลต บีตาแคโรทีน วิตามินซีและอี ที่พบในมะละกอ จะมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็ งลาไส้ใหญ่ โดย
ลดการถูกทาลายของสารพันธุกรรมในเซลล์ดงกล่าวด้วยอนุมลอิสระ
ั
ู
ฤทธิ์ต้านอักเสบ
มะละกอมีเอนไซม์ปาเปนและไคโมปาเปนช่วยย่อยโปรตีน เอนไซม์เหล่านี้ สามารถช่วยลดการอักเสบและ
กระตุนการสมานแผลไฟไหม้น้ าร้อนลวกได้ งานวิจยจากประเทศมาเลเซียพบว่า สารสกัดจากเปลือกผล
้
ั
มะละกอดิบเร่ งอัตราเร็วของการสมานแผลในหนูทดลองได้เร็ วกว่าการใช้ยาทา Solcoseryl ถึง 1 สัปดาห์
บีตาแคโรทีน วิตามินซีและอีในมะละกอก็มีฤทธิ์ลดการอักเสบเช่นกัน ดังนั้นผูป่วยโรคหอบหืด โรคข้อ
้
เสื่อม และข้ออักเสบรู มาตอยด์จะได้ประโยชน์จากการกินมะละกอเพื่อลดอาการของโรคดังกล่าว ปัจจุบนมี
ั
การใช้เอนไซม์จากมะละกอดังกล่าวผลิตเป็ นยาเม็ด ลดอาการบวม การอักเสบจากบาดแผลหรื อการผ่าตัด
แล้ว
ช่ วยระบบภูมคุ้มกัน
ิ
ร่ างกายมนุษย์สามารถเปลี่ยนบีตาแคโรทีนที่ได้จากมะละกอสุกเป็ นวิตามินเอและซีได้ เนื่องจากร่ างกาย
ต้องการวิตามินทั้งสองเพื่อเสริ มสร้างระบบภูมิคุมกัน ให้ทาหน้าที่ได้ราบรื่ น จึงพบว่าการกินมะละกอ เป็ น
้
ประจาอาจลดความถี่การเกิดไข้หวัดและการติดเชื้อในช่องหูได้
การปองกันภาวะจอประสาทตาเสื่อม
้
งานวิจยตีพิมพ์ในต่างประเทศกล่าวว่าการกินผลไม้ 3 ครั้งต่อวันอาจลดความเสี่ยงของอาการภาวะจอ
ั
ประสาทตาเสื่อมในผูสูงอายุ อันเป็ นสาเหตุของการเสียการมองเห็นในผูสูงอายุ เนื่องจากคนไทยกินมะละกอ
้
้
ทั้งดิบหรื อสุกอยูเ่ ป็ นปกติ ดังนั้นเราจึงมีความเสี่ยงในการเกิดโรคดังกล่าวลดลงในยามชรา
ปองกันโรคถุงลมปอดโป่ งพองและมะเร็งปอด
้
งานวิจยของมหาวิทยาลัยรัฐแคนซัส สหรัฐอเมริ กาพบว่า สารก่อมะเร็ งจากบุหรี่ (benzo(a)pyrene) ทาให้เกิด
ั
การขาดวิตามินเอในสัตว์ทดลองที่ได้รับอาหารปกติ และเกิดอาการถุงลมปอดโป่ งพอง แต่สตว์ที่ได้รับ
ั
วิตามินเอปริ มาณมากแต่ได้รับสารดังกล่าวไม่พบว่ามีอาการถุงลมปอดโป่ งพอง ผูวิจยจึงเชื่อว่าผูที่สูบบุหรี่
้ ั
้
หรื อได้รับควันบุหรี่ เป็ นนิตย์ควรป้ องกันตนเองโดยการกินอาหารที่มีวิตามินเอสูงเป็ นประจา และมะละกอ
สุกก็เป็ นหนึ่งในอาหารดังกล่าว
เมล็ดมะละกอใช้ รักษามะเร็ง
ที่ประเทศอินเดียกล่าวสืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษ ว่าเมล็ดมะละกอใช้ รักษาโรคมะเร็งได้ งานวิจยจาก
ั
ประเทศญี่ปุ่นรายงานเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.2550 นี้ว่า เมล็ดมะละกอมีเอนไซม์ไมโรซิเนส และสารเบนซิ
ลกลูโคซิโนเลตในปริ มาณมาก สารเบนซิลกลูซิโนเลตนี้ส่วนใหญ่พบในพืชวงศ์คะน้า มีฤทธิ์ขบไล่สตว์กิน
ั
ั
พืชในธรรมชาติ แต่มนุษย์ยอยสารนี้โดยใช้เอนไซม์ไมโรซิเนส ได้สารต้านมะเร็ ง งานวิจยยังพบว่าสารสกัด
่
ั
เฮกเซนของเมล็ดมะละกอมีฤทธิ์ยบยังการสร้างสารซูเปอร์ออกไซด์ และมีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็ งแบบอะป๊ อป
ั ้
โทซิส จะเห็นว่าเมล็ดมะละกอมีฤทธิ์ตานมะเร็ งได้จริ งตามภูมิปัญญาการแพทย์อินเดีย แต่ตองใช้เวลาอีก
้
้
มากกว่าจะมีการพัฒนาเป็ นยาแผนปัจจุบนได้ต่อไป
ั
จากมะละกอมาเป็ นเครื่องดื่มเพือสุ ขภาพ
่
มะละกอ นอกจากกินเป็ นผลไม้ได้อร่ อยแล้ว ยังนาไปทาเป็ นน้ ามะละกอ หรื อชามะละกอได้ น้ ามะละกอ สุก
ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยการทางานของลาไส้ ทาความสะอาดไต และยังเป็ นยาระบายอ่อนๆ
อย่างดีอีกด้วย ส่วนชามะละกอดิบช่วยล้างระบบดูดซึมสารอาหาร คือ ล้างคราบไขมันที่ผนังลาไส้ซ่ึงเกาะตัว
ที่ผนังลาไส้ ที่ขดขวางการดูดซึมสารอาหารและวิตามินที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย มีฤทธิ์ลดน้ าตาลในเลือด
ั
ด้วย ปัจจุบนมีน้ ามะละกอหมักจาหน่ายแพร่ หลายในประเทศญี่ปุ่น ที่ทาเป็ นผงบดแห้งก็มี แต่ประเทศไทย
ั
ปลูกมะละกอได้ผลตลอดปี เรามาทาน้ ามะละกอสดดื่มกันเองดีกว่า
นามะละกอสุก
้
เลือกมะละกอที่สุกกาลังดี เนื้อไม่แข็ง หรื อเละจนเกินไป เนื้อเนียน รสหวาน นามะละกอสุกหันเอาแต่เนื้อ
่
ครึ่ งถ้วย น้ าเย็นจัด 1 ถ้วย ผง อบเชย 1/8 ช้อนชา เกลือป่ น 1/4 ช้อนชา น้ ามะนาว 2 ช้อนชา ปั่นมะละกอกับ
น้ าเย็นจัด เกลือ น้ ามะนาวเข้าด้วยกัน ริ นใส่แก้ว โรยด้วยผงอบเชย ดื่มเย็นๆ ทันที
ชามะละกอจากผลมะละกอดิบ
ใช้มะละกอดิบไม่อ่อนเกินไปครึ่ งผล ชาเขียว หรื อชาจีน หรื อชาใบหม่อน อย่างใดอย่างหนึ่ง เพิมดอก
่
เก๊กฮวย ใบเตย หรื อรากเตยไปด้วยถ้ามี
ดอกเก๊กฮวยและใบเตยมีสรรพคุณบารุ งหัวใจ ส่วนรากเตยช่วยฟื้ นฟูตบอ่อนให้มีกาลัง
ั
ปอกเปลือกมะละกอล้างน้ าให้สะอาด แล้วหันแบบชิ้นฟัก นาชิ้นมะละกอใส่หม้อ เติมน้ า 3-4 ลิตร ตั้งไฟ (ใส่
่
ดอกเก๊กฮวย หรื อใบเตย หรื อรากเตยตามชอบ) เมื่อน้ าเดือดสักพักหนึ่งยกหม้อลง ตักมะละกอ และดอก
เก๊กฮวยออก ให้เหลือแต่น้ า นาน้ าดังกล่าวไปชงชา ใส่ใบชาประมาณครึ่ งกามือ หลัง 5 นาทีกรองเอากากชา
ออก ทิ้งไว้ให้เย็นดื่มได้ทนที หรื อบรรจุขวดเก็บไว้ในตูเ้ ย็นได้ประมาณ 3 วัน
ั
สูตรโบราณจากประเทศอินเดียที่ใช้กนอยูในปัจจุบนให้เคี้ยวเมล็ดจากผลสุกสิบเมล็ดพร้อมกลืน ช่วยกระตุน
ั ่
ั
้
ระบบน้ าดี ย่อยไขมัน ล้างระบบทางเดินอาหาร และช่วยกระตุนการทางานของตับ
้
มะละกอเสริมความงามผิวพรรณ
เอนไซม์ปาเปนที่พบในมะละกอ ถูกนามาใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่ หลาย ทั้งด้านเภสัชกรรม โรงผลิต
เบียร์ โรงงานเครื่ องหนัง อุตสาหกรรมเครื่ องสาอางและผลิตภัณฑ์สปา เอนไซม์ปาเปนถูกใช้ในเครื่ องสาอาง
ได้เนื่องจากเอนไซม์ดงกล่าวสามารถย่อยสลายคอลลาเจนได้ ช่วยเร่ งการผลัดเปลี่ยนเซลล์ผว จึงใช้ทดแทน
ั
ิ
สารสังเคราะห์ แอลฟาไฮดรอกซีแอซิด (alphahydroxy acids; AHA) ได้ และมีคุณสมบัติช่วยย่อยโมเลกุล
ของโปรตีนด้วย ที่ผานมาประเทศไทยต้องนาเข้าเอนไซม์ปาเปนจากต่างประเทศ ปัจจุบนสานักงาน
่
ั
นวัตกรรมแห่งชาติได้สนับสนุนภาคเอกชนไทยผลิตเอนไซม์ปาเปนจากมะละกอดิบพัฒนาเครื่ องสาอางและ
ผลิตภัณฑ์สปา ทดแทนกรดผลไม้ที่มีค่าความเป็ นกรดสูง พร้อมลดการนาเข้าจากต่างประเทศปี ละกว่า 60
ล้านบาท
สาหรับผูที่มีผวแห้ง หรื อมีปัญหาเรื่ องสิวบนใบหน้า สามารถทามาสก์มะละกอสุกใช้เอง เพื่อผิวหน้าที่อ่อน
้ ิ
นุ่มได้ตามสูตรข้างล่างนี้
สตรที่ 1 ใช้มะละกอสุกปอกเปลือกหันเป็ นชิ้นๆ สัก 2-3 ชิ้น บดขยี้ดวยช้อนจนละเอียด แล้วนามะละกอ
้
่
ดังกล่าวบดมาทาให้ทวใบหน้ายกเว้นรอบดวงตาทิ้งไว้สก 10-15 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ าสะอาด ใช้สปดาห์
ั่
ั
ั
ละครั้ง ผิวที่แห้งจะเริ่ มชุ่มชื้น นุ่มนวล กระชับขึ้น เป็ นสูตรโบราณจากประเทศอินเดียใช้ลบริ้ วรอยได้ดี
สู ตรที่ 2 เหมือนสูตรข้างบน แต่เมื่อบดเนื้อมะละกอ แล้วให้ผสมโยเกิร์ตรสธรรมชาติปริ มาณพอข้นให้เข้า
กัน ทิ้งส่วนผสมไว้สก 5 นาที นามาพอกหน้าและคอ แขน มือ ทิ้งไว้ 10-15 นาที ล้างออกด้วยน้ าสะอาด
ั
เสร็ จแล้วทาครี มบารุ งทันที ผิวจะนุ่ม และใสขึ้นเรื่ อยๆ ใช้สปดาห์ละ 1-2 ครั้งจะลบริ้ วรอยได้
ั
มะละกอ...ผลไม้ธรรมดาๆ แต่มากไปด้วยคุณค่า บรรพบุรุษคนไทยนี่ช่างฉลาดหลักแหลมจริ งๆ ที่ปลูก
มะละกอไว้กินกันแทบทุกบ้านเลย ประกอบอาหารได้ท้งคาวหวาน แถมใช้บารุ งความงามได้อีก
ั
อย่าลืมลองสูตรมาสก์พอกหน้ากันนะคะ ของดีของไทยยุคเศรษฐกิจพอเพียง
สับปะรดถือเป็ นหนึ่งในผลไม้ที่มีคุณประโยชน์หลากหลาย สามารถนามาแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มคุณค่าได้
ี
มากมาย ทั้งที่เป็ นอาหารและไม่ใช่อาหาร ซึ่งสับปะรด 1 ผล ให้น้ าและเนื้อประมาณ ร้อยละ 52 ส่วนร้อยละ
48คือใบและเปลือก ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์สบปะรดที่ผบริ โภคนิยม ได้แก่ สับปะรดสไลด์ แว่น ชิ้นบรรจุ
ั
ู้
กระป๋ อง น้ าสับปะรด เพียวเร่ ฟรุ๊ ตสลัด ไซรัป แอลกอฮอล์ รวมถึงกรดซิตริ ก ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่า
การส่งออกอย่างมหาศาล แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยกระบวนการผลิตในหลายขั้นตอน มีส่วนทาให้ผลิตภัณฑ์ที่
ได้มีคุณค่าทางโภชนาการลดลง ดังนั้น เทคโนโลยีใหม่จะถูกพัฒนาไปในทิศทางที่จะเก็บรักษาคุณค่าทาง
โภชนาการมากยิงขึ้น เช่น
่
„ การทอดแบบสุ ญญากาศ (Vacuum frying) ในกระบวนการผลิต “ชิปสับปะรด (Pineapple Chips)” สามารถ
รักษาสีและคุณค่าทางโภชนาการได้เป็ นอย่างดี(Perez-Tinocoetal.,2008)
„ การฉายรังสี (Radiation Processing) ซึ่งจะใช้ในปริ มาณที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อผูบริ โภค (Hajare et
้
al.,2006)
„ กระบวนการใช้ความร้อน (Thermal Processing) มีส่วนช่วยในการปรับปรุ งสีของผลิตภัณฑ์ (Chutintrasri
andNoomhorm,2007)
„ อัลตร้ าซาวน์ (Ultrasound) เป็ นขั้นตอนการรักษาคุณภาพสับปะรดก่อนขั้นต้นการอบแห้ง ช่วยให้ปริ มาณ
น้ าตาลเพิ่มสูงขึ้นและช่วยให้ความชื้นกระจายตัวอย่างสม่าเสมอ(Fernandesetal.,2008)
„ การระเหยแบบออสโมติก (Osmotic evaporation) พบมากในการผลิตน้ าสับปะรดเข้มข้น (Concentrate)
โดยจะใช้อุณหภูมิปานกลางและความดันสูง ทาให้คุณค่าสารโภชนาการยังครบถ้วนและรสสัมผัสที่ดี
(Hongvaleeratetal.,2008)
„ เทคโนโลยีแรงดันสูง (High Pressure Technology) นิยมใช้ในกระบวนการที่จุลินทรี ยและเอ็นไซม์ถก
์
ู
ทาลายที่อุณหภูมิต่า เพื่อให้คุณภาพผลิตภัณฑ์ยงสมบูรณ์ครบถ้วน (Deliza et al., 2005)
ั
„ ผลิตภัณฑ์สับปะรดที่เป็ นอาหาร
งานวิจยที่เกียวข้ องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์สับปะรดในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา แบ่ งตาม
ั ่
ประเภทผลิตภัณฑ์ สรุปได้ ดงนี้
ั
1) สับปะรดสดตัดแต่ง (Fresh-cut Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct
ั
พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 10 เรื่ อง โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การวิจยและพัฒนาสับปะรด
ั
ั
ตัดแต่งให้มีคุณภาพที่ดีข้ ึน เช่น การลดการเกิดสีน้ าตาลในสับปะรดตัดแต่งพร้อมรับประทาน การใช้ฟิล์ม
ไคโตซานในการรักษาคุณภาพของสับปะรด การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเพื่อให้สบปะรด
ั
มีคุณลักษณะที่ดี การใช้รังสีอลตร้าไวโอเลตในกระบวนการตัดแต่งสับปะรดเพื่อเพิ่มสารต่อต้านอนุมล
ั
ู
อิสระ (Anti oxidants) และ การประยุกต์ใช้ก๊าซอาร์กอนความดันสูง (High pressure argon) ในการรักษา
คุณภาพของสับปะรดสดตัดแต่งระหว่างการเก็บในอุณหภูมิหองเย็นเป็ นต้น
้
นอกจากนี้ มีงานวิจยหลายชิ้นที่ศกษาเกี่ยวกับการยืดอายุการเก็บรักษา (Shelf-life) สับปะรดตัดแต่งให้
ั
ึ
ยาวนานขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีการบรรจุ (Packaging) เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และการประเมินอายุการ
เก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งโดยใช้จมูกอัจฉริ ยะ (Electronic nose) เป็ นต้น
2) นาสับปะรด (Pineapples Juices) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูลที่
้
ั
เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 17 เรื่ อง โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาเรื่ องคุณสมบัติขององค์ประกอบของสารที่อยู่
ั
ในน้ าสับปะรด เช่น น้ าตาล สารให้กลิ่น และ สารต้านอนุมลอิสระ เป็ นต้น และมีการศึกษาคุณสมบัติของ
ู
น้ าสับปะรดในการนาไปใช้ประโยชน์ดานต่าง ๆ เช่น การใช้น้ าสับปะรดเป็ นสารตั้งต้นในการผลิตเอทา
้
นอลและการใช้น้ าสับปะรดในการป้ องกันการเกิดสีน้ าตาลในผลไม้ประเภทต่างๆเป็ นต้น
3) สับปะรดอบแห้ ง (Dried Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบ
ั
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 9 งานวิจย โดยพบว่างานวิจยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาวิธีการอบแห้งโดยใช้เทคโนโลยี
ั
ั
ประเภทต่าง ๆ เช่น การศึกษาการใช้เครื่ องอบแห้งพลังงานแสงแบบอุโมงค์ (Solar tunnel drier) ในการผลิต
สับปะรดอบแห้ง และ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอลตราซาวด์ (Ultra sound) ในกระบวนการอบแห้งเพื่อลด
ั
การสูญเสียน้ าไม่ให้มากเกินไปทาให้ได้เนื้อสับปะรดอบแห้งที่มีคุณภาพที่ดี เป็ นต้น รวมทั้ง มีงานวิจยหลาย
ั
ชิ้นได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความเหมาะสมต่อกระบวนการผลิตสับปะรดอบแห้งเพื่อให้ได้คุณภาพ
ที่ดี เช่น การศึกษาสภาพที่เหมาะสมต่อกระบวนการผลิตสับปะรดอบกรอบ (Crispy air-dried pineapple
rings) และ การศึกษาการดูดซับน้ าของกากสับปะรดผง (Pineapple pulp powder) โดยใช้เทคโนโลยีการ
อบแห้งรู ปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การทาแห้งแบบฟลูอิดไดซ์แบบสันสะเทือน (Vibro-fluidized drying) การทา
่
แห้งแบบพ่นฝอย (Spray drying) การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freez drying) และ การทาแห้งแบบ
สุญญากาศ(Vacuumdrying)เป็ นต้น
นอกจากนี้ จากการสืบค้นงานวิจยของไทย โดยการสืบค้นจากห้องสมุดงานวิจย สานักงานคณะกรรมการ
ั
ั
วิจยแห่งชาติ พบงานวิจยที่ศึกษาเกี่ยวกับสับปะรดอบแห้งจานวน 2 เรื่ อง ได้แก่ การทาแห้งสับปะรดด้วยวิธี
ั
ั
ออสโมซิส และ การศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการทาแห้งสับปะรดด้วยวิธีออสโมซิสในซูโครสไซรัป
4) ผลิตภัณฑ์สับปะรดทีได้ จากการหมัก (Fermented Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจาก Science
่
ั
Direct พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้นจานวน 2 เรื่ อง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารระเหยใน
ไวน์สบปะรดและการศึกษาวิธีการทาให้ไวน์สบปะรดมีความใสโดยวิธีMicrofiltration
ั
ั
นอกจากนี้ มีงานวิจยของไทยที่เกี่ยวข้องกับสับปะรดที่ได้จากการหมัก จานวน 5 เรื่ อง ที่สืบค้นจาก
ั
ห้องสมุดงานวิจย สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ โดยพบว่า ส่วนใหญ่เป็ นงานวิจยที่ทาการศึกษามา
ั
ั
ั
ตั้งแต่ปีพ.ศ.2520โดยศึกษาเกี่ยวกับการผลิตน้ าส้มสายชูดวยวิธีการต่างๆได้แก่
้
- การศึกษาเกี่ยวกับการผลิตน้ าส้มสายชูจากน้ าสับปะรดโดยวิธีการหมักแบบเร็ ว / ศุภมาศ ภมรบุตร. 2520
- การศึกษาเครื่ องหมักแบบหลายชั้นในการผลิตน้ าส้มสายชูจากไวน์สบปะรด / ศิริวรรณ จงจิระศิริ. 2527
ั
-การผลิตน้ าส้มสายชูหมักจากเปลือกและแกนสับปะรด/ประดิษฐ์ครุ วณณา.2528
ั
- การศึกษาการผลิตน้ าส้มสายชูหมักจากน้ าคั้นเปลือกสับปะรด / วลัย หุตะโกวิท. 2547
5) เส้ นใยอาหาร (Dietary fiber) จากสับปะรด พบงานวิจยเกี่ยวกับเส้นใยอาหาร (Dietary fiber) จาก
ั
สับปะรด จากฐานข้อมูลการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน 2 เรื่ อง ได้แก่
- การสกัดเส้นใยอาหารจากกากสับปะรดและนาไปใช้ประโยชน์โดยการเสริ มลงไปในผลิตภัณฑ์อาหาร
ได้แก่ เครื่ องดื่ม เบเกอรี่ และไส้กรอกซึ่งผลการศึกษาพบว่า เมื่อเติมเส้นใยลงไปในผลิตภัณฑ์จะได้
ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะที่ดีข้ ึนและผูบริ โภคมีความพึงพอใจ / ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ; นิรมล อุตมอ่าง. 2544
้
- การผลิตเส้นใยอาหารจากกากสับปะรดที่เหลือจากการคั้นน้ า (Pineapple pulp) ซึ่งสามารถนาไปใช้เป็ น
เส้นใยอาหารผงเพื่อนามาใช้เป็ นส่วนผสมอาหาร (functional ingredients) ในผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งผล
การศึกษาพบว่า เส้นใยอาหารจากสับปะรดมีศกยภาพและมีความเป็ นไปได้สูงในการนามาผลิตเป็ นเส้นใย
ั
อาหารผงเมื่อนามาสกัดด้วยวิธี ต้ม ล้างด้วยน้ า แช่ในสารละลายเอทานอล อบแห้งและบดเป็ นผง จากนั้น
เมื่อเทียบกับเส้นใยอาหารผงที่ผลิตทางการค้ายีหอหนึ่ง พบว่า เส้นใยที่สกัดจากกากสับปะรด มีปริ มาณเส้น
่ ้
ใยใกล้เคียงกัน และมีความสามารถในการอุมน้ าสูงกว่า / เบญจา ชุตินทราศรี , ภาคภูมิ หวานคง, อาภาพร
้
อรรถศุภผล และสุปัญญา ยมศรี เคน. 2552
„ ผลิตภัณฑ์สับปะรดที่นาไปใช้ ในอุตสาหกรรมเกียวเนืองอืนๆ
่ ่ ่
1) โบรมีเลน (Bromelain) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ั
ทั้งสิ้น 122 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการผลิตโบรมีเลนบริ สุทธิ์ และ
ั
ั
การนาเอ็นไซม์โบรมีเลนไปใช้ประโยชน์ดานการแพทย์
้
เช่นการทดลองให้โบรมีเลนกับสัตว์ทดลอง
สามารถสลายไขมันที่อุดตันในหลอดเลือดและสามารถต้านการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด ชักนาให้เกิดการ
หลังไซโทไคน์ที่กระตุนให้เซลล์เม็ดเลือดขาวกาจัดเซลล์มะเร็ งได้เป็ นต้น
้
่
สาหรับงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับโบรมีเลนในประเทศไทย
ั
จากการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลสานักงาน
คณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.) พบงานวิจยที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 12 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่
ั
ั
ั
ั
มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการผลิตเอ็นไซม์โบรมีเลนจากส่วนต่างๆ
ของสับปะรดเพื่อให้ได้เอ็นไซม์ที่มี
ความบริ สุทธิ์คุณภาพสูง และศึกษาการใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์โบรมีเลนในกระบวนการฟอกหนัง เป็ น
ต้น และจากการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบงานวิจยที่
ั
เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 5 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มงเน้นไปที่การใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์โบรมีเลน
ั
ั
ุ่
ในการผลิตผลิตภัณฑ์น้ าปลา น้ าผลไม้ และเครื่ องสาอาง (ครี มพอกหน้า) และการศึกษาปฏิกิริยาการทางาน
ของเอ็นไซม์โบรมีเลนที่ได้มาจากส่วนต่าง ๆ ของสับปะรด เป็ นต้น
2) เส้ นใยสับปะรด (Pineapple fibers) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูล
ั
ที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 14 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการเตรี ยมเส้นใยจากใบ
ั
ั
สับปะรด และการศึกษาคุณสมบัติของเส้นใยสับปะรดในด้านต่าง ๆ เป็ นต้น
นอกจากงานวิจยที่สืบค้นได้จากฐานข้อมูลและวารสารนานาชาติแล้ว คณะวิจย ได้ทาการสืบค้นข้อมูล
ั
ั
สิทธิบตรที่เกี่ยวข้องกับสับปะรด เพื่อให้ทราบข้อมูลทางเทคโนโลยีที่เป็ นวิทยาการใหม่ มีข้นการประดิษฐ์
ั
ั
ที่สูงขึ้นและสามารถประยุกต์ใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม
สาหรับการวิเคราะห์แนวโน้มทิศทางการพัฒนางานวิจยเทคโนโลยีดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์
ั
้
ั
สับปะรดในตลาดโลก จะนาผลจากการวิเคราะห์ขอมูลสิทธิ บตร (Patent) ที่ได้จากการสืบค้นและ
้
ั
ประมวลผลจากฐานข้อมูล Thomson Innovation โดยได้รับความร่ วมมือจากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ปัจจุบนฐานข้อมูลดังกล่าวมีการนามาใช้เป็ นเครื่ องมือวิเคราะห์ทิศทาง
ั
เทคโนโลยีให้กบภาคธุรกิจ หรื อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพือช่วยในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจและการ
ั
่
พัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องโดยจะทาให้เราทราบว่าผูนาเทคโนโลยีคือใคร ศักยภาพหรื อการจัดทาแนวทาง
้
ที่จะแตกต่างจากเทคโนโลยีที่มีอยูในปัจจุบนและจะทาให้เห็นแนวโน้มสาหรับการพัฒนาแนวคิดนวัตกรรม
่
ั
ใหม่ได้ในชุดฐานข้อมูล Thomson Innovation นอกจากจะแสดงรายละเอียดสิทธิบตรจากนานาชาติแล้วนั้น
ั
ที่สาคัญได้มีการจัดทาโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์สิทธิบตร ที่จะสามารถช่วยให้เกิดความเข้าใจแนวโน้ม
ั
ของเทคโนโลยีได้ชดเจนมากยิงขึ้น โดยการแสดงเป็ นรู ปภาพ
ั
่
จากการรวบรวมงานวิจยที่มการจดสิทธิบตรจากนานาชาติเบื้องต้นจะนาเสนอการวิเคราะห์สิทธิบตรใน
ั ี
ั
ั
อุตสาหกรรมสับปะรดที่เป็ นผลิตภัณฑ์คุณค่าเพิมทั้งในส่วนที่นาไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร (Food) และ
่
ไม่ใช่อาหาร (Non-Food) เพื่อแสดงให้เห็นทิศทางแนวโน้มของอุตสาหกรรมและประเทศชั้นนาที่มการ
ี
พัฒนาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสับปะรด โดยมีทิศทางของการนาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสับปะรดที่
เกี่ยวข้องที่สาคัญ ดังนี้
1) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน(Bromelain)ไปใช้ ในอุตสาหกรรมผงหมักเนือ
้
พบเอกสารสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องกับผงหมักเนื้อ(Meettender)2เรื่ องได้แก่
ั
- Nature meat tenderizer and ream hexagonal method using old laying hen meat เป็ นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้
สาหรับหมักเนื้อให้นุ่ม ทาให้เนื้อนุ่ม ไม่แห้งร่ วน และสามารถคงสภาพความนุ่มไว้ได้หลายชัวโมง โดยมี
่
ส่วนผสมหลักจากสับปะรด กีวี ว่านหางจระเข้ หัวหอม กระเทียม ขิง และน้ าโซดา สิ่งประดิษฐ์ดงกล่าวเป็ น
ั
ของHong,Seonghc
- Meat tenderizer with excellent tenderizing effect on tough meat เป็ นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้สาหรับหมักเนื้อให้
นุ่ม โดยมีส่วนผสมหลักจาก หัวหอม สับปะรด ผงใบหม่อน ใบมิสเทิลโท และน้ า สิ่งประดิษฐ์ดงกล่าวเป็ น
ั
ของ Song ji ho
2) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่องสาอาง จากการสืบค้นข้อมูล
สิทธิบตรนานาชาติดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์สบปะรดจากฐาน Thomson Innovation โดย
ั
้
ั
ั
การสืบค้นสิทธิบตรที่มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง พบว่าตลอด
ั
ี
ระยะเวลา 10 ปี ที่ผานมา โบรมีเลนเป็ นส่วนผสมสาคัญที่มีการนาไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง ใน
่
ปัจจุบน มีจานวนสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องรวม 74 เรื่ อง โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องสูงสุดในปี พ.ศ.
ั
ั
2553 มีจานวนเทคโนโลยี/สิ ทธิบตร 23 เทคโนโลยีเป็ นการเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด จากปี พ.ศ. 2552 ที่มี
ั
จานวน 5 เทคโนโลยี โดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา มีสดส่วนจานวน
้
ั
เทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ นร้อยละ 28 ของจานวนสิทธิบตรทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อิตาลี ร้อยละ 14
ั
ั
ญี่ปุ่น ร้อยละ 12 จีน ร้อยละ 10 และเกาหลีใต้ ร้อยละ 9 และประเทศอื่น ๆ เช่น เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน และ
หน่วยงาน World Intellectual Property Organization (WIPO) (รายละเอียดดูภาพที่ 1 และ2)

3) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม จากการสืบค้นข้อมูลสิทธิบตร
ั
นานาชาติดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์สบปะรดจากฐาน Thomson Innovation โดยการสืบค้น
้
ั
ั
สิทธิบตรที่มีการนาโบรมีเลนไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม (Dietary supplement) ตลอดระยะเวลา 10
ั
ปี ที่ผานมา โบรมีเลนถูกนามาใช้เป็ นส่วนผสมสาคัญในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง
่
ต่อเนื่อง ปัจจุบนมีสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องจานวน 38 เรื่ อง สูงสุดในปี พ.ศ. 2551 มีจานวนเทคโนโลยี/
ั
ั
สิทธิบตร 9 เทคโนโลยีเพิ่มขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2550 ที่มีจานวน 2 เทคโนโลยีเป็ นการเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด
ั
เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเครื่ องสาอางโดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ซาน
้
มาริ โน ไทย และหน่วยงานในยุโรปที่มการจดสิทธิบตรในเรื่ องนี้ คือ European Patent Office เป็ นต้น
ี
ั
(รายละเอียดดูภาพที่ 3 และ 4)

4) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมยา จากการสืบค้นสิทธิบตรที่มการนา
ั
ี
โบรมีเลนไปใช้ในอุตสาหกรรมยาในช่วง 10 ปี ที่ผานมา โบรมีเลนถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมยาโดยมี
่
แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่น ๆ ปัจจุบนมีจานวนสิทธิบตร ณ วันที่ 14 มีนาคม ปี
ั
ั
พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้น 67 เรื่ อง โดยมีจานวนสิทธิบตรสูงสุดใน ปี พ.ศ. 2551 มีจานวนเทคโนโลยี/สิทธิบตร
ั
ั
36 เรื่ อง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วจากปี พ.ศ.2550 ที่มีจานวน 16 เรื่ อง โดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก
้
ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา มีสดส่วนจานวนเทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ นร้อยละ 39 ของจานวนสิทธิบตร
ั
ั
ั
ทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ อิตาลี ร้อยละ 16 European Patent Office ร้อยละ 13 สหราชอาณาจักร ร้อยละ 9
รัสเซีย ร้อยละ 7 เยอรมนี ร้อยละ 7 และ อื่น ๆ เช่น จีน สเปน และญี่ปุ่น (รายละเอียดดูภาพที่ 5 และ 6)
5) แนวโน้ มการนาสับปะรดไปใช้ ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ จากการสืบค้นสิทธิบตรที่มีการนาสับปะรดไปใช้
ั
ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในช่วง 10 ปี ที่ผานมาจนถึง ปัจจุบนมีจานวนสิทธิบตรที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 14
่
ั
ั
มีนาคม พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้น 14 เรื่ อง โดยพบว่า ปี ที่มการจดสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องมากที่สุดคือ ปี ค.ศ.2011
ี
ั
มีจานวน 4 เรื่ อง ผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ เยอรมนี มีสดส่วนจานวนเทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ น
้
ั
ั
ร้อยละ 36 ของจานวนสิทธิบตรทั้งหมด รองลงมาได้แก่ญี่ปุ่นร้อยละ 29 สหรัฐอเมริ กา ร้อยละ 14 จีน ร้อย
ั
ละ 14 และ บราซิล ร้อยละ 7 (รายละเอียดดูภาพที่ 7 และ 8)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to โครงงานเคมีกัญ (1)

โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Apaiwong Nalinee
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionjarunee4
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 

Similar to โครงงานเคมีกัญ (1) (20)

โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
botany
botanybotany
botany
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

More from Guntima NaLove

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดGuntima NaLove
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2Guntima NaLove
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 

More from Guntima NaLove (6)

ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมด
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

โครงงานเคมีกัญ (1)

  • 1. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้าหมักจากผลไม้ สีเหลืองเร่ งการเจริญเติบโตของพืช โดย นางสาวกัญธิมา เอียดชู ทอง เลขที่12 นางสาวสุ พรรณิการ์ นพรัตน์ เลขที่7 นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุ ข เลขที่ 6 ครูที่ปรึกษา นางอัมรัตน์ เอียดละออง รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว32222 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 ้ ่
  • 2. เรื่อง น้าหมักจากผลไม้ สีเหลืองเร่ งการเจริญเติบโตของพืช โดย นางสาวกัญธิมา เอียดชู ทอง เลขที่12 นางสาวสุ พรรณิการ์ นพรัตน์ เลขที่7 นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุ ข เลขที่ 6 ครูที่ปรึกษา นางอัมรัตน์ เอียดละออง
  • 3. ชื่อโครงงาน ชื่อผู้ทาโครงงาน ระดับชั้น ชื่อครูที่ปรึกษา ชื่อโรงเรียน ปี พ.ศ. น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช 1.นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่12 2.นางสาวสุพรรณิ การ์ นพรัตน์ เลขที่7 3.นางสาวพิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุข เลขที่ 6 ม.4 ‟ ม.6 นางอัมรัตน์ เอียดละออง รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ 2556 บทคัดย่ อ โครงงานเรื่ องน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาผลของชนิดของสารเร่ ง จากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย และ ผลไม้สีเหลืองทั้ง 3 ชนิดต่อการเจริ ญเติบโตของ พืช และเพื่อเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ งจากน้ าหมักจาก ผลไม้สีเหลือง โดยการทดลองนา ผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย มาทาเป็ นน้ าหมักชีวภาพโดยแยก เป็ นหมักทีละชนิ ด และ 3 ชนิดรวมกัน แล้วนาน้ าหมักปริ มาณ 10 ml ผสมกับน้ า 10 Lไปรดต้นผักบุงที่มีอายุประมาณ ้ 7 วัน บันทึกการเจริ ญเติบโตเป็ นระยะ 7 วัน ต่อครั้ง จานวน 3 ครั้ง ปรากฏว่า ค่าเฉลี่ย จากการใช้สารเร่ งการเจริ ญ เติบโตของพืชจากสารเคมี ความสูงของต้นผักบุงเพิมขึ้น 5.67 cm สารเร่ งจากน้ าหมักมะละกอ ความสูงของต้นผักบุง ้ ่ ้ เพิ่มขึ้น 4 cm สารเร่ งจากน้ าหมักสับปะรด ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 3.4 cm สารเร่ งจากน้ าหมักกล้วย ความสูง ้ ของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 5.33 cm สารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 11.4 cm ้ ้ และไม่ใช้สารเร่ ง ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 3.76 cm แสดงว่านาหมักจากผลไม้ สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน เป็ น ้ ้ สารเร่ งที่เหมาะสมที่สุด และจากเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ ง จากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลือง ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยจากการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี ความสูงของ ต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 5.67 cm และสารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองทั้งสามชนิดรวมกัน ความสูงของต้นผักบุงเพิ่มขึ้น 11.4 cm ้ ้ แสดงว่า สารเร่ งจากนาหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ สารเร่ งการเจริญเติบโตของพืชจากสารเคมี ้ ดังนั้นผลการทดลองสนับสนุนสมมติฐานที่ว่า ชนิดของน้ าหมักผลไม้มีผลต่อการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช และ สาร เร่ งจากน้ าหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี
  • 4. กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่ องผลไม้สีเหลือเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชในครั้งนี้ คณะผูจดทาได้รับความ ้ั อนุเคราะห์จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ในการให้ใช้อุปกรณ์การทดลอง ขอบคุณนางสี เอียดชูทอง ให้ความ อนุเคราะห์สถานที่ทาการทดลอง และบุคคลที่ทาให้การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี ้ สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานได้ อีกทั้งให้คาปรึ กษาแนะนาในการทาโครงงานคือ คุณครู อมรัตน์ ั เอียดละออง รวมทั้งผูปกครองของคณะผูจดทาที่ให้การสนับสนุนในด้านของงบประมาณและการให้ขอเสนอแนะ ้ ้ั ้ ต่างๆ คณะผูจดทาโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ้ั กัญธิมา เอียดชูทอง พิมพิสุทธิ์ เพ็ชรสุข สุพรรณิ การ์ นพรัตน์
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ........................................... .........................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................................................ข สารบัญ.......................................................................................................................................................ค บทที่ 1 บทนา..............................................................................................................................................1 1.1 ที่มาและความสาคัญ................................................................................................................1 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน.......................................................................................................1 1.3 สมมติฐาน.................................................................................................................................1 1.4 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง.....................................................................................................................1 1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า.........................................................................................................1 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ......................................................................................................................2 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ……………………………………………………………...……2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................................................3 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีทดลอง.............................................................................................................5 บทที่ 4 ผลการทดลอง.................................................................................................................................7 บทที่ 5 สรุ ปผล/อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ..........................................................................8 อ้างอิง………………………………………………………………………………………………….…ง ภาคผนวก
  • 6. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบนผูคนจานวนมากเป็ นโรคต่างๆและยังมีปัญหาสุขภาพตามมาอีก สาเหตุหลักๆมักมาจาก ั ้ เรื่ องใกล้ตวที่เราคาดไม่ถึง คือ อาหารการกินการอุปโภคและบริ โภค โดยที่ไม่ทราบเลยว่าในอาหารที่เรารับประทาน ั เข้าไปแต่ละวันนั้นมีปริ มาณสารพิษมากน้อยแค่ไหน และเนื่องจากความต้องการการบริ โภคอย่างเร่ งด่วนของคนใน สังคมปัจจุบน จึงทาให้เกษตรกรต้องเร่ งเพิ่มผลผลิตให้เร็ วขึ้นเพียงพอต่อการตลาด แม้แต่พืชผักต่างๆที่เรารับประทาน ั กันอยูทุกวันนี้ก็มกจะใช้สารเคมีในการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก เมื่อรับประทานเข้าไปก็จะสะสมและส่งผลเสีย ่ ั ต่อร่ างกาย ก่อให้เกิดโรคร้ายต่างๆตามมา และเนื่องจากสมาชิกในกลุ่มได้ศกษาเรื่ องการสร้างสารเร่ งการเจริ ญเติบโต ึ จากธรรมชาติมาจากประสบการณ์การแข่งขัน My little farm ปี 4 ซึ่งมีการทดลองนาสารในผลไม้สีเหลืองมาเร่ งการ เจริ ญเติบโตของพืชได้จริ งและไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผูใช้และผูบริ โภค โดยนาผลไม้ 3 ชนิด คือ กล้วย สับปะรด ้ ้ และ มะละกอ มาหมักกับน้ าตาลในปริ มาณที่ตวงไว้เท่าๆกัน และนามาเปรี ยบเทียบกันระหว่าง พืชผักที่สารเคมีเร่ ง การเจริ ญเติบโต พืชผักที่ใช้สารเร่ งจากผลไม้สีเหลืองแต่ละชนิด กับพืชผักที่ไม่ใช้สารเร่ งใดๆ โดยทางกลุ่มจะหา ผลไม้สีเหลืองที่หาได้ง่ายตามท้องตลาดและราคาไม่สูงจนเกินไป ดังนั้นทางกลุ่มของพวกเราจึงได้จดทาโครงงาน ั เรื่ อง น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช ขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของชนิดของสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด กล้วย และ ผลไม้สี เหลืองทั้ง 3 ชนิดต่อการเจริ ญเติบโตของพืช 2.เพื่อเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของสารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมีและสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สี เหลือง
  • 7. สมมติฐาน 1. ถ้าชนิดของน้ าหมักผลไม้มีผลต่อการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชแล้ว ดังนั้นชนิดของน้ าหมักผลไม้ต่างกันจะ เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชได้ต่างกัน 2. สารเร่ งจากน้ าหมักผลไม้สีเหลืองมีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจากสารเคมี ตัวแปรที่เกียวข้อง ่ ตัวแปรต้น ชนิดของสารเร่ ง ได้แก่ น้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองชนิดต่าง ๆ สารเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชจาก สารเคมี ตัวแปรตาม การเจริ ญเติบโตของพืช (ความสูงที่เพิ่มขึ้นของต้นผักบุง) ้ ตัวแปรควบคุม อัตราส่วนระหว่างปริ มาณสารเร่ งกับน้ า ชนิดของดิน ชนิดของพืช เวลาที่รด ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ศึกษาเกี่ยวกับน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองได้แก่ มะละกอ สับปะรด และ กล้วย และสารเร่ งจากสารเคมี ศึกษาจากการปลูกผักบุงที่บานของนางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง บ้านเลขที่ 6 หมู่ที่ 3 ตาบลวังมะปรางเหนือ ้ ้ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง นิยามศัพท์เฉพาะ น้ าหมักจากผลไม้สีเหลือง หมายถึง น้ าหมักจากมะละกอ สับปะรด กล้วย และน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองทั้ง 3 ชนิด เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช หมายถึง การใช้สารเร่ งความสูงของต้นผักบุง ้ ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้ รับ 1. สามารถทาสารเร่ งจากน้ าหมักจากผลไม้สีเหลืองใช้ได้เอง 2. เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. เกิดความรับผิดชอบและสามัคคีภายในกลุ่ม 4. ลดสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ วัสดุทานาหมัก นาหมักจากพืชสีเขียว(นาหมักแม่) ้ ้ ้ 1. ผักบุง 1 กิโลกรัม ้ 2. หน่อไม้ 1 กิโลกรัม 3. หน่อกล้วย 1 กิโลกรัม 4. น้ าตาลสีรา 1 กิโลกรัม 5. เกลือ ( 70 กรัม ) 6.หัวเชื้อจุลินทรี ย(์ ถ้ามีใช้ 3 ช้อนแกง) นาหมักจากผลไม้สีเหลือง(นาหมักพ่อ) ้ ้ 1. กล้วยสุก 1 กิโลกรัม 2. ฟักทองแก่ 1 กิโลกรัม 3. มะละกอสุก 1 กิโลกรัม 4. น้ าตาล สีรา 1 กิโลกรัม 5. เกลือ (ไม่เกิน100 กรัม) 6. หัวเชื้อจุลินทรี ย ์ 3 ช้อนแกง (ถ้ามีหว เชื้อ) ั ** ผักที่เก็บควรเก็บในตอนเช้าก่อนที่พระอาทิตย์จะขึ้น เพราะว่า จุลินทรี ยจะมีมากกว่าเวลา อื่นและการเก็บ ์ ผักทาน้ าหมักพืชสดสีเขียว แต่หากฝนตก ให้พกสัก 2-3 วันจึงจะได้จุลินทรี ยดี ั ์ **เกลือช่วยในการ ดึงฮอร์โมนวิตามินในผักผลไม้ออกมา ให้มากขึ้นและ ช่วยในการรักษากลิน รสของ ่ ผลไม้ วิธีทา 1. นาพืชผักหรื อผลไม้มาหันให้เป็ นชิ้นเล็ก ๆ ขนาด 2-3 ซม. ใส่ภาชนะปิ ดฝา ่ 2. นาน้ าตาลสีรา เกลือ ที่เตรี ยมไว้คลุกเคล้า ควรคลุกไปในทางเดียวกัน เสร็ จแล้ว 3. นาของหนักวางทับผักไว้ แล้วปิ ดฝาทิ้งไว้ 7-15 วัน 4. ปิ ดด้วยการนากระดาษทึบแสงมาพันรอบภาชนะแล้วมัดด้วยยางรัด ปิ ดธรรมดาไม่ตอง แน่นมาก ้ ให้อากาศเข้าได้แต่นอยๆจะได้น้ าหมักกลิ่นหอมดี ้ 5. สังเกตจะมีน้ าสีน้ าตาลไหลออกมา คือ น้ าสกัดชีวภาพ น้ าหมักที่ดีน้ าหมักต้องสูงเท่าผัก 6. หากได้เวลา 7-15 วันให้แยกใส่ภาชนะ (น้ าหมักพ่อ, น้ าหมักแม่) ระบุวนที่ ให้ชดเจน ั ั 7. กากที่เหลือจากการทาน้ าหมักสามารถน้ าไปทาปุ๋ ยต่อไปได้
  • 9. วิธีใช้ นาน้ าสกัดชีวภาพผสมน้ าธรรมดาทาให้เจือจาง 1. ต้องการเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก ไม้ผล ไม้ยนต้น ื - ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 9 : 1 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดพ่น ได้ บ่อยครั้ง 2. ต้องการเร่ งการออกดอกของพืชผัก ไม้ผล - ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 5 : 5 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดได้ บ่อยครั้ง 3. ต้องการเพิ่มความกรอบหวานของพืชผักไม้ผล - ใส่น้ าหมักแม่ : พ่อ 1 : 9 ผสมกันแล้วใช้ในอัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 20 ลิตร ฉีดได้ บ่อยครั้ง 4. รดกองใบไม้ ใบหญ้าสด แห้ง อัตรา 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 10 ลิตร ใช้พลาสติกคลุมกองพืช ปล่อยให้ เกิดการย่อยสลาย 1-2 สัปดาห์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ใช้ผสมดินหรื อคลุมดิน บริ เวณต้นพืช 5. รดดินแปลงเพาะปลูกปฏิบติได้ดงนี้ พรวนดินผสมคลุกเคล้ากับวัชพืชหรื อเศษวัชพืชอัตรา เจือจาง ั ั 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ า 10 ลิตร รดราด 1 ตร.ม. ปล่อยให้เกิดการย่อยสลาย 3-7 วัน สามารถปลูกพืชหรื อกล้า ไม้ได้ ถ้าต้องการกาจัดวัชพืชพวกมีเมล็ดปล่อยให้วชพืชงอกอีกครั้งจึง พรวนซ้ า แล้วรดน้ าสกัด ั ชีวภาพเจือจาง 2 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 10 ลิตร ปลูกพืชได้ภายใน 2- 3 วัน 6. การขยายหัวเชื้อทาได้โดยมีอตราส่วนคือ น้ าสกัดชีวภาพ ต่อ กากน้ าตาล ในอัตราส่วน 1:1:10 ใส่ ั ขวดปิ ดฝา 3 วัน นาไปใช้ได้ ประโยชน์ เร่ งการเจริ ญเติบโตของพืชผัก ไม้ผล ไม้ยนต้น เร่ งการออกดอกของพืชผัก ไม้ผล เพิ่มความกรอบ ื หวานของพืชผักไม้ผล ตามอายุของพืชผักผลไม้ เลคติน สารประกอบเคมีทได้ จากกล้วย ี่ กับการออกฤทธิ์ยบยังเชื้อ HIV-11, 2กล้วย3มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa sp. อยูในวงศ์Musaceae เป็ น ั ้ ่ ไม้ลมลุกมีลาต้นใต้ดิน ลาต้นบนดินรู ปทรงกระบอก เกิดจากกาบหุมซ้อนกันสูง 2-4 เมตร ใบเป็ นใบเดี่ยว ้ ้ เรี ยงสลับซ้อนกันรอบต้นที่ปลายยอดเป็ นรู ปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เมตร ยาว 1-2 เมตร ก้านใบค่อนข้าง กลมหนา ด้านบนเป็ นร่ องลึก ผิวใบเรี ยบมัน ท้องใบมีสีอ่อนกว่า มีนวล ดอกออกเป็ นช่อในลักษณะห้อยหัว ลง ยาว 30-60 เซนติเมตร เรี ยกว่า ปลีออกที่ปลายยอด มีใบประดับหุมช่อ ดอกสีแดงหรื อสีม่วงขนาดใหญ่ ้ เรี ยกว่า กาบดอกย่อยออกเรี ยงกันเป็ นแผง มีกาบหุมรองรับอยูโดยดอกที่อยูส่วนปลายช่อเป็ นดอกตัวผูดอกที่ ้ ่ ่ ้ โคนช่อเป็ นดอก ตัวเมียผลจึงออกเป็ นช่อเรี ยกว่า เครื อแต่ละช่อย่อยเรี ยกว่าหวีกล้วยหวีห นึ่งมีประมาณ 10 ผลเป็ นผลสดกลมยาว ขนาด รู ปร่ าง และรสขึ้นอยูกบพันธุ์ เนื้อกล้วยมีสีเหลืองครี ม เมื่อสุกมีรสหวาน ่ ั รับประทานได้มกไม่มีเมล็ดขยายพันธุดวยการแตกหน่อหรื อแยกเหง้า ไม่ชอบดินที่มีน้ าขัง จะอยูในดินร่ วน ั ์ ้ ่ ซุยและดินเหนียว ที่อุมน้ าได้ดีในตารายาไทยกล่าวถึงสรรพคุณของกล้วยในการใช้บาบัดรักษาโรคต่างๆ ้ ดังต่อไปนี้คือรากแก้ไข้รากสาด แก้ไข้ตวร้อน แก้ขดเบา เหง้า ตาป่ นทาท้องน้อยคนคลอดบุตร ั ั
  • 10. ทาให้ รกลอกภายหลังการคลอดบุตร ต้นห้ามเลือด ทากันผมร่ วงและทาให้ผมขึ้น แก้โรคไส้เลื่อนใบรักษา โรคท้องเสียแก้บิดห้ามเลือดแก้ผนคัน ตามผิวหนัง ยางจากใบ ห้ามเลือด สมานแผลดอกรักษาโรคเบาหวาน ื่ ผล บารุ งกาลัง บารุ งเลือดเป็ นยาระบาย รักษาอาการอาหารไม่ยอย ท้องขึ้น มีกรดมากสมานแผล แก้โรคบิด ่ รักษาแผลไฟไหม้ น้ าร้อนลวกแก้ทองร่ วงแก้ริดสีดวงทวารจะเห็นได้ว่ากล้วยมีสรรพคุณกว้างขวาง และพบ ้ สารสาคัญหลายชนิดในกล้วยเช่นbenzopyrene,dopamine, epinephrine, tryptamineและ serotoninเป็ นต้น โดยผลดิบมีสารแทนนินมาก จึงรักษาอาการท้องเสีย และบิด และมีฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะ อาหาร เชื่อว่าเกิดจากการกระตุนผนังกระเพาะอาหารให้หลังสารเมือกออกมามากขึ้น และกระตุนให้เนื้อเยือ ้ ้ ่ ่ ของกระเพาะเจริ ญเพื่อปิ ดแผลเมื่อเปรี ยบเทียบกับยารักษาโรคกระเพาะอื่น ๆ ซึ่งเป็ นสารเคมีสงเคราะห์เช่น ั aluminium hydroxide,cimetidine เป็ นต้น สารประเภทนี้สามารถป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะได้แต่ไม่ สามารถสมานแผลได้เหมือนกล้วย สารที่มีฤทธิ์ตานแผลในกระเพาะของกล้วยคือsitoindosideIถึง IV ้ โดยสาร sitoindosideIV เป็ นสารที่มีฤทธิ์มากที่สุดไม่พบฤทธิ์ตานการเกิดแผลของกระเพาะอาหารในกล้วย ้ สุกแต่กล้วยสุกมีสรรพคุณเป็ นยาระบายสาหรับผูที่เป็ นริ ดสีดวงทวารหรื อผูมีอุจจาระแข็งนอกจากนี้ ใน ้ ้ กล้วยยังพบสารประกอบประเภทเลคติน (Lectin) ซึ่งเป็ นชื่อเรี ยกของกลุ่มโปรตีนหรื อไกลโคโปรตีนที่ สามารถจับกับคาร์โบไฮเดรตอย่างจาเพาะและมีความสามารถทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์หลายชนิด จับกลุ่มตกตะกอน มีรายงานการค้นพบเลคตินหลายร้อยชนิดจากแบคทีเรี ย รา พืช และสัตว์แต่ส่วนใหญ่ ได้มาจากพืช จากการศึกษาถึงบทบาทของเลคตินในพืชพบว่า เลคติน มีบทบาทที่น่าสนใจในการทาหน้าที่ เป็ นโมเลกุลป้ องกัน (Defensivemolecules) ที่ป้องกันพืชจากการรุ กรานของจุลชีพและไวรัส เลคตินจากพืช มักจับอย่างจาเพาะกับน้ าตาลหรื อคาร์โบไฮเดรตมากกว่า1ตาแหน่งได้แก่mannose,glucose, galactose, Nacetylgalactosamine,N-acetylglucosamine และ fucose เป็ นต้น โดยจะจับกันอย่างหลวมและแยกออกจาก กันได้ จึงสามารถทาให้เซลล์เกาะกลุ่มและตกตะกอนสารประกอบคาร์โบไฮเดรตได้ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์ ั จาก University ofMichigan Medical School ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ทาการศึกษาค้นคว้าและเปิ ดเผยถึง รายละเอียดงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับสารที่สกัดได้จากกล้วยว่ามีความสามารถในการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ ั HIV ได้เป็ นอย่างดีและยังเป็ นการค้นพบที่จะทาให้มีการพัฒนาวิธีการป้ องกันหรื อการรักษาการแพร่ ของเชื้อ โรคจากการมีเพศสัมพันธ์อีกด้วยซึ่งสารที่สกัดได้น้ ีมีชื่อว่าแบนเลค(BanLec)4แบนเลค (BanLec) เป็ น สารประกอบเลคตินที่แยกได้จากผลกล้วย Musa acuminata (รู ปที่ 1)ที่มีความสามารถในการหยุดยั้งการ เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ต่าง ๆ ที่ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อ ซึ่งโครงสร้างสามมิติของแบนเลค(รู ปที่2)การทางานของ แบนเลค จะเข้าไปทาการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ HIV โดยการเข้าไปจับกับ glycosylatedHIV-1 envelope protein ที่เรี ยกว่า gp120 และขัดขวางไม่ให้เชื้อเข้าสู่เซลล์แบนเลคสามารถนาไปใช้เป็ นส่วนประกอบของ สารที่ผลิตตัวยาป้ องกันโรคเอดส์และส่วนประกอบของอุปกรณ์หรื อตัวช่วยที่ป้องกันการติดเชื้อในช่อง คลอดได้การป้ องกันการเกิดโรคจากเชื้อ HIV
  • 11. ถือว่ามีความสาคัญมาก เนื่องจากการเกิดโรคเชื้อ HIVมีอตราที่สูงมากขึ้นโดยเฉพาะในประเทศ ั สหรัฐอเมริ กาและประเทศที่ยากจนค่าใช้จ่ายในการรักษาในขณะนี้ก็ยงสูงอยูในประเทศที่กาลังพัฒนา ั ่ ผูหญิงมีแนวโน้มที่จะใช้วิธีการป้ องกันการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ที่นอยดังนั้น การพัฒนาวิธีการ ้ ้ ป้ องกันการติดเชื้อแบบใหม่ก็มีความเป็ นไปได้ที่คนจะสนใจมากขึ้นสารโปรตีนเลคตินจากกล้วยนี้ยงมี ั ความสามารถในการป้ องกันการแพร่ ของเชื้อไวรัสที่เข้ามาสู่ร่างกายได้อีกด้วย และราคาของยาที่ผลิตด้วย สารประกอบจากธรรมชาติอย่างกล้วยก็น่าจะมีราคาที่ถกกว่าส่วนผสมที่ใช้ในยาต้านเชื้อ HIV ที่ใช้ใน ู ปัจจุบนอย่างT-20และ Maravirocปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์กาลังทาการทดลองเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์ว่ายาที่มี ั ั ส่วนผสมของสารเลคตินจากผลกล้วยเป็ นหลักจะสามารถทางานในการยับยั้งการแพร่ ของเชื้อ HIV ได้ เพียงพอหรื อไม่ท้งในการติดเชื้อระยะยาวและเรื้ อรัง หรื อว่าต้องมีการใช้ควบคู่กบการรักษากับยาตัวอื่นหรื อ ั ั วิธีการรักษาอื่น มะละกอ มะละกอ Carica papaya L. วงศ์ Caricaceae ชื่ออื่นได้แก่ มะก๊วยเทศ (เหนือ) มะกล้วยเต็ด (พายัพ) มะหุ่ง (ล้านช้าง) บักหุ่งหรื อหมักหุ่ง (เลย นครพนม) สะกุยเส (แม่ฮ่องสอน) กล้วยลา (ยะลา) แตงต้น (สตูล) มะเต๊ะ (ปัตตานี) ลอกอ (ภาคใต้และมลายู) ภาษา ฮินดูเรี ยก Papeeta ภาษาต่างประเทศอื่นๆ เรี ยก Papaya, Melan Tree, Paw Paw มะละกอเป็ นไม้ผลล้มลุก ต้นสูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกาเนิดในทวีปอเมริ กากลาง เข้ามาในหมู่เกาะ ฟิ ลิปปิ นส์และเอเชียราวปลายศตวรรษที่ 10 ที่ฟิลิปปิ นส์ ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึง ส้ม นิยมนาผลสดมากินสดและนาไปปรุ งอาหารได้ดวย ้ มะละกอมีลาต้นตรงไม่มกิ่งก้าน ลาต้นนิ่มมีสีเทา และมีร่องรอยของใบที่หลุดร่ วงไป ี ใบเป็ นใบเดี่ยวมีแฉกลึก 5-9 แฉก ก้านใบยาว เรี ยงตัวแบบสลับเกาะกลุ่มอยูดานบนสุดของลาต้น ภายในก้าน ่ ้ ใบและใบมียางเหนียวสีขาว ช่ อดอกเพศผูมกานดอกยาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็ นหลอดยาว 1.5-2.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็ น 5 กลีบ ้ี ้ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2.5 เซนติเมตร เกสรเพศผูมี 10 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกสั้นหรื อไม่มกานดอก ้ ี ้ เลย ดอกเพศเมียและดอกสมบูรณ์เพศออกเดี่ยวหรื อ 2-3 ดอก กลีบดอก 5 กลีบ ดอกมีขนาดใหญ่กว่าดอกเพศ ผู้ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกทั้งสองเพศก็ได้ ผลดิบมีเนื้อสีขาวอมเขียวมี น้ ายางสีขาวสะสมอยูที่เปลือก ่ ผลสุ กมีเนื้อสีแดงส้ม เนื้อหนาอ่อนนุ่ม รสหวาน มีเมล็ดรู ปไข่สีน้ าตาลดาผิวขรุ ขระมีถุงเมือกหุมจานวนมาก ้ มะละกอเป็ นไม้ผลที่คนไทยนิยมกิน ยอดอ่อนดองกินได้ ผลดิบนามาปรุ งอาหาร ใช้ปรุ งส้มตา แกงส้ม แกงเหลือง แกงอ่อม ผัดไข่ ต้มจิ้มน้ าพริ ก ผลสุกกินสด น้ ามีรสชาติหวานหอม มีวิตามินเอและแคลเซียมสูง
  • 12. นอกจากจะมีการกินภายในประเทศแล้วปัจจุบนยังมีการส่งมะละกอไปจาหน่ายตลาดต่างประเทศอีกด้วย ั นาน เนื้อกรอบ ตาส้มตาได้รสชาติดีพนธุในประเทศใช้กินผลสุกที่ได้รับความนิยมคือพันธุแขกดา ปัจจุบนมี ั ์ ์ ั การพัฒนาพันธุครั่งใช้กินดิบเก็บได้ ์ ผลดีต่อสุ ขภาพ มะละกอมีไขมันอิ่มตัว คอเลสเตอรอล และเกลือโซเดียมต่า เป็ นแหล่งที่ดีของเส้นใยอาหาร ธาตุ โพแทสเซียม วิตามินเอ ซี และโฟเลต แต่ร้อยละ 92 ของพลังงานจากมะละกอสุกมาจากคาร์โบไฮเดรต ผู้ที่ ควบคุมอาหารแปงและนาตาลจึงไม่ควรกินมะละกอมากเกินไป ้ ้ สีแดงอมส้มที่พบในมะละกอสุกแสดงว่า มะละกอสุกมีสารไลโคพีนซึ่งเป็ นสารช่วยลดความเสี่ยงในการเกิด มะเร็ งต่อมลูกหมากอีกด้วย มะละกอสุกอุดมด้วยสารต้านอนุมลอิสระ ได้แก่ แคโรทีน วิตามินซี สารฟลาโว ู นอยด์ สารโฟเลต กรดแพนโทเทนิก ธาตุโพแทสเซียม แมกนีเซียม และเส้นใยอาหาร สารอาหารเหล่านี้ บารุ งสุขภาพของระบบหัวใจและหลอดเลือด และป้ องกันการเกิดมะเร็ งลาไส้ใหญ่อีก ด้วย นอกจากนี้ มะละกอมีเอนไซม์ปาเปน สามารถนามาใช้ดานการแพทย์เพื่อรักษาอาการบาดเจ็บทางการกีฬา ้ นอกจากนี้นกวิจยจากมหาวิทยาลัยอินสบรุ๊ ค ประเทศออสเตรี ย พบว่ามะละกอมีสารต้านอนุมลอิสระ สูงสุด ั ั ู เมื่อสุกงอม เนื่องจากคลอโรฟิ ลล์สีเขียวเปลี่ยนเป็ นสารไม่มีสีที่มีฤทธิ์ตานอนุมลอิสระอย่างเยียมยอดอีกชนิด ้ ู ่ หนึ่ง เรี ยก NCCs (nonfluorescing chlorophyll catabolytes) สะสมบริ เวณเปลือกผลและใต้ผวเปลือก เวลา ิ ปอกมะละกอสุกจึงไม่ควรกรี ดริ้ วบริ เวณใต้เปลือกเพราะจะสูญเสียคุณค่าอาหารนี้ไป ปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ้ มะละกออาจช่ วยปองกันโรคหลอดเลือดแข็งตัวและโรคหัวใจที่มีสาเหตุจากโรคเบาหวานได้ดี มะละกอมี ้ วิตามินซี วิตามินอีและวิตามินเอ (ในรู ปของสารแคโรทีนอยด์) ซึ่งเป็ นสารอนุมลอิสระที่มีความสาคัญช่วย ู ป้ องกันการเกิดอนุมลอิสระของคอเลสเตอรอล เชื่อว่าวิตามินซีและอีช่วยการทางานของเอนไซม์พาราออก ู โซเนสซึ่งหยุดการเกิดอนุมลอิสระของคอเลสเตอรอล เส้นใยอาหารในมะละกอช่วยลดคอเลสเตอรอลส่วน ู กรดโฟลิกใช้เปลี่ยนกรดอะมิโฮโมซิสเทอีนเป็ นกรดอะมิโนซิสเทอีนที่ไม่มีพิษภัยอะไร ถ้ามีโฮโมซิสเทอีนอ ยูมากกรดอะมิโนนี้ จะทาลายผนังหลอดเลือด เกิดความเสี่ยงของอาการหัวใจวายหรื อหลอดเลือดสมองอุด ่ ตันได้ ช่ วยระบบทางเดินอาหาร สารอาหารในมะละกอช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ ง ลาไส้ใหญ่ เส้นใยอาหารจากมะละกอสามารถจับกับ สารพิษก่อมะเร็ งในลาไส้ใหญ่และพาส่งออกทาให้เกิดการสัมผัสกับเซลล์ลาไส้ใหญ่นอยที่สุด และสารโฟ ้ เลต บีตาแคโรทีน วิตามินซีและอี ที่พบในมะละกอ จะมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็ งลาไส้ใหญ่ โดย ลดการถูกทาลายของสารพันธุกรรมในเซลล์ดงกล่าวด้วยอนุมลอิสระ ั ู
  • 13. ฤทธิ์ต้านอักเสบ มะละกอมีเอนไซม์ปาเปนและไคโมปาเปนช่วยย่อยโปรตีน เอนไซม์เหล่านี้ สามารถช่วยลดการอักเสบและ กระตุนการสมานแผลไฟไหม้น้ าร้อนลวกได้ งานวิจยจากประเทศมาเลเซียพบว่า สารสกัดจากเปลือกผล ้ ั มะละกอดิบเร่ งอัตราเร็วของการสมานแผลในหนูทดลองได้เร็ วกว่าการใช้ยาทา Solcoseryl ถึง 1 สัปดาห์ บีตาแคโรทีน วิตามินซีและอีในมะละกอก็มีฤทธิ์ลดการอักเสบเช่นกัน ดังนั้นผูป่วยโรคหอบหืด โรคข้อ ้ เสื่อม และข้ออักเสบรู มาตอยด์จะได้ประโยชน์จากการกินมะละกอเพื่อลดอาการของโรคดังกล่าว ปัจจุบนมี ั การใช้เอนไซม์จากมะละกอดังกล่าวผลิตเป็ นยาเม็ด ลดอาการบวม การอักเสบจากบาดแผลหรื อการผ่าตัด แล้ว ช่ วยระบบภูมคุ้มกัน ิ ร่ างกายมนุษย์สามารถเปลี่ยนบีตาแคโรทีนที่ได้จากมะละกอสุกเป็ นวิตามินเอและซีได้ เนื่องจากร่ างกาย ต้องการวิตามินทั้งสองเพื่อเสริ มสร้างระบบภูมิคุมกัน ให้ทาหน้าที่ได้ราบรื่ น จึงพบว่าการกินมะละกอ เป็ น ้ ประจาอาจลดความถี่การเกิดไข้หวัดและการติดเชื้อในช่องหูได้ การปองกันภาวะจอประสาทตาเสื่อม ้ งานวิจยตีพิมพ์ในต่างประเทศกล่าวว่าการกินผลไม้ 3 ครั้งต่อวันอาจลดความเสี่ยงของอาการภาวะจอ ั ประสาทตาเสื่อมในผูสูงอายุ อันเป็ นสาเหตุของการเสียการมองเห็นในผูสูงอายุ เนื่องจากคนไทยกินมะละกอ ้ ้ ทั้งดิบหรื อสุกอยูเ่ ป็ นปกติ ดังนั้นเราจึงมีความเสี่ยงในการเกิดโรคดังกล่าวลดลงในยามชรา ปองกันโรคถุงลมปอดโป่ งพองและมะเร็งปอด ้ งานวิจยของมหาวิทยาลัยรัฐแคนซัส สหรัฐอเมริ กาพบว่า สารก่อมะเร็ งจากบุหรี่ (benzo(a)pyrene) ทาให้เกิด ั การขาดวิตามินเอในสัตว์ทดลองที่ได้รับอาหารปกติ และเกิดอาการถุงลมปอดโป่ งพอง แต่สตว์ที่ได้รับ ั วิตามินเอปริ มาณมากแต่ได้รับสารดังกล่าวไม่พบว่ามีอาการถุงลมปอดโป่ งพอง ผูวิจยจึงเชื่อว่าผูที่สูบบุหรี่ ้ ั ้ หรื อได้รับควันบุหรี่ เป็ นนิตย์ควรป้ องกันตนเองโดยการกินอาหารที่มีวิตามินเอสูงเป็ นประจา และมะละกอ สุกก็เป็ นหนึ่งในอาหารดังกล่าว เมล็ดมะละกอใช้ รักษามะเร็ง ที่ประเทศอินเดียกล่าวสืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษ ว่าเมล็ดมะละกอใช้ รักษาโรคมะเร็งได้ งานวิจยจาก ั ประเทศญี่ปุ่นรายงานเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.2550 นี้ว่า เมล็ดมะละกอมีเอนไซม์ไมโรซิเนส และสารเบนซิ ลกลูโคซิโนเลตในปริ มาณมาก สารเบนซิลกลูซิโนเลตนี้ส่วนใหญ่พบในพืชวงศ์คะน้า มีฤทธิ์ขบไล่สตว์กิน ั ั พืชในธรรมชาติ แต่มนุษย์ยอยสารนี้โดยใช้เอนไซม์ไมโรซิเนส ได้สารต้านมะเร็ ง งานวิจยยังพบว่าสารสกัด ่ ั เฮกเซนของเมล็ดมะละกอมีฤทธิ์ยบยังการสร้างสารซูเปอร์ออกไซด์ และมีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็ งแบบอะป๊ อป ั ้ โทซิส จะเห็นว่าเมล็ดมะละกอมีฤทธิ์ตานมะเร็ งได้จริ งตามภูมิปัญญาการแพทย์อินเดีย แต่ตองใช้เวลาอีก ้ ้ มากกว่าจะมีการพัฒนาเป็ นยาแผนปัจจุบนได้ต่อไป ั
  • 14. จากมะละกอมาเป็ นเครื่องดื่มเพือสุ ขภาพ ่ มะละกอ นอกจากกินเป็ นผลไม้ได้อร่ อยแล้ว ยังนาไปทาเป็ นน้ ามะละกอ หรื อชามะละกอได้ น้ ามะละกอ สุก ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยการทางานของลาไส้ ทาความสะอาดไต และยังเป็ นยาระบายอ่อนๆ อย่างดีอีกด้วย ส่วนชามะละกอดิบช่วยล้างระบบดูดซึมสารอาหาร คือ ล้างคราบไขมันที่ผนังลาไส้ซ่ึงเกาะตัว ที่ผนังลาไส้ ที่ขดขวางการดูดซึมสารอาหารและวิตามินที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย มีฤทธิ์ลดน้ าตาลในเลือด ั ด้วย ปัจจุบนมีน้ ามะละกอหมักจาหน่ายแพร่ หลายในประเทศญี่ปุ่น ที่ทาเป็ นผงบดแห้งก็มี แต่ประเทศไทย ั ปลูกมะละกอได้ผลตลอดปี เรามาทาน้ ามะละกอสดดื่มกันเองดีกว่า นามะละกอสุก ้ เลือกมะละกอที่สุกกาลังดี เนื้อไม่แข็ง หรื อเละจนเกินไป เนื้อเนียน รสหวาน นามะละกอสุกหันเอาแต่เนื้อ ่ ครึ่ งถ้วย น้ าเย็นจัด 1 ถ้วย ผง อบเชย 1/8 ช้อนชา เกลือป่ น 1/4 ช้อนชา น้ ามะนาว 2 ช้อนชา ปั่นมะละกอกับ น้ าเย็นจัด เกลือ น้ ามะนาวเข้าด้วยกัน ริ นใส่แก้ว โรยด้วยผงอบเชย ดื่มเย็นๆ ทันที ชามะละกอจากผลมะละกอดิบ ใช้มะละกอดิบไม่อ่อนเกินไปครึ่ งผล ชาเขียว หรื อชาจีน หรื อชาใบหม่อน อย่างใดอย่างหนึ่ง เพิมดอก ่ เก๊กฮวย ใบเตย หรื อรากเตยไปด้วยถ้ามี ดอกเก๊กฮวยและใบเตยมีสรรพคุณบารุ งหัวใจ ส่วนรากเตยช่วยฟื้ นฟูตบอ่อนให้มีกาลัง ั ปอกเปลือกมะละกอล้างน้ าให้สะอาด แล้วหันแบบชิ้นฟัก นาชิ้นมะละกอใส่หม้อ เติมน้ า 3-4 ลิตร ตั้งไฟ (ใส่ ่ ดอกเก๊กฮวย หรื อใบเตย หรื อรากเตยตามชอบ) เมื่อน้ าเดือดสักพักหนึ่งยกหม้อลง ตักมะละกอ และดอก เก๊กฮวยออก ให้เหลือแต่น้ า นาน้ าดังกล่าวไปชงชา ใส่ใบชาประมาณครึ่ งกามือ หลัง 5 นาทีกรองเอากากชา ออก ทิ้งไว้ให้เย็นดื่มได้ทนที หรื อบรรจุขวดเก็บไว้ในตูเ้ ย็นได้ประมาณ 3 วัน ั สูตรโบราณจากประเทศอินเดียที่ใช้กนอยูในปัจจุบนให้เคี้ยวเมล็ดจากผลสุกสิบเมล็ดพร้อมกลืน ช่วยกระตุน ั ่ ั ้ ระบบน้ าดี ย่อยไขมัน ล้างระบบทางเดินอาหาร และช่วยกระตุนการทางานของตับ ้ มะละกอเสริมความงามผิวพรรณ เอนไซม์ปาเปนที่พบในมะละกอ ถูกนามาใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่ หลาย ทั้งด้านเภสัชกรรม โรงผลิต เบียร์ โรงงานเครื่ องหนัง อุตสาหกรรมเครื่ องสาอางและผลิตภัณฑ์สปา เอนไซม์ปาเปนถูกใช้ในเครื่ องสาอาง ได้เนื่องจากเอนไซม์ดงกล่าวสามารถย่อยสลายคอลลาเจนได้ ช่วยเร่ งการผลัดเปลี่ยนเซลล์ผว จึงใช้ทดแทน ั ิ สารสังเคราะห์ แอลฟาไฮดรอกซีแอซิด (alphahydroxy acids; AHA) ได้ และมีคุณสมบัติช่วยย่อยโมเลกุล ของโปรตีนด้วย ที่ผานมาประเทศไทยต้องนาเข้าเอนไซม์ปาเปนจากต่างประเทศ ปัจจุบนสานักงาน ่ ั นวัตกรรมแห่งชาติได้สนับสนุนภาคเอกชนไทยผลิตเอนไซม์ปาเปนจากมะละกอดิบพัฒนาเครื่ องสาอางและ ผลิตภัณฑ์สปา ทดแทนกรดผลไม้ที่มีค่าความเป็ นกรดสูง พร้อมลดการนาเข้าจากต่างประเทศปี ละกว่า 60 ล้านบาท
  • 15. สาหรับผูที่มีผวแห้ง หรื อมีปัญหาเรื่ องสิวบนใบหน้า สามารถทามาสก์มะละกอสุกใช้เอง เพื่อผิวหน้าที่อ่อน ้ ิ นุ่มได้ตามสูตรข้างล่างนี้ สตรที่ 1 ใช้มะละกอสุกปอกเปลือกหันเป็ นชิ้นๆ สัก 2-3 ชิ้น บดขยี้ดวยช้อนจนละเอียด แล้วนามะละกอ ้ ่ ดังกล่าวบดมาทาให้ทวใบหน้ายกเว้นรอบดวงตาทิ้งไว้สก 10-15 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ าสะอาด ใช้สปดาห์ ั่ ั ั ละครั้ง ผิวที่แห้งจะเริ่ มชุ่มชื้น นุ่มนวล กระชับขึ้น เป็ นสูตรโบราณจากประเทศอินเดียใช้ลบริ้ วรอยได้ดี สู ตรที่ 2 เหมือนสูตรข้างบน แต่เมื่อบดเนื้อมะละกอ แล้วให้ผสมโยเกิร์ตรสธรรมชาติปริ มาณพอข้นให้เข้า กัน ทิ้งส่วนผสมไว้สก 5 นาที นามาพอกหน้าและคอ แขน มือ ทิ้งไว้ 10-15 นาที ล้างออกด้วยน้ าสะอาด ั เสร็ จแล้วทาครี มบารุ งทันที ผิวจะนุ่ม และใสขึ้นเรื่ อยๆ ใช้สปดาห์ละ 1-2 ครั้งจะลบริ้ วรอยได้ ั มะละกอ...ผลไม้ธรรมดาๆ แต่มากไปด้วยคุณค่า บรรพบุรุษคนไทยนี่ช่างฉลาดหลักแหลมจริ งๆ ที่ปลูก มะละกอไว้กินกันแทบทุกบ้านเลย ประกอบอาหารได้ท้งคาวหวาน แถมใช้บารุ งความงามได้อีก ั อย่าลืมลองสูตรมาสก์พอกหน้ากันนะคะ ของดีของไทยยุคเศรษฐกิจพอเพียง สับปะรดถือเป็ นหนึ่งในผลไม้ที่มีคุณประโยชน์หลากหลาย สามารถนามาแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มคุณค่าได้ ี มากมาย ทั้งที่เป็ นอาหารและไม่ใช่อาหาร ซึ่งสับปะรด 1 ผล ให้น้ าและเนื้อประมาณ ร้อยละ 52 ส่วนร้อยละ 48คือใบและเปลือก ส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์สบปะรดที่ผบริ โภคนิยม ได้แก่ สับปะรดสไลด์ แว่น ชิ้นบรรจุ ั ู้ กระป๋ อง น้ าสับปะรด เพียวเร่ ฟรุ๊ ตสลัด ไซรัป แอลกอฮอล์ รวมถึงกรดซิตริ ก ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่า การส่งออกอย่างมหาศาล แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยกระบวนการผลิตในหลายขั้นตอน มีส่วนทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ ได้มีคุณค่าทางโภชนาการลดลง ดังนั้น เทคโนโลยีใหม่จะถูกพัฒนาไปในทิศทางที่จะเก็บรักษาคุณค่าทาง โภชนาการมากยิงขึ้น เช่น ่ „ การทอดแบบสุ ญญากาศ (Vacuum frying) ในกระบวนการผลิต “ชิปสับปะรด (Pineapple Chips)” สามารถ รักษาสีและคุณค่าทางโภชนาการได้เป็ นอย่างดี(Perez-Tinocoetal.,2008) „ การฉายรังสี (Radiation Processing) ซึ่งจะใช้ในปริ มาณที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อผูบริ โภค (Hajare et ้ al.,2006) „ กระบวนการใช้ความร้อน (Thermal Processing) มีส่วนช่วยในการปรับปรุ งสีของผลิตภัณฑ์ (Chutintrasri andNoomhorm,2007) „ อัลตร้ าซาวน์ (Ultrasound) เป็ นขั้นตอนการรักษาคุณภาพสับปะรดก่อนขั้นต้นการอบแห้ง ช่วยให้ปริ มาณ น้ าตาลเพิ่มสูงขึ้นและช่วยให้ความชื้นกระจายตัวอย่างสม่าเสมอ(Fernandesetal.,2008) „ การระเหยแบบออสโมติก (Osmotic evaporation) พบมากในการผลิตน้ าสับปะรดเข้มข้น (Concentrate) โดยจะใช้อุณหภูมิปานกลางและความดันสูง ทาให้คุณค่าสารโภชนาการยังครบถ้วนและรสสัมผัสที่ดี (Hongvaleeratetal.,2008) „ เทคโนโลยีแรงดันสูง (High Pressure Technology) นิยมใช้ในกระบวนการที่จุลินทรี ยและเอ็นไซม์ถก ์ ู ทาลายที่อุณหภูมิต่า เพื่อให้คุณภาพผลิตภัณฑ์ยงสมบูรณ์ครบถ้วน (Deliza et al., 2005) ั
  • 16. „ ผลิตภัณฑ์สับปะรดที่เป็ นอาหาร งานวิจยที่เกียวข้ องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์สับปะรดในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา แบ่ งตาม ั ่ ประเภทผลิตภัณฑ์ สรุปได้ ดงนี้ ั 1) สับปะรดสดตัดแต่ง (Fresh-cut Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct ั พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 10 เรื่ อง โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การวิจยและพัฒนาสับปะรด ั ั ตัดแต่งให้มีคุณภาพที่ดีข้ ึน เช่น การลดการเกิดสีน้ าตาลในสับปะรดตัดแต่งพร้อมรับประทาน การใช้ฟิล์ม ไคโตซานในการรักษาคุณภาพของสับปะรด การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเพื่อให้สบปะรด ั มีคุณลักษณะที่ดี การใช้รังสีอลตร้าไวโอเลตในกระบวนการตัดแต่งสับปะรดเพื่อเพิ่มสารต่อต้านอนุมล ั ู อิสระ (Anti oxidants) และ การประยุกต์ใช้ก๊าซอาร์กอนความดันสูง (High pressure argon) ในการรักษา คุณภาพของสับปะรดสดตัดแต่งระหว่างการเก็บในอุณหภูมิหองเย็นเป็ นต้น ้ นอกจากนี้ มีงานวิจยหลายชิ้นที่ศกษาเกี่ยวกับการยืดอายุการเก็บรักษา (Shelf-life) สับปะรดตัดแต่งให้ ั ึ ยาวนานขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีการบรรจุ (Packaging) เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และการประเมินอายุการ เก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งโดยใช้จมูกอัจฉริ ยะ (Electronic nose) เป็ นต้น 2) นาสับปะรด (Pineapples Juices) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูลที่ ้ ั เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 17 เรื่ อง โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาเรื่ องคุณสมบัติขององค์ประกอบของสารที่อยู่ ั ในน้ าสับปะรด เช่น น้ าตาล สารให้กลิ่น และ สารต้านอนุมลอิสระ เป็ นต้น และมีการศึกษาคุณสมบัติของ ู น้ าสับปะรดในการนาไปใช้ประโยชน์ดานต่าง ๆ เช่น การใช้น้ าสับปะรดเป็ นสารตั้งต้นในการผลิตเอทา ้ นอลและการใช้น้ าสับปะรดในการป้ องกันการเกิดสีน้ าตาลในผลไม้ประเภทต่างๆเป็ นต้น 3) สับปะรดอบแห้ ง (Dried Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบ ั ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 9 งานวิจย โดยพบว่างานวิจยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาวิธีการอบแห้งโดยใช้เทคโนโลยี ั ั ประเภทต่าง ๆ เช่น การศึกษาการใช้เครื่ องอบแห้งพลังงานแสงแบบอุโมงค์ (Solar tunnel drier) ในการผลิต สับปะรดอบแห้ง และ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอลตราซาวด์ (Ultra sound) ในกระบวนการอบแห้งเพื่อลด ั การสูญเสียน้ าไม่ให้มากเกินไปทาให้ได้เนื้อสับปะรดอบแห้งที่มีคุณภาพที่ดี เป็ นต้น รวมทั้ง มีงานวิจยหลาย ั ชิ้นได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความเหมาะสมต่อกระบวนการผลิตสับปะรดอบแห้งเพื่อให้ได้คุณภาพ ที่ดี เช่น การศึกษาสภาพที่เหมาะสมต่อกระบวนการผลิตสับปะรดอบกรอบ (Crispy air-dried pineapple rings) และ การศึกษาการดูดซับน้ าของกากสับปะรดผง (Pineapple pulp powder) โดยใช้เทคโนโลยีการ อบแห้งรู ปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การทาแห้งแบบฟลูอิดไดซ์แบบสันสะเทือน (Vibro-fluidized drying) การทา ่ แห้งแบบพ่นฝอย (Spray drying) การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freez drying) และ การทาแห้งแบบ สุญญากาศ(Vacuumdrying)เป็ นต้น
  • 17. นอกจากนี้ จากการสืบค้นงานวิจยของไทย โดยการสืบค้นจากห้องสมุดงานวิจย สานักงานคณะกรรมการ ั ั วิจยแห่งชาติ พบงานวิจยที่ศึกษาเกี่ยวกับสับปะรดอบแห้งจานวน 2 เรื่ อง ได้แก่ การทาแห้งสับปะรดด้วยวิธี ั ั ออสโมซิส และ การศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการทาแห้งสับปะรดด้วยวิธีออสโมซิสในซูโครสไซรัป 4) ผลิตภัณฑ์สับปะรดทีได้ จากการหมัก (Fermented Pineapples) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจาก Science ่ ั Direct พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้นจานวน 2 เรื่ อง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารระเหยใน ไวน์สบปะรดและการศึกษาวิธีการทาให้ไวน์สบปะรดมีความใสโดยวิธีMicrofiltration ั ั นอกจากนี้ มีงานวิจยของไทยที่เกี่ยวข้องกับสับปะรดที่ได้จากการหมัก จานวน 5 เรื่ อง ที่สืบค้นจาก ั ห้องสมุดงานวิจย สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ โดยพบว่า ส่วนใหญ่เป็ นงานวิจยที่ทาการศึกษามา ั ั ั ตั้งแต่ปีพ.ศ.2520โดยศึกษาเกี่ยวกับการผลิตน้ าส้มสายชูดวยวิธีการต่างๆได้แก่ ้ - การศึกษาเกี่ยวกับการผลิตน้ าส้มสายชูจากน้ าสับปะรดโดยวิธีการหมักแบบเร็ ว / ศุภมาศ ภมรบุตร. 2520 - การศึกษาเครื่ องหมักแบบหลายชั้นในการผลิตน้ าส้มสายชูจากไวน์สบปะรด / ศิริวรรณ จงจิระศิริ. 2527 ั -การผลิตน้ าส้มสายชูหมักจากเปลือกและแกนสับปะรด/ประดิษฐ์ครุ วณณา.2528 ั - การศึกษาการผลิตน้ าส้มสายชูหมักจากน้ าคั้นเปลือกสับปะรด / วลัย หุตะโกวิท. 2547 5) เส้ นใยอาหาร (Dietary fiber) จากสับปะรด พบงานวิจยเกี่ยวกับเส้นใยอาหาร (Dietary fiber) จาก ั สับปะรด จากฐานข้อมูลการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน 2 เรื่ อง ได้แก่ - การสกัดเส้นใยอาหารจากกากสับปะรดและนาไปใช้ประโยชน์โดยการเสริ มลงไปในผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ เครื่ องดื่ม เบเกอรี่ และไส้กรอกซึ่งผลการศึกษาพบว่า เมื่อเติมเส้นใยลงไปในผลิตภัณฑ์จะได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะที่ดีข้ ึนและผูบริ โภคมีความพึงพอใจ / ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ; นิรมล อุตมอ่าง. 2544 ้ - การผลิตเส้นใยอาหารจากกากสับปะรดที่เหลือจากการคั้นน้ า (Pineapple pulp) ซึ่งสามารถนาไปใช้เป็ น เส้นใยอาหารผงเพื่อนามาใช้เป็ นส่วนผสมอาหาร (functional ingredients) ในผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งผล การศึกษาพบว่า เส้นใยอาหารจากสับปะรดมีศกยภาพและมีความเป็ นไปได้สูงในการนามาผลิตเป็ นเส้นใย ั อาหารผงเมื่อนามาสกัดด้วยวิธี ต้ม ล้างด้วยน้ า แช่ในสารละลายเอทานอล อบแห้งและบดเป็ นผง จากนั้น เมื่อเทียบกับเส้นใยอาหารผงที่ผลิตทางการค้ายีหอหนึ่ง พบว่า เส้นใยที่สกัดจากกากสับปะรด มีปริ มาณเส้น ่ ้ ใยใกล้เคียงกัน และมีความสามารถในการอุมน้ าสูงกว่า / เบญจา ชุตินทราศรี , ภาคภูมิ หวานคง, อาภาพร ้ อรรถศุภผล และสุปัญญา ยมศรี เคน. 2552 „ ผลิตภัณฑ์สับปะรดที่นาไปใช้ ในอุตสาหกรรมเกียวเนืองอืนๆ ่ ่ ่ 1) โบรมีเลน (Bromelain) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ั ทั้งสิ้น 122 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการผลิตโบรมีเลนบริ สุทธิ์ และ ั ั การนาเอ็นไซม์โบรมีเลนไปใช้ประโยชน์ดานการแพทย์ ้ เช่นการทดลองให้โบรมีเลนกับสัตว์ทดลอง สามารถสลายไขมันที่อุดตันในหลอดเลือดและสามารถต้านการรวมตัวกันของเกล็ดเลือด ชักนาให้เกิดการ
  • 18. หลังไซโทไคน์ที่กระตุนให้เซลล์เม็ดเลือดขาวกาจัดเซลล์มะเร็ งได้เป็ นต้น ้ ่ สาหรับงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับโบรมีเลนในประเทศไทย ั จากการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลสานักงาน คณะกรรมการวิจยแห่งชาติ (วช.) พบงานวิจยที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 12 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่ ั ั ั ั มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการผลิตเอ็นไซม์โบรมีเลนจากส่วนต่างๆ ของสับปะรดเพื่อให้ได้เอ็นไซม์ที่มี ความบริ สุทธิ์คุณภาพสูง และศึกษาการใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์โบรมีเลนในกระบวนการฟอกหนัง เป็ น ต้น และจากการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบงานวิจยที่ ั เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 5 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มงเน้นไปที่การใช้ประโยชน์จากเอ็นไซม์โบรมีเลน ั ั ุ่ ในการผลิตผลิตภัณฑ์น้ าปลา น้ าผลไม้ และเครื่ องสาอาง (ครี มพอกหน้า) และการศึกษาปฏิกิริยาการทางาน ของเอ็นไซม์โบรมีเลนที่ได้มาจากส่วนต่าง ๆ ของสับปะรด เป็ นต้น 2) เส้ นใยสับปะรด (Pineapple fibers) จากการสืบค้นข้อมูลงานวิจยจากฐานข้อมูล Science Direct พบข้อมูล ั ที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 14 งานวิจย โดยพบว่า งานวิจยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาวิธีการเตรี ยมเส้นใยจากใบ ั ั สับปะรด และการศึกษาคุณสมบัติของเส้นใยสับปะรดในด้านต่าง ๆ เป็ นต้น นอกจากงานวิจยที่สืบค้นได้จากฐานข้อมูลและวารสารนานาชาติแล้ว คณะวิจย ได้ทาการสืบค้นข้อมูล ั ั สิทธิบตรที่เกี่ยวข้องกับสับปะรด เพื่อให้ทราบข้อมูลทางเทคโนโลยีที่เป็ นวิทยาการใหม่ มีข้นการประดิษฐ์ ั ั ที่สูงขึ้นและสามารถประยุกต์ใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม สาหรับการวิเคราะห์แนวโน้มทิศทางการพัฒนางานวิจยเทคโนโลยีดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์ ั ้ ั สับปะรดในตลาดโลก จะนาผลจากการวิเคราะห์ขอมูลสิทธิ บตร (Patent) ที่ได้จากการสืบค้นและ ้ ั ประมวลผลจากฐานข้อมูล Thomson Innovation โดยได้รับความร่ วมมือจากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ปัจจุบนฐานข้อมูลดังกล่าวมีการนามาใช้เป็ นเครื่ องมือวิเคราะห์ทิศทาง ั เทคโนโลยีให้กบภาคธุรกิจ หรื อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพือช่วยในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจและการ ั ่ พัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องโดยจะทาให้เราทราบว่าผูนาเทคโนโลยีคือใคร ศักยภาพหรื อการจัดทาแนวทาง ้ ที่จะแตกต่างจากเทคโนโลยีที่มีอยูในปัจจุบนและจะทาให้เห็นแนวโน้มสาหรับการพัฒนาแนวคิดนวัตกรรม ่ ั ใหม่ได้ในชุดฐานข้อมูล Thomson Innovation นอกจากจะแสดงรายละเอียดสิทธิบตรจากนานาชาติแล้วนั้น ั ที่สาคัญได้มีการจัดทาโปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์สิทธิบตร ที่จะสามารถช่วยให้เกิดความเข้าใจแนวโน้ม ั ของเทคโนโลยีได้ชดเจนมากยิงขึ้น โดยการแสดงเป็ นรู ปภาพ ั ่
  • 19. จากการรวบรวมงานวิจยที่มการจดสิทธิบตรจากนานาชาติเบื้องต้นจะนาเสนอการวิเคราะห์สิทธิบตรใน ั ี ั ั อุตสาหกรรมสับปะรดที่เป็ นผลิตภัณฑ์คุณค่าเพิมทั้งในส่วนที่นาไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร (Food) และ ่ ไม่ใช่อาหาร (Non-Food) เพื่อแสดงให้เห็นทิศทางแนวโน้มของอุตสาหกรรมและประเทศชั้นนาที่มการ ี พัฒนาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสับปะรด โดยมีทิศทางของการนาเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสับปะรดที่ เกี่ยวข้องที่สาคัญ ดังนี้ 1) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน(Bromelain)ไปใช้ ในอุตสาหกรรมผงหมักเนือ ้ พบเอกสารสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องกับผงหมักเนื้อ(Meettender)2เรื่ องได้แก่ ั - Nature meat tenderizer and ream hexagonal method using old laying hen meat เป็ นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ สาหรับหมักเนื้อให้นุ่ม ทาให้เนื้อนุ่ม ไม่แห้งร่ วน และสามารถคงสภาพความนุ่มไว้ได้หลายชัวโมง โดยมี ่ ส่วนผสมหลักจากสับปะรด กีวี ว่านหางจระเข้ หัวหอม กระเทียม ขิง และน้ าโซดา สิ่งประดิษฐ์ดงกล่าวเป็ น ั ของHong,Seonghc - Meat tenderizer with excellent tenderizing effect on tough meat เป็ นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้สาหรับหมักเนื้อให้ นุ่ม โดยมีส่วนผสมหลักจาก หัวหอม สับปะรด ผงใบหม่อน ใบมิสเทิลโท และน้ า สิ่งประดิษฐ์ดงกล่าวเป็ น ั ของ Song ji ho 2) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่องสาอาง จากการสืบค้นข้อมูล สิทธิบตรนานาชาติดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์สบปะรดจากฐาน Thomson Innovation โดย ั ้ ั ั การสืบค้นสิทธิบตรที่มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง พบว่าตลอด ั ี ระยะเวลา 10 ปี ที่ผานมา โบรมีเลนเป็ นส่วนผสมสาคัญที่มีการนาไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง ใน ่ ปัจจุบน มีจานวนสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องรวม 74 เรื่ อง โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องสูงสุดในปี พ.ศ. ั ั 2553 มีจานวนเทคโนโลยี/สิ ทธิบตร 23 เทคโนโลยีเป็ นการเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด จากปี พ.ศ. 2552 ที่มี ั จานวน 5 เทคโนโลยี โดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา มีสดส่วนจานวน ้ ั เทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ นร้อยละ 28 ของจานวนสิทธิบตรทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อิตาลี ร้อยละ 14 ั ั
  • 20. ญี่ปุ่น ร้อยละ 12 จีน ร้อยละ 10 และเกาหลีใต้ ร้อยละ 9 และประเทศอื่น ๆ เช่น เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน และ หน่วยงาน World Intellectual Property Organization (WIPO) (รายละเอียดดูภาพที่ 1 และ2) 3) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม จากการสืบค้นข้อมูลสิทธิบตร ั นานาชาติดานการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบผลิตภัณฑ์สบปะรดจากฐาน Thomson Innovation โดยการสืบค้น ้ ั ั สิทธิบตรที่มีการนาโบรมีเลนไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม (Dietary supplement) ตลอดระยะเวลา 10 ั ปี ที่ผานมา โบรมีเลนถูกนามาใช้เป็ นส่วนผสมสาคัญในอุตสาหกรรมอาหารเสริ ม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ่ ต่อเนื่อง ปัจจุบนมีสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องจานวน 38 เรื่ อง สูงสุดในปี พ.ศ. 2551 มีจานวนเทคโนโลยี/ ั ั
  • 21. สิทธิบตร 9 เทคโนโลยีเพิ่มขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2550 ที่มีจานวน 2 เทคโนโลยีเป็ นการเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ั เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเครื่ องสาอางโดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ซาน ้ มาริ โน ไทย และหน่วยงานในยุโรปที่มการจดสิทธิบตรในเรื่ องนี้ คือ European Patent Office เป็ นต้น ี ั (รายละเอียดดูภาพที่ 3 และ 4) 4) แนวโน้ มการนาโบรมีเลน (Bromelain) ไปใช้ในอุตสาหกรรมยา จากการสืบค้นสิทธิบตรที่มการนา ั ี โบรมีเลนไปใช้ในอุตสาหกรรมยาในช่วง 10 ปี ที่ผานมา โบรมีเลนถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมยาโดยมี ่
  • 22. แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่น ๆ ปัจจุบนมีจานวนสิทธิบตร ณ วันที่ 14 มีนาคม ปี ั ั พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้น 67 เรื่ อง โดยมีจานวนสิทธิบตรสูงสุดใน ปี พ.ศ. 2551 มีจานวนเทคโนโลยี/สิทธิบตร ั ั 36 เรื่ อง เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วจากปี พ.ศ.2550 ที่มีจานวน 16 เรื่ อง โดยประกอบด้วยผูผลิตรายสาคัญของโลก ้ ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา มีสดส่วนจานวนเทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ นร้อยละ 39 ของจานวนสิทธิบตร ั ั ั ทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ อิตาลี ร้อยละ 16 European Patent Office ร้อยละ 13 สหราชอาณาจักร ร้อยละ 9 รัสเซีย ร้อยละ 7 เยอรมนี ร้อยละ 7 และ อื่น ๆ เช่น จีน สเปน และญี่ปุ่น (รายละเอียดดูภาพที่ 5 และ 6)
  • 23. 5) แนวโน้ มการนาสับปะรดไปใช้ ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ จากการสืบค้นสิทธิบตรที่มีการนาสับปะรดไปใช้ ั ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในช่วง 10 ปี ที่ผานมาจนถึง ปัจจุบนมีจานวนสิทธิบตรที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 14 ่ ั ั มีนาคม พ.ศ. 2555 รวมทั้งสิ้น 14 เรื่ อง โดยพบว่า ปี ที่มการจดสิทธิบตรที่เกี่ยวข้องมากที่สุดคือ ปี ค.ศ.2011 ี ั มีจานวน 4 เรื่ อง ผูผลิตรายสาคัญของโลก ได้แก่ เยอรมนี มีสดส่วนจานวนเทคโนโลยีที่จดสิทธิบตรคิดเป็ น ้ ั ั ร้อยละ 36 ของจานวนสิทธิบตรทั้งหมด รองลงมาได้แก่ญี่ปุ่นร้อยละ 29 สหรัฐอเมริ กา ร้อยละ 14 จีน ร้อย ั ละ 14 และ บราซิล ร้อยละ 7 (รายละเอียดดูภาพที่ 7 และ 8)