SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
บทที่ 9
การศึกษารายกรณี
แผนการเรียนรู้ประจาบท
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เข้าใจความหมาย ความสาคัญของการศึกษารายกรณี
2. เพื่อให้เข้าใจประเภทของการศึกษารายกรณี
3. เพื่อให้เข้าใจเทคนิควิธีการศึกษารายกรณี
4. เพื่อให้เข้าใจข้อจากัดของการศึกษารายกรณี
2. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายการศึกษารายกรณี
2. ความมุ่งหมายการศึกษารายกรณี
3. การเก็บข้อมูลรายบุคคล
4. การดาเนินการศึกษารายกรณี
5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ศึกษารายกรณี
6. ลักษณะของบุคคลที่ควรศึกษารายกรณี
7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรศึกษารายกรณี
8. ข้อควรคานึงการศึกษารายกรณี
9. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทดสอบก่อนเรียน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน
3. อภิปราย ซักถามเกี่ยวกับเนื้อหา
4. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ กรณีตัวอย่าง
5. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียน
6. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้ารายกรณี และนาเสนอผลการศึกษารายกรณีใน
สถานการณ์จริง
7. ทารายงานผลการศึกษารายกรณีจากสถานการณ์จริง
8. ทดสอบหลังเรียน
4. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
226
2. สื่อ วีดีทัศน์ (power point)
3. เว็บไชต์ที่เกี่ยวข้อง
4. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี
5. การประเมินผล
1. แบบฝึกหัดท้ายบท
2. ความถูกต้องชัดเจนของเนื้อหา
3. การศึกษาค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม
2. ความถูกต้องของการนาเสนอผลงาน
3. การนาเสนอผลงานการศึกษารายกรณี
227
บทที่ 9
การศึกษารายกรณี
การศึกษาพฤติกรรมเด็กมีความสาคัญต่อครูผู้สอนมากเพราะจะทาให้ครูได้รู้จัก
เด็กเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่เด็กมีปัญหาครูจะต้องใช้ข้อมูลจานวนมากเพื่อ
ประกอบการตัดสินใจในการช่วยเหลือหรือการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก วิธีการศึกษา
พฤติกรรมเด็กที่มีรูปแบบที่ชัดเจน และมีข้อมูลเชิงลึกอย่างเพียงพอเพื่อประกอบ
การตัดสินใจคือ คือวิธีการศึกษาเด็กรายกรณี (Case study) ข้อมูลที่ได้รับนั้นจะครอบคลุม
ทุกด้าน เช่น ด้านส่วนตัว ครอบครัว ผลการเรียน ตลอดจนพฤติกรรมบางอย่างที่เด็กแสดง
ออกมาทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้ครูตัดสินใจเกี่ยวกับตัว
เด็กได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นว่าจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กหรือการแก้ปัญหาให้กับเด็ก ใน
บทนี้ขอกล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษารายกรณีดังนี้
1. ความหมายการศึกษารายกรณี
2. ความมุ่งหมายการศึกษารายกรณี
3. การเก็บข้อมูลรายบุคคล
4. การดาเนินการศึกษารายกรณี
5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ศึกษารายกรณี
6. ลักษณะของบุคคลที่ควรศึกษารายกรณี
7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรศึกษารายกรณี
8. ข้อควรคานึงการศึกษารายกรณี
9. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี
1. ความหมายการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีมีมีขอบข่ายที่กว้างบางครั้งทาให้ผู้อ่านมีความสับสนหรือไม่ได้
ชัดเจนได้ แต่อย่างไรก็ตามได้มีผู้พยายามให้ความหมายของการศึกษารายกรณีดังนี้
ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์ และสุวิทย์ หิรัณยกาณฑ์ (2548 : 40) การศึกษารายกรณี
หมายถึง การศึกษาทางจิตวิทยาอย่างหนึ่งโดยการศึกษาเฉพาะราย ซึ่งได้แก่ การศึกษา
ประวัติส่วนตัว การศึกษา อาชีพ ความประพฤติ ตลอดจนพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อรวบรวม
ข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน สาหรับช่วยอธิบายตัวบุคคลผู้นั้น และเพื่อความเข้าใจบุคคลนั้นดี
228
ยิ่งขึ้น การศึกษาวิธีนี้ใช้มากในการด้านการให้คาปรึกษา (Counselling) การแนะแนวและ
งานทางด้านสังคมสงเคราะห์
ลักขณา สรีวัฒน์ (2548 : 8) การศึกษารายกรณี คือ กระบวนการของการศึกษา
รายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคคล ติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาทั้งภูมิหลังและ
การดารงชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลและนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุที่
ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมเช่นนั้น หรือพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปมาจากสาเหตุอะไร รวมถึง
การแปลความหมายของพฤติกรรมดังกล่าวว่ามีความสัมพันธ์กับการปรับตัวที่ดี หรือ
ลักษณะของการปรับตัวที่ดี หรือลักษณะการปรับตัวที่เป็นปัญหาของบุคคลนั้นอย่างไร อัน
จะทาให้เกิดการรู้จักและเข้าใจในด้านต่าง ๆ ของตัวเขาอย่างแท้จริง เพื่อเป็นแนวทาง
นาไปสู่ การสนับสนุน หรือการให้ความช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การศึกษารายกรณี หมายถึง กระบวนการศึกษารายละเอียด
เกี่ยวกับบุคคลทุกด้าน อย่างตรงไปตรงมาให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด โดยใช้วิธีการศึกษาที่
หลากหลาย รวบรวมไว้เป็นหลักฐานสาคัญเพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และหาวิธีการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่เหมาะสมต่อไปในอนาคต
2. ความมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี
1. เพื่อศึกษารูปแบบพัฒนาการของบุคคลทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
และสังคม อันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาส่งเสริมสนับสนุนหรือให้ความช่วยเหลือและ
แก้ไขได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.เพื่อค้นหาสาเหตุที่ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมผิดปกติ และจะได้หาแนวทางให้การ
ช่วยเหลือแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและได้ผล
3. เพื่อให้บุคคลเกิดความเข้าใจในตนเอง ยอมรับความเป็นจริงเกี่ยวกับตน เพื่อ
นาไปสู่การมีความสามารถพัฒนาตนเองได้ สามารถวางแผนชีวิตและเลือกแนวทาง
การศึกษาต่อและเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนได้ จนทาให้มีการดาเนินชีวิตได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและมีความสุข
4. เพื่อช่วยเหลือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น บุคคลในครอบครัว หรือพ่อแม่ ญาติพี่น้อง
หรือผู้ร่วมงานเกิดความเข้าใจเขาได้อย่างละเอียดลึกซึ้งถูกต้อง พร้อมที่จะให้ความร่วมมือ
ในการช่วยเหลือและนาผลการศึกษารายกรณีไปหาแนวทางการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาได้
5. เพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้แนวทางในการจัดกิจกรรมอย่างถูกต้อง และ
เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของเขา ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
229
3. การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล
การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล หมายถึง การที่ครู ผู้แนะแนว หรือผู้ที่ทาหน้าที่ใน
การให้ความช่วยเหลือบุคคล หรือรายกรณีที่ถูกศึกษาดาเนินการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
บุคคลในทุกๆด้าน อย่างละเอียดถูกต้องอย่างเป็นระบบด้วยการศึกษา จดบันทึกเรื่องราว
ต่าง ๆ เกี่ยวกับตัวเขา เช่น ประวัติส่วนตัว ครอบครัว การศึกษา สุขภาพ ความสนใจ
เจตคติ เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลที่ช่วยให้เข้าใจเขารู้จักเขาและหาแนวทางในการช่วยเหลือได้
ถูกต้องและเหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของเขา นอกจากนี้ข้อมูลดังกล่าวยังช่วยสะท้อนให้
เขารู้จักและเข้าใจตนเองได้อย่างแท้จริง ทาให้เขาสามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุขและมี
ประสิทธิภาพอีกด้วย
ขอบข่ายของการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล
ในการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลนั้นผู้ทาการศึกษาควรคานึงถึงบริบทที่เกี่ยวข้อง
หลายประการ เพราะข้อมูลแต่ละส่วนมีความสาคัญต่อผลการศึกษาข้อที่ควรคานึงมี
ดังต่อไปนี้
1. ควรจะได้ศึกษาบุคคลนั้นหลาย ๆ สถานการณ์ เช่น ขณะกาลังเรียน หรือกาลัง
ทางานทั้งตามลาพัง และกับกลุ่มเพื่อนหรือร่วมงาน
2. ควรจะได้ศึกษาในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ไม่ควรศึกษาเฉพาะในโรงเรียน หรือ
ในที่ทางานเท่านั้น อาจศึกษาในขณะที่เขาอยู่ในบ้านและในชุมนุมต่าง ๆ ด้วย เพื่อดู
พฤติกรรมว่าต่างกันหรือไม่อย่างไรระหว่างในบ้านและนอกบ้าน เพื่อนาไปสู่การศึกษาว่า
สภาพความเป็นไปทั้งทางบ้านและนอกบ้านจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของเขาหรือไม่ ถ้ามี
จะมีมากน้อยเพียงใด
3. ควรเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล
จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล 3 ประการคือ
3.1 บุคคลแต่ละคนย่อมมีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง ไม่มีใครเหมือนกันไป
หมดในทุกอย่าง
3.2 บุคคลแต่ละคนย่อมมีพัฒนาการ และวุฒิภาวะแตกต่างกันไปตามลักษณะ
เฉพาะของแต่ละบุคคลอย่างต่อเนื่องกันไป
3.3 บุคคลย่อมมีกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามประสบการณ์ของตนที่
เคยประสบพบเห็นมา เพราะประสบการณ์จะช่วยหล่อหลอมลักษณะเฉพาะของบุคคลขึ้น
ใหม่ ให้มีความแตกต่างไปตามแนวทางหรือแผนที่วางไว้สาหรับอนาคต
230
จากความแตกต่างระหว่างบุคคลดังกล่าวจะเห็นความแตกต่างในด้านร่างกาย
ความสนใจ เจตคติ ความรู้ความสามารถ ความถนัด ค่านิยม แรงจูงใจ ภูมิหลัง และอื่น ๆ
อีกมากมายหลายประการ ล้วนแต่มีผลต่อความต้องการ การปฏิบัติ และกระบวนการแนะ
แนว หรือวิธีการให้ความช่วยเหลือของครู อาจารย์ ผู้แนะแนว หรือผู้ให้คาปรึกษาแตกต่าง
กันไปตามความเหมาะสม ดังนั้นจึงเห็นความจาเป็นในการศึกษาความแตกต่างระหว่าง
บุคคล เพราะจะเป็นแนวทางนาไปสู่ความเข้าใจในสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง และทราบถึง
ความต้องการของบุคคลแต่ละคน ที่อาจจะเป็นปัญหาทางการศึกษา ปัญหาเกี่ยวกับอาชีพ
รวมทั้งปัญหาด้านส่วนตัวและสังคม
วิธีการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล
เพื่อให้ได้ข้อมูลมาประกอบการศึกษาบุคคล ผู้ทาการศึกษาควรจะใช้เครื่องมือและ
กลวิธีการหลาย ๆ อย่าง ไม่ควรศึกษาหาข้อเท็จจริงเพียงด้านเดียว จะต้องศึกษาหาข้อมูล
จากบุคคลหลาย ๆ ฝ่าย เช่น บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุคคลในครอบครัว รวมไปถึงเพื่อน
สนิทด้วย ซึ่งถ้ารวบรวมข้อมูลจากบุคคลหลาย ๆ ฝ่ายได้มากเท่าใด จะทาให้มีความเข้าใจ
มากยิ่งขึ้น และสามารถวินิจฉัยสาเหตุแห่งพฤติกรรมและปัญหาของเขาได้อย่างถูกต้อง อัน
จะนาไปสู่การช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมเป็นรายบุคคล
1. เพื่อช่วยให้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคล เพราะในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นมี
การศึกษาและทาความเข้าใจเป็นรายบุคคล ซึ่งจะช่วยให้รู้จักและเข้าใจความต้องการ หรือ
สาเหตุแห่งปัญหาของเขาอันจะนาไปสู่แนวทางการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อช่วยป้องกันปัญหาในการทราบข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลจะช่วย
ให้รู้เท่าทัน และเตรียมการก่อนจะประสบปัญหาหรือความยุ่งยากที่อาจจะเกิดขึ้นมาได้
3. ช่วยหาทางส่งเสริมพัฒนา การทราบข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับตัวบุคคลจะ
ช่วยให้เกิดแนวทางในการแนะนา และการส่งเสริมให้มีการใช้ศักยภาพให้เกิดประโยชน์มาก
ขึ้น ทาให้เด็กมีการพัฒนาการเจริญเติบโตในทุก ๆ ด้านในทุก ๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จะทาให้เด็กเกิดความเข้าใจและรู้จักตนเองมากขึ้น
4. เพื่อให้เกิดทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแสวงหาแนวทางในการได้มาซึ่ง
ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพนั้น จาเป็นต้องใช้ความสามารถ
และประสบการณ์ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ซึ่งจะไม่ต้องเสียเวลา และไม่
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่สมควร
231
ประเภทของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมเป็นรายบุคคล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทาให้รู้จักและเข้าใจ
บุคคลประกอบด้วยข้อมูลประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1. ข้อมูลส่วนตัวและครอบครัว
ครอบครัวนับเป็นสถาบันแรกของบุคคลที่มีบทบาทและอิทธิพลต่อการถ่ายทอด
ปลูกฝังพฤติกรรม และบุคลิกลักษณะทั้งทางกายและใจของแต่ละคน ผู้ศึกษาจาเป็นต้อง
ทราบข้อมูลและรายละเอียดในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวให้
มากที่สุด เพื่อจะได้เรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของเด็กอย่างถูกต้อง ดังนั้นข้อมูลเกี่ยวกับ
เรื่องส่วนตัวและครอบครัวที่สาคัญประกอบด้วย
1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ได้แก่ ชื่อ –สกุล เพศ วัน เดือน ปี สถานที่เกิด เชื้อชาติ
ศาสนา ที่อยู่ปัจจุบัน รวมทั้งข้อมูลด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับบิดามารดาได้แก่ ชื่อ–สกุล การศึกษา อาชีพ สุขภาพ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างบิดา มารดา และบุตร สภาพการสมรส เจตคติของบิดา
มารดาที่มีต่อบุตร วิธีการอบรมเลี้ยงดู รวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลด้านอื่น ๆ ของบิดามารดา
และปัจจัยอื่นที่เป็นประโยชน์
1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับพี่น้อง ได้แก่ ชื่อ–นามสกุล เพศ อายุ ลาดับการเกิด การศึกษา
อาชีพ ความสัมพันธ์กันกับพี่น้อง รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์
1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับบ้านและเพื่อนบ้าน ได้แก่ สภาพบ้าน ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยของบ้านทั้งภายในและภายนอกมีห้องแบ่งกันเป็นสัดส่วนหรือไม่รวมถึง
สภาพแวดล้อมทางบ้าน
1. ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ข้อมูลที่ควรศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีดังนี้
2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของบุคคลในโรงเรียน ได้แก่ สภาพของโรงเรียน ที่ตั้ง
ระยะเวลาที่นักเรียนเข้าเรียน การมาเรียน กิจกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กิจกรรมเสริม
หลักสูตร และสมาชิกในชุมนุมต่าง ๆ การบันทึกระเบียนพฤติกรรม หรือบันทึกอื่น ๆ ที่ทา
ให้เขาเข้าใจได้ดีขึ้นในเรื่องการปรับตัว สุขภาพ เจตคติ หรือสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน
2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและกิจกรรมทางวิชาการด้านต่าง ๆ
ได้แก่ ความสามารถทางสติปัญญาด้านต่าง ๆ ความถนัด ความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ
ความสนใจทาง วิชาการกิจกรรมทางสังคมและนันทนาการรวมถึงผลสัมฤทธิ์ในด้านการ
เรียนวิชาการ เช่น วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เป็นต้น
232
3. ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและอนามัย
ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยประกอบด้วย
3.1 ประวัติสุขภาพตั้งแต่อดีตและประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
3.2 พัฒนาการทางร่างกาย ได้แก่ ส่วนสูง น้าหนัก และความสมบูรณ์ทาง
ร่างกาย
3.3 บันทึกการสังเกตทางด้านสุขภาพโดยทั่วไป และความบกพร่องทางร่างกาย
ของเด็กหากมี เช่น การมองเห็น การได้ยิน การพูด การรับรู้ การได้รับอุบัติเหตุ หรือ
ความพิการต่าง ๆ ที่ปรากฏ
3.4 การตรวจสุขภาพ การให้คาแนะนา การบาบัด และความเห็นของแพทย์
3.5 การบันทึกทางสุขภาพจิต ได้แก่ การยอมรับตนเอง การควบคุมอารมณ์
เป็นต้น
4. ข้อมูลเกี่ยวกับความสนใจ ความชอบ ความไม่ชอบ และการวางแผนของชีวิตใน
อนาคต
การทราบข้อมูลเกี่ยวกับความสนใจ เจตคติ การวางแผนชีวิตของบุคคลจะช่วยให้
เกิดความเข้าใจตนเองมากขึ้น เพราะความสนใจแสดงถึงความโน้มเอียงในการเลือกหรือไม่
เลือกหรือไม่เลือกการทาสิ่งใดของบุคคล ดังนั้นข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วย
4.1 ความสนใจในด้านการเรียน การเลือกกิจกรรม การทากิจกรรมกับเพื่อน ๆ
การเลือกอาชีพ และ การทางานในสังคม เป็นต้น
4.2 แผนการศึกษา และวางแผนในการประกอบอาชีพในอนาคต
4.3 กิจกรรม นันทนาการ และงานอดิเรก
5. ข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ภายนอกโรงเรียน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์และกิจกรรมภายนอกโรงเรียนประกอบด้วย
5.1 การเป็นตัวแทนโรงเรียนประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแข่งขันทาง
วิชาการ การแข่งกีฬา หรือการรณรงค์เพื่อต่อต้านและส่งเสริมกิจกรรมบางอย่าง เป็นต้น
5.2 การมีส่วนร่วม หรือการเป็นสมาชิกของกลุ่มกิจกรรม หรือชุมนุมต่าง ๆ ของ
ชุมนุมภายนอกโรงเรียน เช่น ชุมนุมรักษาป่า หรือกลุ่มส่งเสริมการรักษาความสะอาด
ท้องถิ่น
5.3 การทางานเพื่อหารายได้พิเศษ เช่น หลังเลิกเรียน นอกเวลาเรียน ช่วง
วันหยุด หรือระหว่างปิดภาคเรียนไปทางานตามความสามารถที่ตนเองมี เช่น เป็นล่ามนา
นักท่องเที่ยวชมสถานที่ต่าง ๆ หรือพนักงานต้อนรับในห้องอาหารของโรงแรม เป็นต้น
233
5.4 การเดินทางท่องเที่ยวหรือทัศนศึกษา อาจเป็นการเดินทางไปกับครอบครัว
หรือกับเพื่อน ๆ
5.5 การทางานอดิเรกและกิจกรรมที่ทาในเวลาว่างเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง
6. ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคม
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคมนับว่าเป็นเรื่องที่
ค่อนข้างยากพอสมควร เพราะเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและสลับซับซ้อน เนื่องจาก
พัฒนาการในแต่ละด้านของแต่ละช่วงวัยที่ผ่านมา มักมีเหตุการณ์ที่หลากหลายผ่านเข้ามา
ชีวิตของแต่ละบุคคล ดังนั้น นักวิชาการและนักจิตวิทยาจึงมีความคิดในเรื่องนี้ว่าควรมี
เกณฑ์ในการพิจารณาวุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม ได้แก่
6.1 ลักษณะนิสัยในการทางาน เช่น ชอบอิสระ ชอบทางานตามลาพัง หรือชอบ
ให้มีการกากับดูแล
6.2 ความรับผิดชอบเกี่ยวกับพฤติกรรมและความประพฤติของตนเอง
6.3 ความสนใจที่แท้จริงในสิ่งที่ทาให้ชีวิตน่าสนใจและท้าทาย
6.4 ทักษะในการร่วมแสดงความคิดเห็นและการฟังอย่างมีวิจารณญาณ
6.5 ลักษณะนิสัยที่แสดงถึงความสุภาพอ่อนน้อม
6.6 เจตคติที่เกี่ยวกับการใช้เหตุผลและอานาจ
6.7 แรงจูงใจและความพึงพอใจที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น
6.8 ความปรารถนาที่จะเข้ามามีส่วนร่วมและเสริมสร้างกิจกรรมของกลุ่ม
6.9 การให้ความร่วมมือกับกลุ่มด้วยจิตใจและการลงมือกระทา
6.10 การใช้เทคนิคเพื่อเป็นที่ยอมรับในการเสริมสร้างกิจกรรมในกลุ่ม
ข้อมูลในแต่ละประเภทที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าเป็นข้อมูลที่ช่วยให้สามารถ
มองภาพลักษณ์ของบุคคลทั้งหมดอย่างชัดเจน และสามารถเป็นพื้นฐานในการพิจารณา
การทานาย เพื่อหาทางป้องกันหรือส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา เกิดความเจริญก้าวหน้า และ
สามารถวินิจฉัยเพื่อหาทางช่วยเหลือแก้ไขได้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคุณค่าของข้อมูลเป็นรายบุคคล
การพิจารณาคุณค่าข้อมูลของบุคคลที่ได้เก็บรวบรวมมาว่ามีคุณค่ามากน้อย
เพียงใดนั้นควรคานึงถึงเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา 8 ประการ คือ
1. มีความถูกต้องแม่นยา และเชื่อถือได้ (Accuracy and Reliability) เกณฑ์ในข้อนี้
หมายความว่า ข้อมูลที่รวบรวมมานั้นมีความคงที่และแน่นอนไม่เปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเก็บ
234
รวบรวมกี่ครั้งก็ตาม โดยการตรวจสอบโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเดิมซ้า ๆ หรือหลายครั้ง
ก็ตาม อาจตรวจสอบกับข้อมูลเดียวกันที่ได้มาโดยวิธีอื่น
2. มีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง ข้อมูลที่ได้มานั้นถูกต้องสมจริงและ
สามารถวัดได้ตรงวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ เช่น ต้องการทราบความสนใจในการเรียนวิชา
ต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้สามารถบอกได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรียนวิชาอะไรบ้าง ได้อย่างถูกต้อง
3. มีความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง ข้อมูลนั้นมีลักษณะเป็นกลางโดยไม่มี
ความคิดเห็นหรือความรู้สึกส่วนตัวของผู้ศึกษาเข้ามาเกี่ยวข้อง ข้อมูลตรงกับความเป็นจริง
และให้ข้อเท็จจริงได้ ทุกอย่าง และมีความแจ่มชัดในความหมาย วิธีการ และการแปล
ความหมาย
4. มีการบอกวัน เวลา และสถานที่ชัดเจน (Time and Place) หมายถึง วัน เวลา
ของข้อมูลที่ได้มาจากที่ใด วันใด และเวลาใด เพื่อประโยชน์ในการจัดลาดับข้อมูล และช่วย
ให้การแปลความหมายได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้พฤติกรรมบางอย่างมีความสัมพันธ์กับ
องค์ประกอบเหล่านี้เพราะวัน เวลา และสถานที่เปลี่ยนไป ทาให้ทราบถึงเรื่องราวในอดีต
และมองเห็นบางสิ่งบางอย่างได้ในอนาคต
5. มีลักษณะสะสมและกว้างขวาง (Cumulative and Development) หมายถึงข้อมูล
ที่มีการศึกษาและรวบรวมมาได้อย่างกว้างขวางและสะสมเป็นระยะ ๆ เรื่อยมา ในเวลาที่
ยาวนานพอที่จะทาให้เห็นความเจริญงอกงามและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของบุคคลได้
อย่างกว้างขวาง ดังนั้นข้อมูลนี้จะทาให้มองเห็นและเข้าใจถึงความเจริญก้าวหน้าของเขาได้
เป็นอย่างดี
6. มีความเหมาะสมในการนาไปใช้ (Practicality) หมายถึง การนาวิธีการศึกษาและ
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่จะนาไปใช้นั้นมีการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายหรือไม่
รวมไปถึงคู่มือชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้และการแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาได้
อย่างชัดเจน
7. มีการเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม (Comparison) หมายถึงข้อมูลนั้น
ช่วยให้เห็นความแตกต่างของบุคคลในแต่ละกลุ่ม ทั้งการเปรียบเทียบในความเปลี่ยนแปลง
ในตนเอง และเปรียบเทียบในความแตกต่างของบุคคลกับบุคคลอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกัน จึง
จะช่วยให้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงในตนเองและความแตกต่างระหว่างบุคคลได้อย่าง
ชัดเจน และสามารถวางโครงการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
8. ความสามารถเพิ่มความเข้าใจในตัวบุคคลมากขึ้น (Understanding) หมายถึง
ข้อมูลที่มานั้นช่วยให้เกิดความเข้าใจในตัวบุคคลมากยิ่งขึ้น เช่น รู้ถึงความถนัด ความสนใจ
ดังนั้นจึงควรเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เนื่องจากการได้ข้อมูลเกี่ยวกับ
235
บุคคลในแต่ละครั้งไม่ได้ทาให้รู้จักเขาตลอดไป เพราะมีเงื่อนไขต่าง ๆ มาเกี่ยวข้องมากมาย
จึงจาเป็นต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อให้เป็นปัจจุบันซึ่งจะทาให้รู้จัก
และเข้าใจเด็กได้อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง
ข้อควรคานึงในการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล
การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลได้สาเร็จตรงกับวัตถุประสงค์และมีคุณค่านั้นเพียงใด
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
1. การเห็นความสาคัญของข้อมูล หากบุคคลที่เกี่ยวข้องในฝ่ายต่างๆเห็นถึง
ความสาคัญของข้อมูลที่ควรได้รับการเก็บรวบรวมนั้น ย่อมจะให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง
และเต็มใจโดยเฉพาะกรณีที่มีการใช้เครื่องมือต้องปฏิบัติตามข้อแนะนาอย่างเคร่งครัด
2. เครื่องมือและกลวิธีที่จะนามาใช้ศึกษาเครื่องมือที่ใช้จะต้องมีความหลากหลาย
เพราะว่าเครื่องมือแต่ละอย่างอาจจะมีข้อจากัดในการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละประเภท
ในการศึกษาข้อมูลของบุคคลนั้นเราจาเป็นต้องทราบข้อมูลจากหลายส่วน ดังนั้นจะต้องใช้
เครื่องมือที่มีความเหมาะสมกับข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด
3. การเก็บรายละเอียดของข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ไม่ควรมีการคาดหวังหรือกังวล
ว่าจะต้องเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเด็กมากน้อยเพียงใด เพียงแต่คาดว่าอย่างน้อยก็น่าจะ
ช่วยให้เข้าใจเด็กได้ดีขึ้น
4. การเลือกใช้เครื่องมือและกลวิธีในการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลของบุคคล ครู
อาจารย์ ผู้แนะแนว หรือผู้ให้คาปรึกษา ควรพิจารณาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความ
จาเป็นของแต่ละบุคคล เครื่องมือและกลวิธีแต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้อย่างเดียวกันกับทุก
คนได้
5. การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล นอกจากการเก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียด
เกี่ยวกับตัวบุคคลแล้ว ควรคานึงถึงสภาพแวดล้อมทางบ้านของเขาด้วย เพื่อจะได้รู้จักและ
เข้าใจอย่างถูกต้องมากขึ้น
6. การมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลให้เต็มที่ เป็นข้อสาคัญที่ควรตระหนัก
เพราะจะเพิ่มความพยายามแก่ผู้ศึกษาในการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลในทุกทาง เพียงเพื่อให้เขา
รู้จักตัวเองและเข้าใจตนเองได้ดีขึ้น สามารถพิจารณาตัดสินใจเพื่อจะกระทาใด ๆ ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
7. ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคล ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคล
จาเป็นจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย เพราะการได้ข้อมูลจากฝ่ายใด
236
ฝ่ายหนึ่งอาจจะได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจากการมีอคติ หรือความไม่รู้
จริง รวมไปถึง การบิดเบือนด้วย
7.1 การให้ข้อมูลประกอบการศึกษาจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียว อาจจะ
ทาให้ได้ข้อมูลคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงอาจจะเกิดจากสาเหตุดังนี้
7.1.1 ผู้ให้ข้อมูลบางคน เช่น บิดามารดา หรือผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ขาด
ความใกล้ชิดจึงทาให้รู้จักเด็กไม่เพียงพอ
7.1.2 การดารงชีวิตและปฏิบัติตนของคนแต่ละรุ่นมีความแตกต่างกัน ทา
ให้ผู้ที่เคร่งครัดในกฎระเบียบ ประเพณี ไม่เข้าใจ และไม่ยอมรับพฤติกรรมของเขา
7.1.3 การมีอคติเนื่องมาจากความรัก หรือความคิดเห็นที่แตกต่างกันไป
จากเกณฑ์มาตรฐานของตน
7.2 การที่ข้อมูลของบุคคลมีความคลาดเคลื่อนอาจจะมีสาเหตุดังนี้
7.2.1 บุคคลส่วนมากมักจะปกปิดความลับของตนเองเอาไว้ ไม่เปิดเผย
ความจริงบางประการให้ผู้อื่นรู้ และบางคนอาจจะเสแสร้งแสดงพฤติกรรมที่ตรงกันข้ามกับ
ความรู้สึกและอุปนิสัยที่แท้จริงด้วย
7.2.2 โดยทั่วไปบุคคลมักจะมีความลาเอียงเข้าข้างตนเองเสมอว่า ตนนั้น
เป็นคนดี
7.2.3 บางคนอาจจะบิดเบือนข้อมูลโดยความไม่รู้และเข้าใจอย่างแท้จริง
เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผู้ทาการศึกษาจะต้องถาม
ตัวเองตลอดเวลาว่า
- ตนเองมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ในการนามาใช้ศึกษา
และรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลนั้นดีเพียงใด และเหมาะสมกับเขามากน้อยเพียงใด
- ตนเองรู้จักและเข้าใจเด็กได้ละเอียดและลึกซึ้งเพียงใด
- ตนเองรู้จักและเชื่อถือเครื่องมือและวิธีการนามาใช้มากน้อยเพียงใด
- ตนเองได้เตรียมการและวางแผนดาเนินการเป็นอย่างดีหรือไม่ในการศึกษาเพื่อ
จัดเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้รู้จักเด็ก และให้เด็กเข้าใจตนเองดีหรือไม่
- ตนเองพร้อมที่จะอุทิศเวลา แรงกายแรงใจในการศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลมากน้อยเพียงใด
เพราะต้องมีภาระเพิ่มมากขึ้นด้วยจาเป็นต้องใช้เวลาทั้งนอกและในราชการต้องดูแลรักษา
สุขภาพกายและสุขภาพจิตให้อยู่ในภาวะที่สมบูรณ์ตลอดเวลา
4. การดาเนินการศึกษารายกรณี
ในการศึกษารายกรณีมีกระบวนการดาเนินการดังต่อไปนี้
237
1. การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณี
2. ผู้ที่รับผิดชอบในการศึกษารายกรณี
3. ลาดับขั้นของการทาการศึกษารายกรณี
3.1 ขั้นรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับตัวบุคคล
3.2 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
3.3 ขั้นวินิจฉัยข้อมูล
3.4 ขั้นสังเคราะห์ข้อมูล หรือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
3.5 ขั้นให้ความช่วยเหลือ
3.6 ขั้นติดตามผล
การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณี
ในการเลือกบุคคลสามารถเลือกได้หลายประเภทไม่จาเป็นต้องเลือกเฉพาะบุคคล
ที่มีปัญหาเท่านั้นอาจเป็นบุคคลที่ปกติหรือบุคคลที่ประสบผลสาเร็จในชีวิตก็ได้ไม่ว่าจะเป็น
การศึกษาหรืออาชีพการงานดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการศึกษาว่าต้องการทราบ
เกี่ยวกับเรื่องอะไร และจะต้องการให้ความช่วยเหลือหรือแก้ปัญหาในเรื่องใดกล่าวโดยสรุป
การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณีควรพิจารณาบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
1. บุคคลที่ประสบผลสาเร็จทางการศึกษาหรือด้านอาชีพการงาน
2. บุคคลที่มีความสามารถพิเศษบางอย่าง
3. บุคคลที่มีปัญหามาก เช่น ปัญหาส่วนตัว ปัญหาในการทางาน ปัญหาใน
การปรับตัว หรือปัญหาในการศึกษาเล่าเรียน
4. บุคคลที่มีความทะเยอทะยานมีใจหนักแน่น มีกาลังใจเข้มแข็งในการเอาชนะ
อุปสรรค
5. บุคคลที่เรียนอ่อนไม่สามารถทางานในระดับที่เรียนอยู่ได้
6. บุคคลที่มีพฤติกรรมดีเด่นสมควรเป็นแบบอย่างในสังคม
7. บุคคลที่มีพฤติกรรมปกติทั่วไป
ผู้ที่รับผิดชอบในการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีเป็นหน้าที่ของผู้ที่ทาหน้าที่แนะแนวผู้ให้คาปรึกษาหรือผู้ให้
การบาบัดรักษาสุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับรายกรณีที่ถูกศึกษาโดยตรง เนื่องจากใกล้ชิด มี
ข้อมูลในเบื้องต้นอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งได้แก่ นักเรียน นักศึกษา บุคคลในหน่วยงานต่าง ๆ หรือ
ผู้ป่วย เป็นต้น โดยมีการทางานระหว่างผู้ทาการศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องกับรายกรณีที่ถูก
238
ศึกษาทุกคน จึงเป็นเรื่องของการทางานเป็นทีมเพื่อรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง รวมทั้ง
รายละเอียดต่าง ๆ ให้สมบูรณ์และครอบคลุมในทุก ๆ ด้านที่เป็นของตัวเขา ข้อมูลและ
รายละเอียดนั้นผู้ทาการศึกษารายกรณีต้องทาหน้าที่ประสานและเก็บรักษาข้อมูลต่าง ๆ
ให้เป็นระบบและมีระเบียบสะดวกนามาใช้อ้างอิงได้
ลาดับขั้นของการทาการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีโดยทั่วไปได้มีการแบ่งเป็นขั้นตอนเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์โดยมีการดาเนินการตามลาดับดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับบุคคล (Collecting of the Necessary
Data) ขั้นการรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นแรกของผู้ทาการศึกษารายกรณี โดยใช้กระบวนการที่
กล่าวไว้ใน เบื้องต้นเรื่องการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลนั้น เพื่อช่วยให้รู้จักรายกรณีที่ถูก
ศึกษา รวมไปถึง การช่วยให้ทราบภาวะความเป็นไปในปัจจุบันของบุคคลผู้นั้นด้วย สาหรับ
แหล่งข้อมูลที่สาคัญที่ผู้ทาการศึกษารายกรณีควรให้ความสนใจ ได้แก่
1.1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกต้อง ได้แก่ รายละเอียดเกี่ยวกับ
ครอบครัว ประวัติการศึกษา ประวัติสุขภาพอนามัย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะได้มาจากระเบียน
สะสม
1.2 การสังเกตรายกรณีที่ศึกษาในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในขณะที่เด็กทา
กิจกรรมหรือทางานทั้งในห้องเรียนหรือนอกห้องเรียน เพื่อให้ทราบสัมพันธภาพทางสังคม
และการปรับตัวกับผู้อื่นในการสังเกตแต่ละครั้งควรมีการจดบันทึกการสังเกตทั้งในรูปของ
ระเบียนพฤติการณ์และมาตรส่วนประมาณค่าเพื่อจะได้เปรียบเทียบกับผลของ
การเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏในแต่ละช่วงเวลาที่ผ่านไป
1.3 การสัมภาษณ์รายกรณีที่ถูกศึกษา อาจจะเป็นการนัดหมายมาพูดคุย หรือ
อาจพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการในขณะที่เขากาลังทากิจกรรมอยู่ หรือช่วงเวลาที่พบใน
บางครั้งในแต่ละวัน ในการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการจะช่วยให้บุคคลนั้นกล้าแสดงออก ซึ่ง
จะทาให้ได้ข้อมูลจริงและน่าเชื่อถือ
1.4 การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและรู้จักกับผู้ที่เป็นรายกรณี เช่น บิดา มารดา
ญาติ พี่น้อง ครู อาจารย์ เพื่อน หรือบุคคลอื่น ๆ ที่คาดว่าจะสามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมได้
และจะทาให้ ข้อมูลมีความชัดเจนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
1.5 การเยี่ยมบ้าน หากรายกรณีที่ถูกศึกษาเป็นนักเรียน ส่วนมากครูอาจารย์
หรือ ผู้แนะแนวมักเห็นและรู้จักในขณะที่อยู่ในโรงเรียน และพฤติกรรมที่แสดงออกของ
นักเรียนบางอย่างมีผลมาจากทางบ้าน ดังนั้นการได้มาเยี่ยมบ้านจึงทาให้เห็นสภาพ
239
ครอบครัวและสัมพันธภาพภายในครอบครัวระหว่างนักเรียนและบุคคลภายในครอบครัว
รวมไปถึงการได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสมาชิกในครอบครัวของเขาด้วย ถือว่าเป็น
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ทาการศึกษาและสมาชิกในครอบครัวซึ่งจะส่งผลให้ได้รับ
ความร่วมมือจากพวกเขาในการให้ข้อมูลเพิ่มภายหลังหากจาเป็น
1.6 การศึกษาข้อมูลจากอัตชีวประวัติ บันทึกประจาวัน และผลงานในลักษณะ
อื่น ๆ เช่น การทางานด้วยความเอาใจใส่ ประณีต ละเอียด เป็นระเบียบเรียบร้อย หรือมี
ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
1.7 ข้อมูลจากแบบสอบถามชนิดต่าง ๆ ที่ได้รับการตอบของรายกรณีที่ถูกศึกษา
นับเป็นข้อมูลที่มักจะได้รับทราบความรู้สึก ความคิดเห็น ความสนใจ หรือค่านิยมของราย
กรณีที่มีต่อตนเองและผู้อื่น
1.8 ข้อมูลจากการทดสอบต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบความสนใจ แบบทดสอบ
ความถนัด แบบทดสอบสติปัญญา แบบทดสอบบุคลิกภาพ หรือแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เป็นต้น
1.9 การศึกษาข้อมูลจากเครื่องมือและกลวิธีในการศึกษา ผู้ทาการศึกษาควร
นามาใช้ให้เหมาะสมถูกต้อง และสอดคล้องกับสภาพการณ์
ขั้นที่ 2 ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) ข้อมูลที่ได้รวบรวมมาด้วยวิธีการต่าง ๆ
ผู้ทาการศึกษาจะต้องนาข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ข้อเท็จจริง แล้วจัดแยกออกเป็นด้าน ๆ
เพื่อให้เกิดความสะดวกและง่ายต่อการทาความเข้าใจหรือตีความหมายข้อมูลเกี่ยวกับราย
กรณีที่ถูกศึกษา
ขั้นที่ 3 ขั้นวินิจฉัยข้อมูล (Diagnosis) ขั้นนี้เป็นขั้นตอนที่สาคัญ เพราะเป็นการนา
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นที่ 2 มาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาในการวินิจฉัยว่าอะไรคือ
สาเหตุแห่งปัญหา การลงความเห็นเกี่ยวกับปัญหานี้อาจเป็นเพียงชั่วคราว เพื่อให้เป็นเพียง
พื้นฐานของการสังเคราะห์ข้อเท็จจริงในขั้นต่อไปเท่านั้น จึงไม่ใช่ข้อยุติ หรือข้อสรุปแต่อย่าง
ใด เนื่องจากการวินิจฉัยสาเหตุที่มาของปัญหาได้อย่างถูกต้องชัดเจน จนทาให้สามารถ
ช่วยเหลือรายกรณีที่ถูกศึกษานั้นได้ ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ทากันได้ง่าย ๆ ถ้ามีการรวบรวมข้อมูล
และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างหยาบ ๆ หรือไม่ละเอียด รอบคอบ อาจจะนาไปสู่การแก้ปัญหาที่
ไม่ถูกต้องได้
ขั้นที่ 4 ขั้นการสังเคราะห์ข้อมูลหรือขั้นรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม (Synthesis)
เนื่องจากในขั้นของการวินิจฉัยปัญหานั้น บางครั้งมีการดาเนินการช่วยเหลือแต่ยังไม่
สามารถคลี่คลายปัญหาได้ โดยพบว่าส่วนหนึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากข้อมูลที่ได้มานั้นไม่
เพียงพอ หรือขาด ความชัดเจน จึงจาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ด้วยการศึกษา
240
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหานั้นเพิ่มเติม ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
หรือกลวิธีอื่น ๆ แล้วนาข้อมูลที่เพิ่มมานั้นสังเคราะห์เข้าด้วยกันกับข้อมูลเดิม ซึ่งจะช่วยให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่ละด้าน แล้วจะเกิดเป็นภาพรวมทางบุคลิกภาพของเขา
ในการที่จะช่วยให้ผู้ทาการศึกษาเข้าใจลักษณะของปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้อย่าง
ชัดเจน
ขั้นที่ 5 ขั้นให้ความช่วยเหลือ (Treatment) ก่อนให้ความช่วยเหลือจะต้องแน่ใจว่า
การวินิจฉัยปัญหานั้นมีความถูกต้อง จากนั้นจึงพิจารณาวิธีการช่วยเหลือด้วยวิธีการต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม หรืออาจจะมีการกาหนดแนวทางหลักแนวทางรองไว้ก็ได้ แล้ว
ดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดอย่างจริงจัง จึงจะช่วยให้ประหยัดทั้งแรงงานและเวลา
เพราะบางประเด็นอาจจะไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ บางทีอาจจะทาให้แนวทางหลัก
ไม่สามารถช่วยเหลือหรือแก้ไขได้ จึงจาเป็นจะต้องใช้แนวทางรองมาดาเนินการ ถ้ายังไม่
สามารถแก้ไขปัญหาได้จะต้องมีการทบทวนและ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมประกอบ เพื่อหา
แนวทางช่วยเหลือต่อไป
ขั้นที่ 6 ขั้นติดตามผล (Follow – up) เมื่อผู้ทาการศึกษาได้ให้ความช่วยเหลือหรือให้
การแก้ไขปัญหาไปแล้ว ขั้นสุดท้ายของการศึกษารายกรณีก็คือ ขั้นติดตามผล การติดตาม
ผลนั้นจะทาให้เราทราบว่า ปัญหานั้นลดน้อยลงไปหรือไม่เพียงใด มีข้อบกพร่องที่จะ
ปรับปรุงอย่างไรบ้าง จะต้องให้การช่วยเหลือเพิ่มขึ้นหรือไม่ และเขาสามารถปรับตัวใช้ชีวิต
อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขเพียงใด นอกจากนี้ยังเป็นการติดตามผลเพื่อให้การช่วยเหลือ
หรือแก้ไขปรับปรุงในรายกรณีที่ถูกศึกษายังได้รับการดาเนินการช่วยเหลือไม่สมบูรณ์ หรือ
ยังได้รับการช่วยเหลือที่ไม่ถูกต้อง
แหล่งข้อมูลที่ศึกษารายกรณี
ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อทาการศึกษารายกรณีนั้น ต้องคานึงถึงแหล่งที่สาคัญของ
ข้อมูลซึ่งผู้ทาการศึกษาควรให้ความสนใจอย่างยิ่ง ซึ่ง ได้แก่
1. ระเบียนสะสม เป็นเอกสารที่มีสถานที่อยู่ วัน เดือน ปี เกิด ชื่อบิดา มารดา เชื้อ
ชาติ สัญชาติ ของบิดามารดา รายการเกี่ยวกับสุขภาพ ความถนัด ความสนใจ และคะแนน
ของวิชาต่าง ๆ ที่ได้
2. ระเบียนพฤติการณ์หรือระเบียนพฤติกรรม เป็นเอกสารที่มีข้อมูลได้จาก
การสังเกตของผู้ดาเนินการศึกษารายกรณี บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรมของราย
กรณีที่ถูกศึกษาที่มองเห็นได้ในขณะสังเกต
241
3. การสัมภาษณ์ อาจจะใช้วิธีการแบบเป็นทางการ โดยวิธีทาการพูดคุยระหว่าง
ผู้ทาการศึกษาและเด็กที่ถูกศึกษาในแต่ละวัน หรือพูดคุยกันระหว่างผู้ทาการศึกษาและ
บุคคลอื่นที่รู้จักกับรายกรณีที่ถูกศึกษาก็ได้
4. การเยี่ยมบ้านโดยการเดินทางไปพูดคุยกับทางครอบครัวของรายกรณีที่ถูก
ศึกษาเป็นการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ไปพร้อม ๆ กัน
5. การสังเกตในโรงเรียนหรือในที่ทางาน เช่น ในห้องเรียนในห้องทางานในสถานที่
ต่าง ๆ ที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรม หรือในงานสังคม รวมไปถึงสถานการณ์อื่น ๆ เป็นต้น
6. ผลการทดสอบต่าง ๆ เช่น สติปัญญา ความฉลาดทางอารมณ์ ความถนัด
ความสนใจฯลฯ
7. ผลการทาสังคมมิติ
8. อัตชีวประวัติ
9. บันทึกรายวันหรืออนุทิน
10. แบบสอบถามที่ผู้ถูกศึกษาตอบด้วยตัวเอง
ในการรวบรวมข้อมูลหรือรายละเอียดเกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกศึกษานั้น ผู้ทา
การศึกษา รายกรณีควรพยายามรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทา
ได้ และหากเป็นข้อมูลที่กว้างและมากเท่าใดย่อมจะช่วยทาให้เราเข้าใจเด็กได้มากขึ้น และ
สามารถวินิจฉัยปัญหาได้อย่างถูกต้องมากขึ้นด้วย
5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีให้สาเร็จสมบูรณ์ด้วยดีนั้น ผู้ทาการศึกษารายกรณีจาเป็นต้อง
ใช้เทคนิคและเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภทด้วยกัน จะใช้
ประเภทใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูล เพราะเครื่องมือแต่ละประเภท
จะมีทั้งข้อดีและข้อจากัด ไม่มีวิธีการใดที่จะมีความสมบูรณ์ในตัวเอง ผู้ทาการศึกษาจะต้อง
ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ และทักษะในเรื่องเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล
อย่างไรก็ตามมีการแบ่งเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณีไว้เป็น 2 ประเภท
ใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้
1. เทคนิควิธีที่ไม่ใช่แบบทดสอบ (Non – Test Techniques) เทคนิคและเครื่องมือที่
ไม่ใช่ลักษณะแบบทดสอบนี้จาแนกตามลักษณะของเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้กันส่วนมาก
ได้แก่
1.1 การสังเกต (Observation)
1.2 ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal Recording)
242
1.3 ระเบียนสะสม (Cumulative Record)
1.4 การสัมภาษณ์ (Interview)
1.5 อัตชีวประวัติ (Autobiography)
1.6 บันทึกประจาวัน (Diary)
1.7 มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scales)
1.8 สังคมมิติ (Sociometry)
1.9 การเยี่ยมบ้าน (Home visitation)
1.10 แบบตรวจสอบ (Checklist)
1.11 แบบสอบถาม (Questionnaire)
1.12 การตรวจสุขภาพและบันทึกสุขภาพ (Health Examination and Health
Record)
2. เทคนิคและเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบ (Test Techniques) เทคนิคและ
เครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบนี้จาแนกตามลักษณะของเทคนิคและเครื่องมือที่ผู้ทาการศึกษา
รายกรณีใช้ ได้แก่
1.1 แบบทดสอบสติปัญญา (Intelligence Test)
1.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test)
1.3 แบบทดสอบความสนใจหรือแบบสารวจความสนใจ (Interest Test or
Interest Inventory)
1.4 แบบทดสอบบุคลิกภาพ (Personality Test)
1.5 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Test)
6. ปัญหาของบุคลที่ควรศึกษารายกรณี
บุคคลวัยต่าง ๆ ในสังคมย่อมประสบเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดความรู้สึกพอใจ
และไม่พอใจ ซึ่งส่งผลสะท้อนให้เห็นพฤติกรรม และผลดังกล่าวจะส่งผลต่อการปรับตัวของ
บุคคลนั้น ๆ จนก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้นมาได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางการศึกษา ปัญหา
ในการทางาน ปัญหาเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ดังนั้นผู้ที่ช่วยเหลือบุคคลเหล่านี้ต้องเอาใจใส่ต่อ
ความเป็นอยู่ของเขาเพื่อให้เข้าใจและวินิจฉัยสาเหตุของพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้อย่าง
ถูกต้อง สาหรับปัญหาที่ควรได้รับการศึกษารายกรณี แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ 6
ประเภท ดังนี้
1. ปัญหาทางด้านร่างกายและสุขภาพ บุคคลบางคนอาจจะมีความผิดปกติทาง
ร่างกายมาแต่กาเนิด จึงทาให้รู้สึกว่าเกิดเป็นปมด้อยของตน และอาจจะมีผลต่อพฤติกรรม
243
ที่อาจจะไม่เหมือนคนอื่นหรือไม่ปกติ และยิ่งมีปฏิกิริยาตอบโต้มากขึ้นหากถูกเพื่อน
ล้อเลียน หรือบางคนมีโรคประจาตัวที่ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตเป็นปกติได้เช่นคนอื่น
2. ปัญหาด้านการศึกษา ส่วนใหญ่ปัญหาการศึกษาสืบเนื่องมาจากปัญหาทาง
สุขภาพ เพราะจะทาให้เด็กคิดมาก วิตกกังวลท้อแท้ รู้สึกไม่มั่นใจในตนเอง รู้สึกอับอายใน
บุคลิกภาพของตน นอกจากนี้อาจจะมาจากการอบรมเลี้ยงดู หรือประสบการณ์ในชีวิตที่
ผ่านมา เช่น การได้รับ การอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวด ที่ทาให้เป็นคนเก็บกดและแสดง
อาการก้าวร้าว ไม่มีความมั่นใจในตนเอง และไม่สามารถปรับตัวเข้ากับคนอื่นได้ง่าย หรือ
บางคนได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยหรือตามใจ ก็จะทาให้เป็นคนที่ขาดระเบียบ
วินัย เป็นคนที่เอาแต่ใจตนเอง ไม่นึกถึงใครนอกจากตนเอง ด้วยลักษณะที่ไม่เหมาะสม
ดังกล่าว ทาให้เกิดผลกระทบต่อการศึกษาเล่าเรียน จนทาให้เกิดปัญหาทางด้านการศึกษา
ทั้งปัจจุบัน และอนาคตได้
3. ปัญหาด้านบุคลิกภาพ การเข้าใจตนเองอย่างถูกต้องตามความเป็นจริงทั้งใน
เรื่องความเด่นและความด้อยของบุคคลนั้น จะมีผลต่อการปรับตัวและการยอมรับสภาพ
ของตนเองมาก เพราะจะทาให้เขาพยายามปรับปรุงและพัฒนาความสามารถของตนและ
ลบจุดด้อยนั้น และกล้าแสดงออกถึงความเด่นของตนด้วยศักยภาพที่มีอยู่ แต่ยังมีบุคคลที่
มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือเกิดความรู้สึกในด้านลบต่อตนเองก็จะทาให้ไม่กล้าแสดง
ตน โดยจะเก็บตัวหรือหาทางออกในลักษณะที่สังคมไม่ยอมรับ เพื่อเรียกร้องความสนใจ
ส่วนมากบุคคลที่กล่าวมา ได้แก่ พวกที่มาจากครอบครัวที่มีปัญหา และมักขาดความมั่นคง
ในจิตใจ
4. ปัญหาด้านอาชีพ ความพร้อมในปัจจัยต่าง ๆ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพ
ของบุคคล จะพบว่าหลายคนมักจะประสบปัญหาในการตัดสินใจเลือกอาชีพ เพราะ
ข้อจากัดในด้านบุคลิกภาพ หรือสุขภาพร่างกาย หรือความสามารถทางด้านการศึกษา
นอกจากนี้อาจเนื่องมาจากการขาดข้อมูลข่าวสารในการใช้ประกอบการตัดสินใจ ในสังคม
ยุคแห่งการแข่งขันสูง เช่น ในปัจจุบันในสังคมมีคนจานวนมากที่ทางานที่ไม่ตรงกับความรู้
ความสามารถของตนเอง บางคนทางานเพราะต้องจาเป็นต้องเลือกไว้ก่อน ไม่เช่นนั้นจะ
พลาดโอกาสได้งานทาซึ่งจะรอคอยที่ตรงกับที่เรียนมาไม่ได้ ด้วยความจาเป็นต้องช่วยเหลือ
ครอบครัว บางคนทางานเพราะปฏิบัติตามบิดามารดา การทางานที่ไม่ตรงกับความรู้
ความสามารถและความถนัดก็จะทาให้เกิดปัญหาได้เช่นเดียวกัน ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้
ที่ทาให้เกิดปัญหาทางด้านอาชีพได้
5. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ในด้านทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน ทุนทรัพย์ที่ต้องใช้
จ่ายในครอบครัวของบุคคลนั้นเป็นเรื่องจาเป็นมากทั้งสองอย่าง ดังนั้นหากมีความพร้อมก็
244
จะเป็นการสนับสนุนให้มีการดารงชีวิตที่เป็นปกติ แต่หากมีปัญหาก็ย่อมส่งผลต่อชีวิตได้ไม่
น้อย จะเห็นว่าบุคคลที่ขาดทุนทรัพย์ก็จะขาดโอกาสดี ๆ ในชีวิตโดยเฉพาะบุคคลในวัยเด็ก
ที่ควรต้องได้รับอาหารสุขภาพอาหารสมองจึงจะทาให้เขามีการพัฒนาการให้สมบูรณ์ทั้ง
ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เป็นบุคคลวัยทางานที่มีประสิทธิภาพเต็ม
ไปด้วยความรู้ความสามารถ ในการสร้างประโยชน์ให้แก่ตน ครอบครัว และสังคมได้
ในทางตรงกันข้าม ถ้าเด็กขาดอาหารทั้งอาหารกายอาหารสมอง ย่อมจะทาให้เขามีสุขภาพ
ที่ไม่แข็งแรง สมองไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร ด้วยเศรษฐกิจที่ไม่ดีเขาอาจจะเป็นคนที่ไม่
มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งมีผลเสียต่อสังคมและประเทศชาติ เพราะจะมีประชากรที่ไร้ความรู้
ความสามารถ จึงสมควรอย่างยิ่งที่บุคคลที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจควรได้รับการช่วยเหลือ
อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6. ปัญหาด้านสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีผลต่อบุคคลในสังคมยุคปัจจุบัน
นี้มากขึ้น เพราะจะทาให้เกิดความสลับซับซ้อนและสิ่งจูงใจในสังคมที่บ่อนทาลาย
วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาติ มีผลทาให้จิตใจของคนส่วนใหญ่ในปัจจุบันเปลี่ยนไป
จากการมีความเห็นอกเห็นใจกัน มีน้าใจให้กันและกัน มาเป็นการอยู่แบบตัวใครตัวมัน มีแต่
ความเห็นแก่ได้เห็นแก่ตัว เอาเปรียบซึ่งกันและกัน ใครมีเงินจะทาให้มีโอกาสและอานาจ จึง
ส่งผลให้สังคมมีปัญหา เพราะบุคคลในสังคมมีค่านิยมทางวัตถุ เกิดสภาพจิตใจที่ไม่ดี เกิด
ความคับข้องใจเกิดความขัดแย้งใจ ความกลัว ความวิตกกังวลกันมากขึ้น ส่งผลให้คนไทย
มีสุขภาพจิตเสื่อมขึ้นทุกปี ดังจะเห็นจากข่าวที่มีคนฆ่าตัวตายทุกวัน และสถิติการเพิ่ม
จานวนผู้ป่วยทางจิตจากโรงพยาบาลจิตเวชทุกแห่ง จึงจาเป็นที่นักจิตวิทยาจาก
โรงพยาบาลจิตเวชทุกแห่ง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือแก่สังคมมากขึ้น
7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมในการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี จาเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลอย่างละเอียดรอบคอบ เพราะต้อง
เป็นข้อมูลที่ต้องตรงกับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกศึกษายิ่งละเอียด และถูกต้อง
มากเท่าใดก็จะเป็นประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น ด้วยการที่จะได้รับความช่วยเหลือที่ตรงจุด
ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ข้อมูลดังกล่าวควรอยู่ในขอบข่ายดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาของรายกรณีที่ถูกศึกษากาลังประสบอยู่ในปัจจุบัน ปัญหา
นั้นอาจเกิดจากการค้นพบด้วยตัวเอง หรือถูกค้นพบโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับเขา ไม่ว่าจะเป็น
ภายในบ้านหรือนอกบ้าน
2. ภูมิหลังเกี่ยวกับคุณลักษณะของบุคคลในครอบครัว รายกรณีที่ถูกศึกษา หรือ
อาจจะถูกเรียกว่าประวัติครอบครัว ควรประกอบด้วยเรื่องราวดังต่อไปนี้
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55

More Related Content

What's hot

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

Similar to บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55

นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 

Similar to บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55 (20)

บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Chapter4 ppt
Chapter4 pptChapter4 ppt
Chapter4 ppt
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 

More from Decode Ac

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55Decode Ac
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55Decode Ac
 

More from Decode Ac (11)

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55

  • 1. บทที่ 9 การศึกษารายกรณี แผนการเรียนรู้ประจาบท 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เข้าใจความหมาย ความสาคัญของการศึกษารายกรณี 2. เพื่อให้เข้าใจประเภทของการศึกษารายกรณี 3. เพื่อให้เข้าใจเทคนิควิธีการศึกษารายกรณี 4. เพื่อให้เข้าใจข้อจากัดของการศึกษารายกรณี 2. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายการศึกษารายกรณี 2. ความมุ่งหมายการศึกษารายกรณี 3. การเก็บข้อมูลรายบุคคล 4. การดาเนินการศึกษารายกรณี 5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ศึกษารายกรณี 6. ลักษณะของบุคคลที่ควรศึกษารายกรณี 7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรศึกษารายกรณี 8. ข้อควรคานึงการศึกษารายกรณี 9. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ทดสอบก่อนเรียน 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 3. อภิปราย ซักถามเกี่ยวกับเนื้อหา 4. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ กรณีตัวอย่าง 5. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียน 6. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้ารายกรณี และนาเสนอผลการศึกษารายกรณีใน สถานการณ์จริง 7. ทารายงานผลการศึกษารายกรณีจากสถานการณ์จริง 8. ทดสอบหลังเรียน 4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน
  • 2. 226 2. สื่อ วีดีทัศน์ (power point) 3. เว็บไชต์ที่เกี่ยวข้อง 4. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี 5. การประเมินผล 1. แบบฝึกหัดท้ายบท 2. ความถูกต้องชัดเจนของเนื้อหา 3. การศึกษาค้นคว้าและรายงานเพิ่มเติม 2. ความถูกต้องของการนาเสนอผลงาน 3. การนาเสนอผลงานการศึกษารายกรณี
  • 3. 227 บทที่ 9 การศึกษารายกรณี การศึกษาพฤติกรรมเด็กมีความสาคัญต่อครูผู้สอนมากเพราะจะทาให้ครูได้รู้จัก เด็กเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกรณีที่เด็กมีปัญหาครูจะต้องใช้ข้อมูลจานวนมากเพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการช่วยเหลือหรือการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก วิธีการศึกษา พฤติกรรมเด็กที่มีรูปแบบที่ชัดเจน และมีข้อมูลเชิงลึกอย่างเพียงพอเพื่อประกอบ การตัดสินใจคือ คือวิธีการศึกษาเด็กรายกรณี (Case study) ข้อมูลที่ได้รับนั้นจะครอบคลุม ทุกด้าน เช่น ด้านส่วนตัว ครอบครัว ผลการเรียน ตลอดจนพฤติกรรมบางอย่างที่เด็กแสดง ออกมาทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้ครูตัดสินใจเกี่ยวกับตัว เด็กได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นว่าจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กหรือการแก้ปัญหาให้กับเด็ก ใน บทนี้ขอกล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษารายกรณีดังนี้ 1. ความหมายการศึกษารายกรณี 2. ความมุ่งหมายการศึกษารายกรณี 3. การเก็บข้อมูลรายบุคคล 4. การดาเนินการศึกษารายกรณี 5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ศึกษารายกรณี 6. ลักษณะของบุคคลที่ควรศึกษารายกรณี 7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรศึกษารายกรณี 8. ข้อควรคานึงการศึกษารายกรณี 9. ตัวอย่างการศึกษารายกรณี 1. ความหมายการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีมีมีขอบข่ายที่กว้างบางครั้งทาให้ผู้อ่านมีความสับสนหรือไม่ได้ ชัดเจนได้ แต่อย่างไรก็ตามได้มีผู้พยายามให้ความหมายของการศึกษารายกรณีดังนี้ ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์ และสุวิทย์ หิรัณยกาณฑ์ (2548 : 40) การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษาทางจิตวิทยาอย่างหนึ่งโดยการศึกษาเฉพาะราย ซึ่งได้แก่ การศึกษา ประวัติส่วนตัว การศึกษา อาชีพ ความประพฤติ ตลอดจนพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อรวบรวม ข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน สาหรับช่วยอธิบายตัวบุคคลผู้นั้น และเพื่อความเข้าใจบุคคลนั้นดี
  • 4. 228 ยิ่งขึ้น การศึกษาวิธีนี้ใช้มากในการด้านการให้คาปรึกษา (Counselling) การแนะแนวและ งานทางด้านสังคมสงเคราะห์ ลักขณา สรีวัฒน์ (2548 : 8) การศึกษารายกรณี คือ กระบวนการของการศึกษา รายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคคล ติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาทั้งภูมิหลังและ การดารงชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลและนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุที่ ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมเช่นนั้น หรือพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปมาจากสาเหตุอะไร รวมถึง การแปลความหมายของพฤติกรรมดังกล่าวว่ามีความสัมพันธ์กับการปรับตัวที่ดี หรือ ลักษณะของการปรับตัวที่ดี หรือลักษณะการปรับตัวที่เป็นปัญหาของบุคคลนั้นอย่างไร อัน จะทาให้เกิดการรู้จักและเข้าใจในด้านต่าง ๆ ของตัวเขาอย่างแท้จริง เพื่อเป็นแนวทาง นาไปสู่ การสนับสนุน หรือการให้ความช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การศึกษารายกรณี หมายถึง กระบวนการศึกษารายละเอียด เกี่ยวกับบุคคลทุกด้าน อย่างตรงไปตรงมาให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด โดยใช้วิธีการศึกษาที่ หลากหลาย รวบรวมไว้เป็นหลักฐานสาคัญเพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และหาวิธีการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่เหมาะสมต่อไปในอนาคต 2. ความมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี 1. เพื่อศึกษารูปแบบพัฒนาการของบุคคลทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม อันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาส่งเสริมสนับสนุนหรือให้ความช่วยเหลือและ แก้ไขได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.เพื่อค้นหาสาเหตุที่ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมผิดปกติ และจะได้หาแนวทางให้การ ช่วยเหลือแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและได้ผล 3. เพื่อให้บุคคลเกิดความเข้าใจในตนเอง ยอมรับความเป็นจริงเกี่ยวกับตน เพื่อ นาไปสู่การมีความสามารถพัฒนาตนเองได้ สามารถวางแผนชีวิตและเลือกแนวทาง การศึกษาต่อและเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนได้ จนทาให้มีการดาเนินชีวิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีความสุข 4. เพื่อช่วยเหลือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น บุคคลในครอบครัว หรือพ่อแม่ ญาติพี่น้อง หรือผู้ร่วมงานเกิดความเข้าใจเขาได้อย่างละเอียดลึกซึ้งถูกต้อง พร้อมที่จะให้ความร่วมมือ ในการช่วยเหลือและนาผลการศึกษารายกรณีไปหาแนวทางการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาได้ 5. เพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้แนวทางในการจัดกิจกรรมอย่างถูกต้อง และ เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของเขา ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 5. 229 3. การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล หมายถึง การที่ครู ผู้แนะแนว หรือผู้ที่ทาหน้าที่ใน การให้ความช่วยเหลือบุคคล หรือรายกรณีที่ถูกศึกษาดาเนินการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคลในทุกๆด้าน อย่างละเอียดถูกต้องอย่างเป็นระบบด้วยการศึกษา จดบันทึกเรื่องราว ต่าง ๆ เกี่ยวกับตัวเขา เช่น ประวัติส่วนตัว ครอบครัว การศึกษา สุขภาพ ความสนใจ เจตคติ เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลที่ช่วยให้เข้าใจเขารู้จักเขาและหาแนวทางในการช่วยเหลือได้ ถูกต้องและเหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของเขา นอกจากนี้ข้อมูลดังกล่าวยังช่วยสะท้อนให้ เขารู้จักและเข้าใจตนเองได้อย่างแท้จริง ทาให้เขาสามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุขและมี ประสิทธิภาพอีกด้วย ขอบข่ายของการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล ในการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลนั้นผู้ทาการศึกษาควรคานึงถึงบริบทที่เกี่ยวข้อง หลายประการ เพราะข้อมูลแต่ละส่วนมีความสาคัญต่อผลการศึกษาข้อที่ควรคานึงมี ดังต่อไปนี้ 1. ควรจะได้ศึกษาบุคคลนั้นหลาย ๆ สถานการณ์ เช่น ขณะกาลังเรียน หรือกาลัง ทางานทั้งตามลาพัง และกับกลุ่มเพื่อนหรือร่วมงาน 2. ควรจะได้ศึกษาในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ไม่ควรศึกษาเฉพาะในโรงเรียน หรือ ในที่ทางานเท่านั้น อาจศึกษาในขณะที่เขาอยู่ในบ้านและในชุมนุมต่าง ๆ ด้วย เพื่อดู พฤติกรรมว่าต่างกันหรือไม่อย่างไรระหว่างในบ้านและนอกบ้าน เพื่อนาไปสู่การศึกษาว่า สภาพความเป็นไปทั้งทางบ้านและนอกบ้านจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของเขาหรือไม่ ถ้ามี จะมีมากน้อยเพียงใด 3. ควรเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล 3 ประการคือ 3.1 บุคคลแต่ละคนย่อมมีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง ไม่มีใครเหมือนกันไป หมดในทุกอย่าง 3.2 บุคคลแต่ละคนย่อมมีพัฒนาการ และวุฒิภาวะแตกต่างกันไปตามลักษณะ เฉพาะของแต่ละบุคคลอย่างต่อเนื่องกันไป 3.3 บุคคลย่อมมีกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามประสบการณ์ของตนที่ เคยประสบพบเห็นมา เพราะประสบการณ์จะช่วยหล่อหลอมลักษณะเฉพาะของบุคคลขึ้น ใหม่ ให้มีความแตกต่างไปตามแนวทางหรือแผนที่วางไว้สาหรับอนาคต
  • 6. 230 จากความแตกต่างระหว่างบุคคลดังกล่าวจะเห็นความแตกต่างในด้านร่างกาย ความสนใจ เจตคติ ความรู้ความสามารถ ความถนัด ค่านิยม แรงจูงใจ ภูมิหลัง และอื่น ๆ อีกมากมายหลายประการ ล้วนแต่มีผลต่อความต้องการ การปฏิบัติ และกระบวนการแนะ แนว หรือวิธีการให้ความช่วยเหลือของครู อาจารย์ ผู้แนะแนว หรือผู้ให้คาปรึกษาแตกต่าง กันไปตามความเหมาะสม ดังนั้นจึงเห็นความจาเป็นในการศึกษาความแตกต่างระหว่าง บุคคล เพราะจะเป็นแนวทางนาไปสู่ความเข้าใจในสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง และทราบถึง ความต้องการของบุคคลแต่ละคน ที่อาจจะเป็นปัญหาทางการศึกษา ปัญหาเกี่ยวกับอาชีพ รวมทั้งปัญหาด้านส่วนตัวและสังคม วิธีการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล เพื่อให้ได้ข้อมูลมาประกอบการศึกษาบุคคล ผู้ทาการศึกษาควรจะใช้เครื่องมือและ กลวิธีการหลาย ๆ อย่าง ไม่ควรศึกษาหาข้อเท็จจริงเพียงด้านเดียว จะต้องศึกษาหาข้อมูล จากบุคคลหลาย ๆ ฝ่าย เช่น บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุคคลในครอบครัว รวมไปถึงเพื่อน สนิทด้วย ซึ่งถ้ารวบรวมข้อมูลจากบุคคลหลาย ๆ ฝ่ายได้มากเท่าใด จะทาให้มีความเข้าใจ มากยิ่งขึ้น และสามารถวินิจฉัยสาเหตุแห่งพฤติกรรมและปัญหาของเขาได้อย่างถูกต้อง อัน จะนาไปสู่การช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมเป็นรายบุคคล 1. เพื่อช่วยให้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคล เพราะในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นมี การศึกษาและทาความเข้าใจเป็นรายบุคคล ซึ่งจะช่วยให้รู้จักและเข้าใจความต้องการ หรือ สาเหตุแห่งปัญหาของเขาอันจะนาไปสู่แนวทางการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อช่วยป้องกันปัญหาในการทราบข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลจะช่วย ให้รู้เท่าทัน และเตรียมการก่อนจะประสบปัญหาหรือความยุ่งยากที่อาจจะเกิดขึ้นมาได้ 3. ช่วยหาทางส่งเสริมพัฒนา การทราบข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับตัวบุคคลจะ ช่วยให้เกิดแนวทางในการแนะนา และการส่งเสริมให้มีการใช้ศักยภาพให้เกิดประโยชน์มาก ขึ้น ทาให้เด็กมีการพัฒนาการเจริญเติบโตในทุก ๆ ด้านในทุก ๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จะทาให้เด็กเกิดความเข้าใจและรู้จักตนเองมากขึ้น 4. เพื่อให้เกิดทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแสวงหาแนวทางในการได้มาซึ่ง ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพนั้น จาเป็นต้องใช้ความสามารถ และประสบการณ์ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ซึ่งจะไม่ต้องเสียเวลา และไม่ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่สมควร
  • 7. 231 ประเภทของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมเป็นรายบุคคล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทาให้รู้จักและเข้าใจ บุคคลประกอบด้วยข้อมูลประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 1. ข้อมูลส่วนตัวและครอบครัว ครอบครัวนับเป็นสถาบันแรกของบุคคลที่มีบทบาทและอิทธิพลต่อการถ่ายทอด ปลูกฝังพฤติกรรม และบุคลิกลักษณะทั้งทางกายและใจของแต่ละคน ผู้ศึกษาจาเป็นต้อง ทราบข้อมูลและรายละเอียดในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวให้ มากที่สุด เพื่อจะได้เรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของเด็กอย่างถูกต้อง ดังนั้นข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่องส่วนตัวและครอบครัวที่สาคัญประกอบด้วย 1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ได้แก่ ชื่อ –สกุล เพศ วัน เดือน ปี สถานที่เกิด เชื้อชาติ ศาสนา ที่อยู่ปัจจุบัน รวมทั้งข้อมูลด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับบิดามารดาได้แก่ ชื่อ–สกุล การศึกษา อาชีพ สุขภาพ ฐานะทาง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างบิดา มารดา และบุตร สภาพการสมรส เจตคติของบิดา มารดาที่มีต่อบุตร วิธีการอบรมเลี้ยงดู รวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลด้านอื่น ๆ ของบิดามารดา และปัจจัยอื่นที่เป็นประโยชน์ 1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับพี่น้อง ได้แก่ ชื่อ–นามสกุล เพศ อายุ ลาดับการเกิด การศึกษา อาชีพ ความสัมพันธ์กันกับพี่น้อง รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ 1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับบ้านและเพื่อนบ้าน ได้แก่ สภาพบ้าน ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านทั้งภายในและภายนอกมีห้องแบ่งกันเป็นสัดส่วนหรือไม่รวมถึง สภาพแวดล้อมทางบ้าน 1. ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข้อมูลที่ควรศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีดังนี้ 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของบุคคลในโรงเรียน ได้แก่ สภาพของโรงเรียน ที่ตั้ง ระยะเวลาที่นักเรียนเข้าเรียน การมาเรียน กิจกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กิจกรรมเสริม หลักสูตร และสมาชิกในชุมนุมต่าง ๆ การบันทึกระเบียนพฤติกรรม หรือบันทึกอื่น ๆ ที่ทา ให้เขาเข้าใจได้ดีขึ้นในเรื่องการปรับตัว สุขภาพ เจตคติ หรือสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและกิจกรรมทางวิชาการด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถทางสติปัญญาด้านต่าง ๆ ความถนัด ความสนใจเกี่ยวกับอาชีพ ความสนใจทาง วิชาการกิจกรรมทางสังคมและนันทนาการรวมถึงผลสัมฤทธิ์ในด้านการ เรียนวิชาการ เช่น วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เป็นต้น
  • 8. 232 3. ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและอนามัย ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยประกอบด้วย 3.1 ประวัติสุขภาพตั้งแต่อดีตและประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว 3.2 พัฒนาการทางร่างกาย ได้แก่ ส่วนสูง น้าหนัก และความสมบูรณ์ทาง ร่างกาย 3.3 บันทึกการสังเกตทางด้านสุขภาพโดยทั่วไป และความบกพร่องทางร่างกาย ของเด็กหากมี เช่น การมองเห็น การได้ยิน การพูด การรับรู้ การได้รับอุบัติเหตุ หรือ ความพิการต่าง ๆ ที่ปรากฏ 3.4 การตรวจสุขภาพ การให้คาแนะนา การบาบัด และความเห็นของแพทย์ 3.5 การบันทึกทางสุขภาพจิต ได้แก่ การยอมรับตนเอง การควบคุมอารมณ์ เป็นต้น 4. ข้อมูลเกี่ยวกับความสนใจ ความชอบ ความไม่ชอบ และการวางแผนของชีวิตใน อนาคต การทราบข้อมูลเกี่ยวกับความสนใจ เจตคติ การวางแผนชีวิตของบุคคลจะช่วยให้ เกิดความเข้าใจตนเองมากขึ้น เพราะความสนใจแสดงถึงความโน้มเอียงในการเลือกหรือไม่ เลือกหรือไม่เลือกการทาสิ่งใดของบุคคล ดังนั้นข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วย 4.1 ความสนใจในด้านการเรียน การเลือกกิจกรรม การทากิจกรรมกับเพื่อน ๆ การเลือกอาชีพ และ การทางานในสังคม เป็นต้น 4.2 แผนการศึกษา และวางแผนในการประกอบอาชีพในอนาคต 4.3 กิจกรรม นันทนาการ และงานอดิเรก 5. ข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ภายนอกโรงเรียน ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์และกิจกรรมภายนอกโรงเรียนประกอบด้วย 5.1 การเป็นตัวแทนโรงเรียนประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแข่งขันทาง วิชาการ การแข่งกีฬา หรือการรณรงค์เพื่อต่อต้านและส่งเสริมกิจกรรมบางอย่าง เป็นต้น 5.2 การมีส่วนร่วม หรือการเป็นสมาชิกของกลุ่มกิจกรรม หรือชุมนุมต่าง ๆ ของ ชุมนุมภายนอกโรงเรียน เช่น ชุมนุมรักษาป่า หรือกลุ่มส่งเสริมการรักษาความสะอาด ท้องถิ่น 5.3 การทางานเพื่อหารายได้พิเศษ เช่น หลังเลิกเรียน นอกเวลาเรียน ช่วง วันหยุด หรือระหว่างปิดภาคเรียนไปทางานตามความสามารถที่ตนเองมี เช่น เป็นล่ามนา นักท่องเที่ยวชมสถานที่ต่าง ๆ หรือพนักงานต้อนรับในห้องอาหารของโรงแรม เป็นต้น
  • 9. 233 5.4 การเดินทางท่องเที่ยวหรือทัศนศึกษา อาจเป็นการเดินทางไปกับครอบครัว หรือกับเพื่อน ๆ 5.5 การทางานอดิเรกและกิจกรรมที่ทาในเวลาว่างเพื่อการพักผ่อนและบันเทิง 6. ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคม การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคมนับว่าเป็นเรื่องที่ ค่อนข้างยากพอสมควร เพราะเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและสลับซับซ้อน เนื่องจาก พัฒนาการในแต่ละด้านของแต่ละช่วงวัยที่ผ่านมา มักมีเหตุการณ์ที่หลากหลายผ่านเข้ามา ชีวิตของแต่ละบุคคล ดังนั้น นักวิชาการและนักจิตวิทยาจึงมีความคิดในเรื่องนี้ว่าควรมี เกณฑ์ในการพิจารณาวุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม ได้แก่ 6.1 ลักษณะนิสัยในการทางาน เช่น ชอบอิสระ ชอบทางานตามลาพัง หรือชอบ ให้มีการกากับดูแล 6.2 ความรับผิดชอบเกี่ยวกับพฤติกรรมและความประพฤติของตนเอง 6.3 ความสนใจที่แท้จริงในสิ่งที่ทาให้ชีวิตน่าสนใจและท้าทาย 6.4 ทักษะในการร่วมแสดงความคิดเห็นและการฟังอย่างมีวิจารณญาณ 6.5 ลักษณะนิสัยที่แสดงถึงความสุภาพอ่อนน้อม 6.6 เจตคติที่เกี่ยวกับการใช้เหตุผลและอานาจ 6.7 แรงจูงใจและความพึงพอใจที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น 6.8 ความปรารถนาที่จะเข้ามามีส่วนร่วมและเสริมสร้างกิจกรรมของกลุ่ม 6.9 การให้ความร่วมมือกับกลุ่มด้วยจิตใจและการลงมือกระทา 6.10 การใช้เทคนิคเพื่อเป็นที่ยอมรับในการเสริมสร้างกิจกรรมในกลุ่ม ข้อมูลในแต่ละประเภทที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าเป็นข้อมูลที่ช่วยให้สามารถ มองภาพลักษณ์ของบุคคลทั้งหมดอย่างชัดเจน และสามารถเป็นพื้นฐานในการพิจารณา การทานาย เพื่อหาทางป้องกันหรือส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา เกิดความเจริญก้าวหน้า และ สามารถวินิจฉัยเพื่อหาทางช่วยเหลือแก้ไขได้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคุณค่าของข้อมูลเป็นรายบุคคล การพิจารณาคุณค่าข้อมูลของบุคคลที่ได้เก็บรวบรวมมาว่ามีคุณค่ามากน้อย เพียงใดนั้นควรคานึงถึงเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา 8 ประการ คือ 1. มีความถูกต้องแม่นยา และเชื่อถือได้ (Accuracy and Reliability) เกณฑ์ในข้อนี้ หมายความว่า ข้อมูลที่รวบรวมมานั้นมีความคงที่และแน่นอนไม่เปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเก็บ
  • 10. 234 รวบรวมกี่ครั้งก็ตาม โดยการตรวจสอบโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเดิมซ้า ๆ หรือหลายครั้ง ก็ตาม อาจตรวจสอบกับข้อมูลเดียวกันที่ได้มาโดยวิธีอื่น 2. มีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง ข้อมูลที่ได้มานั้นถูกต้องสมจริงและ สามารถวัดได้ตรงวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ เช่น ต้องการทราบความสนใจในการเรียนวิชา ต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้สามารถบอกได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรียนวิชาอะไรบ้าง ได้อย่างถูกต้อง 3. มีความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง ข้อมูลนั้นมีลักษณะเป็นกลางโดยไม่มี ความคิดเห็นหรือความรู้สึกส่วนตัวของผู้ศึกษาเข้ามาเกี่ยวข้อง ข้อมูลตรงกับความเป็นจริง และให้ข้อเท็จจริงได้ ทุกอย่าง และมีความแจ่มชัดในความหมาย วิธีการ และการแปล ความหมาย 4. มีการบอกวัน เวลา และสถานที่ชัดเจน (Time and Place) หมายถึง วัน เวลา ของข้อมูลที่ได้มาจากที่ใด วันใด และเวลาใด เพื่อประโยชน์ในการจัดลาดับข้อมูล และช่วย ให้การแปลความหมายได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้พฤติกรรมบางอย่างมีความสัมพันธ์กับ องค์ประกอบเหล่านี้เพราะวัน เวลา และสถานที่เปลี่ยนไป ทาให้ทราบถึงเรื่องราวในอดีต และมองเห็นบางสิ่งบางอย่างได้ในอนาคต 5. มีลักษณะสะสมและกว้างขวาง (Cumulative and Development) หมายถึงข้อมูล ที่มีการศึกษาและรวบรวมมาได้อย่างกว้างขวางและสะสมเป็นระยะ ๆ เรื่อยมา ในเวลาที่ ยาวนานพอที่จะทาให้เห็นความเจริญงอกงามและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของบุคคลได้ อย่างกว้างขวาง ดังนั้นข้อมูลนี้จะทาให้มองเห็นและเข้าใจถึงความเจริญก้าวหน้าของเขาได้ เป็นอย่างดี 6. มีความเหมาะสมในการนาไปใช้ (Practicality) หมายถึง การนาวิธีการศึกษาและ รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่จะนาไปใช้นั้นมีการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายหรือไม่ รวมไปถึงคู่มือชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้และการแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาได้ อย่างชัดเจน 7. มีการเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม (Comparison) หมายถึงข้อมูลนั้น ช่วยให้เห็นความแตกต่างของบุคคลในแต่ละกลุ่ม ทั้งการเปรียบเทียบในความเปลี่ยนแปลง ในตนเอง และเปรียบเทียบในความแตกต่างของบุคคลกับบุคคลอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกัน จึง จะช่วยให้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงในตนเองและความแตกต่างระหว่างบุคคลได้อย่าง ชัดเจน และสามารถวางโครงการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 8. ความสามารถเพิ่มความเข้าใจในตัวบุคคลมากขึ้น (Understanding) หมายถึง ข้อมูลที่มานั้นช่วยให้เกิดความเข้าใจในตัวบุคคลมากยิ่งขึ้น เช่น รู้ถึงความถนัด ความสนใจ ดังนั้นจึงควรเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เนื่องจากการได้ข้อมูลเกี่ยวกับ
  • 11. 235 บุคคลในแต่ละครั้งไม่ได้ทาให้รู้จักเขาตลอดไป เพราะมีเงื่อนไขต่าง ๆ มาเกี่ยวข้องมากมาย จึงจาเป็นต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อให้เป็นปัจจุบันซึ่งจะทาให้รู้จัก และเข้าใจเด็กได้อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง ข้อควรคานึงในการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลได้สาเร็จตรงกับวัตถุประสงค์และมีคุณค่านั้นเพียงใด ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ 1. การเห็นความสาคัญของข้อมูล หากบุคคลที่เกี่ยวข้องในฝ่ายต่างๆเห็นถึง ความสาคัญของข้อมูลที่ควรได้รับการเก็บรวบรวมนั้น ย่อมจะให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง และเต็มใจโดยเฉพาะกรณีที่มีการใช้เครื่องมือต้องปฏิบัติตามข้อแนะนาอย่างเคร่งครัด 2. เครื่องมือและกลวิธีที่จะนามาใช้ศึกษาเครื่องมือที่ใช้จะต้องมีความหลากหลาย เพราะว่าเครื่องมือแต่ละอย่างอาจจะมีข้อจากัดในการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละประเภท ในการศึกษาข้อมูลของบุคคลนั้นเราจาเป็นต้องทราบข้อมูลจากหลายส่วน ดังนั้นจะต้องใช้ เครื่องมือที่มีความเหมาะสมกับข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด 3. การเก็บรายละเอียดของข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ไม่ควรมีการคาดหวังหรือกังวล ว่าจะต้องเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเด็กมากน้อยเพียงใด เพียงแต่คาดว่าอย่างน้อยก็น่าจะ ช่วยให้เข้าใจเด็กได้ดีขึ้น 4. การเลือกใช้เครื่องมือและกลวิธีในการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลของบุคคล ครู อาจารย์ ผู้แนะแนว หรือผู้ให้คาปรึกษา ควรพิจารณาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความ จาเป็นของแต่ละบุคคล เครื่องมือและกลวิธีแต่ละชนิดนั้นไม่สามารถใช้อย่างเดียวกันกับทุก คนได้ 5. การเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคล นอกจากการเก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียด เกี่ยวกับตัวบุคคลแล้ว ควรคานึงถึงสภาพแวดล้อมทางบ้านของเขาด้วย เพื่อจะได้รู้จักและ เข้าใจอย่างถูกต้องมากขึ้น 6. การมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลให้เต็มที่ เป็นข้อสาคัญที่ควรตระหนัก เพราะจะเพิ่มความพยายามแก่ผู้ศึกษาในการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลในทุกทาง เพียงเพื่อให้เขา รู้จักตัวเองและเข้าใจตนเองได้ดีขึ้น สามารถพิจารณาตัดสินใจเพื่อจะกระทาใด ๆ ได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม 7. ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคล ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคล จาเป็นจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย เพราะการได้ข้อมูลจากฝ่ายใด
  • 12. 236 ฝ่ายหนึ่งอาจจะได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจากการมีอคติ หรือความไม่รู้ จริง รวมไปถึง การบิดเบือนด้วย 7.1 การให้ข้อมูลประกอบการศึกษาจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียว อาจจะ ทาให้ได้ข้อมูลคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงอาจจะเกิดจากสาเหตุดังนี้ 7.1.1 ผู้ให้ข้อมูลบางคน เช่น บิดามารดา หรือผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ขาด ความใกล้ชิดจึงทาให้รู้จักเด็กไม่เพียงพอ 7.1.2 การดารงชีวิตและปฏิบัติตนของคนแต่ละรุ่นมีความแตกต่างกัน ทา ให้ผู้ที่เคร่งครัดในกฎระเบียบ ประเพณี ไม่เข้าใจ และไม่ยอมรับพฤติกรรมของเขา 7.1.3 การมีอคติเนื่องมาจากความรัก หรือความคิดเห็นที่แตกต่างกันไป จากเกณฑ์มาตรฐานของตน 7.2 การที่ข้อมูลของบุคคลมีความคลาดเคลื่อนอาจจะมีสาเหตุดังนี้ 7.2.1 บุคคลส่วนมากมักจะปกปิดความลับของตนเองเอาไว้ ไม่เปิดเผย ความจริงบางประการให้ผู้อื่นรู้ และบางคนอาจจะเสแสร้งแสดงพฤติกรรมที่ตรงกันข้ามกับ ความรู้สึกและอุปนิสัยที่แท้จริงด้วย 7.2.2 โดยทั่วไปบุคคลมักจะมีความลาเอียงเข้าข้างตนเองเสมอว่า ตนนั้น เป็นคนดี 7.2.3 บางคนอาจจะบิดเบือนข้อมูลโดยความไม่รู้และเข้าใจอย่างแท้จริง เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผู้ทาการศึกษาจะต้องถาม ตัวเองตลอดเวลาว่า - ตนเองมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ในการนามาใช้ศึกษา และรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลนั้นดีเพียงใด และเหมาะสมกับเขามากน้อยเพียงใด - ตนเองรู้จักและเข้าใจเด็กได้ละเอียดและลึกซึ้งเพียงใด - ตนเองรู้จักและเชื่อถือเครื่องมือและวิธีการนามาใช้มากน้อยเพียงใด - ตนเองได้เตรียมการและวางแผนดาเนินการเป็นอย่างดีหรือไม่ในการศึกษาเพื่อ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้รู้จักเด็ก และให้เด็กเข้าใจตนเองดีหรือไม่ - ตนเองพร้อมที่จะอุทิศเวลา แรงกายแรงใจในการศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลมากน้อยเพียงใด เพราะต้องมีภาระเพิ่มมากขึ้นด้วยจาเป็นต้องใช้เวลาทั้งนอกและในราชการต้องดูแลรักษา สุขภาพกายและสุขภาพจิตให้อยู่ในภาวะที่สมบูรณ์ตลอดเวลา 4. การดาเนินการศึกษารายกรณี ในการศึกษารายกรณีมีกระบวนการดาเนินการดังต่อไปนี้
  • 13. 237 1. การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณี 2. ผู้ที่รับผิดชอบในการศึกษารายกรณี 3. ลาดับขั้นของการทาการศึกษารายกรณี 3.1 ขั้นรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับตัวบุคคล 3.2 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล 3.3 ขั้นวินิจฉัยข้อมูล 3.4 ขั้นสังเคราะห์ข้อมูล หรือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม 3.5 ขั้นให้ความช่วยเหลือ 3.6 ขั้นติดตามผล การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณี ในการเลือกบุคคลสามารถเลือกได้หลายประเภทไม่จาเป็นต้องเลือกเฉพาะบุคคล ที่มีปัญหาเท่านั้นอาจเป็นบุคคลที่ปกติหรือบุคคลที่ประสบผลสาเร็จในชีวิตก็ได้ไม่ว่าจะเป็น การศึกษาหรืออาชีพการงานดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการศึกษาว่าต้องการทราบ เกี่ยวกับเรื่องอะไร และจะต้องการให้ความช่วยเหลือหรือแก้ปัญหาในเรื่องใดกล่าวโดยสรุป การเลือกบุคคลเพื่อทาการศึกษารายกรณีควรพิจารณาบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. บุคคลที่ประสบผลสาเร็จทางการศึกษาหรือด้านอาชีพการงาน 2. บุคคลที่มีความสามารถพิเศษบางอย่าง 3. บุคคลที่มีปัญหามาก เช่น ปัญหาส่วนตัว ปัญหาในการทางาน ปัญหาใน การปรับตัว หรือปัญหาในการศึกษาเล่าเรียน 4. บุคคลที่มีความทะเยอทะยานมีใจหนักแน่น มีกาลังใจเข้มแข็งในการเอาชนะ อุปสรรค 5. บุคคลที่เรียนอ่อนไม่สามารถทางานในระดับที่เรียนอยู่ได้ 6. บุคคลที่มีพฤติกรรมดีเด่นสมควรเป็นแบบอย่างในสังคม 7. บุคคลที่มีพฤติกรรมปกติทั่วไป ผู้ที่รับผิดชอบในการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีเป็นหน้าที่ของผู้ที่ทาหน้าที่แนะแนวผู้ให้คาปรึกษาหรือผู้ให้ การบาบัดรักษาสุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับรายกรณีที่ถูกศึกษาโดยตรง เนื่องจากใกล้ชิด มี ข้อมูลในเบื้องต้นอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งได้แก่ นักเรียน นักศึกษา บุคคลในหน่วยงานต่าง ๆ หรือ ผู้ป่วย เป็นต้น โดยมีการทางานระหว่างผู้ทาการศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องกับรายกรณีที่ถูก
  • 14. 238 ศึกษาทุกคน จึงเป็นเรื่องของการทางานเป็นทีมเพื่อรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง รวมทั้ง รายละเอียดต่าง ๆ ให้สมบูรณ์และครอบคลุมในทุก ๆ ด้านที่เป็นของตัวเขา ข้อมูลและ รายละเอียดนั้นผู้ทาการศึกษารายกรณีต้องทาหน้าที่ประสานและเก็บรักษาข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบและมีระเบียบสะดวกนามาใช้อ้างอิงได้ ลาดับขั้นของการทาการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีโดยทั่วไปได้มีการแบ่งเป็นขั้นตอนเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์โดยมีการดาเนินการตามลาดับดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับบุคคล (Collecting of the Necessary Data) ขั้นการรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นแรกของผู้ทาการศึกษารายกรณี โดยใช้กระบวนการที่ กล่าวไว้ใน เบื้องต้นเรื่องการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลนั้น เพื่อช่วยให้รู้จักรายกรณีที่ถูก ศึกษา รวมไปถึง การช่วยให้ทราบภาวะความเป็นไปในปัจจุบันของบุคคลผู้นั้นด้วย สาหรับ แหล่งข้อมูลที่สาคัญที่ผู้ทาการศึกษารายกรณีควรให้ความสนใจ ได้แก่ 1.1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกต้อง ได้แก่ รายละเอียดเกี่ยวกับ ครอบครัว ประวัติการศึกษา ประวัติสุขภาพอนามัย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะได้มาจากระเบียน สะสม 1.2 การสังเกตรายกรณีที่ศึกษาในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะในขณะที่เด็กทา กิจกรรมหรือทางานทั้งในห้องเรียนหรือนอกห้องเรียน เพื่อให้ทราบสัมพันธภาพทางสังคม และการปรับตัวกับผู้อื่นในการสังเกตแต่ละครั้งควรมีการจดบันทึกการสังเกตทั้งในรูปของ ระเบียนพฤติการณ์และมาตรส่วนประมาณค่าเพื่อจะได้เปรียบเทียบกับผลของ การเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏในแต่ละช่วงเวลาที่ผ่านไป 1.3 การสัมภาษณ์รายกรณีที่ถูกศึกษา อาจจะเป็นการนัดหมายมาพูดคุย หรือ อาจพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการในขณะที่เขากาลังทากิจกรรมอยู่ หรือช่วงเวลาที่พบใน บางครั้งในแต่ละวัน ในการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการจะช่วยให้บุคคลนั้นกล้าแสดงออก ซึ่ง จะทาให้ได้ข้อมูลจริงและน่าเชื่อถือ 1.4 การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและรู้จักกับผู้ที่เป็นรายกรณี เช่น บิดา มารดา ญาติ พี่น้อง ครู อาจารย์ เพื่อน หรือบุคคลอื่น ๆ ที่คาดว่าจะสามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมได้ และจะทาให้ ข้อมูลมีความชัดเจนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 1.5 การเยี่ยมบ้าน หากรายกรณีที่ถูกศึกษาเป็นนักเรียน ส่วนมากครูอาจารย์ หรือ ผู้แนะแนวมักเห็นและรู้จักในขณะที่อยู่ในโรงเรียน และพฤติกรรมที่แสดงออกของ นักเรียนบางอย่างมีผลมาจากทางบ้าน ดังนั้นการได้มาเยี่ยมบ้านจึงทาให้เห็นสภาพ
  • 15. 239 ครอบครัวและสัมพันธภาพภายในครอบครัวระหว่างนักเรียนและบุคคลภายในครอบครัว รวมไปถึงการได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสมาชิกในครอบครัวของเขาด้วย ถือว่าเป็น การสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ทาการศึกษาและสมาชิกในครอบครัวซึ่งจะส่งผลให้ได้รับ ความร่วมมือจากพวกเขาในการให้ข้อมูลเพิ่มภายหลังหากจาเป็น 1.6 การศึกษาข้อมูลจากอัตชีวประวัติ บันทึกประจาวัน และผลงานในลักษณะ อื่น ๆ เช่น การทางานด้วยความเอาใจใส่ ประณีต ละเอียด เป็นระเบียบเรียบร้อย หรือมี ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี 1.7 ข้อมูลจากแบบสอบถามชนิดต่าง ๆ ที่ได้รับการตอบของรายกรณีที่ถูกศึกษา นับเป็นข้อมูลที่มักจะได้รับทราบความรู้สึก ความคิดเห็น ความสนใจ หรือค่านิยมของราย กรณีที่มีต่อตนเองและผู้อื่น 1.8 ข้อมูลจากการทดสอบต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบความสนใจ แบบทดสอบ ความถนัด แบบทดสอบสติปัญญา แบบทดสอบบุคลิกภาพ หรือแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เป็นต้น 1.9 การศึกษาข้อมูลจากเครื่องมือและกลวิธีในการศึกษา ผู้ทาการศึกษาควร นามาใช้ให้เหมาะสมถูกต้อง และสอดคล้องกับสภาพการณ์ ขั้นที่ 2 ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) ข้อมูลที่ได้รวบรวมมาด้วยวิธีการต่าง ๆ ผู้ทาการศึกษาจะต้องนาข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ข้อเท็จจริง แล้วจัดแยกออกเป็นด้าน ๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกและง่ายต่อการทาความเข้าใจหรือตีความหมายข้อมูลเกี่ยวกับราย กรณีที่ถูกศึกษา ขั้นที่ 3 ขั้นวินิจฉัยข้อมูล (Diagnosis) ขั้นนี้เป็นขั้นตอนที่สาคัญ เพราะเป็นการนา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นที่ 2 มาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาในการวินิจฉัยว่าอะไรคือ สาเหตุแห่งปัญหา การลงความเห็นเกี่ยวกับปัญหานี้อาจเป็นเพียงชั่วคราว เพื่อให้เป็นเพียง พื้นฐานของการสังเคราะห์ข้อเท็จจริงในขั้นต่อไปเท่านั้น จึงไม่ใช่ข้อยุติ หรือข้อสรุปแต่อย่าง ใด เนื่องจากการวินิจฉัยสาเหตุที่มาของปัญหาได้อย่างถูกต้องชัดเจน จนทาให้สามารถ ช่วยเหลือรายกรณีที่ถูกศึกษานั้นได้ ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ทากันได้ง่าย ๆ ถ้ามีการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างหยาบ ๆ หรือไม่ละเอียด รอบคอบ อาจจะนาไปสู่การแก้ปัญหาที่ ไม่ถูกต้องได้ ขั้นที่ 4 ขั้นการสังเคราะห์ข้อมูลหรือขั้นรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม (Synthesis) เนื่องจากในขั้นของการวินิจฉัยปัญหานั้น บางครั้งมีการดาเนินการช่วยเหลือแต่ยังไม่ สามารถคลี่คลายปัญหาได้ โดยพบว่าส่วนหนึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากข้อมูลที่ได้มานั้นไม่ เพียงพอ หรือขาด ความชัดเจน จึงจาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ด้วยการศึกษา
  • 16. 240 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหานั้นเพิ่มเติม ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ หรือกลวิธีอื่น ๆ แล้วนาข้อมูลที่เพิ่มมานั้นสังเคราะห์เข้าด้วยกันกับข้อมูลเดิม ซึ่งจะช่วยให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแต่ละด้าน แล้วจะเกิดเป็นภาพรวมทางบุคลิกภาพของเขา ในการที่จะช่วยให้ผู้ทาการศึกษาเข้าใจลักษณะของปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้อย่าง ชัดเจน ขั้นที่ 5 ขั้นให้ความช่วยเหลือ (Treatment) ก่อนให้ความช่วยเหลือจะต้องแน่ใจว่า การวินิจฉัยปัญหานั้นมีความถูกต้อง จากนั้นจึงพิจารณาวิธีการช่วยเหลือด้วยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม หรืออาจจะมีการกาหนดแนวทางหลักแนวทางรองไว้ก็ได้ แล้ว ดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดอย่างจริงจัง จึงจะช่วยให้ประหยัดทั้งแรงงานและเวลา เพราะบางประเด็นอาจจะไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ บางทีอาจจะทาให้แนวทางหลัก ไม่สามารถช่วยเหลือหรือแก้ไขได้ จึงจาเป็นจะต้องใช้แนวทางรองมาดาเนินการ ถ้ายังไม่ สามารถแก้ไขปัญหาได้จะต้องมีการทบทวนและ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมประกอบ เพื่อหา แนวทางช่วยเหลือต่อไป ขั้นที่ 6 ขั้นติดตามผล (Follow – up) เมื่อผู้ทาการศึกษาได้ให้ความช่วยเหลือหรือให้ การแก้ไขปัญหาไปแล้ว ขั้นสุดท้ายของการศึกษารายกรณีก็คือ ขั้นติดตามผล การติดตาม ผลนั้นจะทาให้เราทราบว่า ปัญหานั้นลดน้อยลงไปหรือไม่เพียงใด มีข้อบกพร่องที่จะ ปรับปรุงอย่างไรบ้าง จะต้องให้การช่วยเหลือเพิ่มขึ้นหรือไม่ และเขาสามารถปรับตัวใช้ชีวิต อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขเพียงใด นอกจากนี้ยังเป็นการติดตามผลเพื่อให้การช่วยเหลือ หรือแก้ไขปรับปรุงในรายกรณีที่ถูกศึกษายังได้รับการดาเนินการช่วยเหลือไม่สมบูรณ์ หรือ ยังได้รับการช่วยเหลือที่ไม่ถูกต้อง แหล่งข้อมูลที่ศึกษารายกรณี ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อทาการศึกษารายกรณีนั้น ต้องคานึงถึงแหล่งที่สาคัญของ ข้อมูลซึ่งผู้ทาการศึกษาควรให้ความสนใจอย่างยิ่ง ซึ่ง ได้แก่ 1. ระเบียนสะสม เป็นเอกสารที่มีสถานที่อยู่ วัน เดือน ปี เกิด ชื่อบิดา มารดา เชื้อ ชาติ สัญชาติ ของบิดามารดา รายการเกี่ยวกับสุขภาพ ความถนัด ความสนใจ และคะแนน ของวิชาต่าง ๆ ที่ได้ 2. ระเบียนพฤติการณ์หรือระเบียนพฤติกรรม เป็นเอกสารที่มีข้อมูลได้จาก การสังเกตของผู้ดาเนินการศึกษารายกรณี บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรมของราย กรณีที่ถูกศึกษาที่มองเห็นได้ในขณะสังเกต
  • 17. 241 3. การสัมภาษณ์ อาจจะใช้วิธีการแบบเป็นทางการ โดยวิธีทาการพูดคุยระหว่าง ผู้ทาการศึกษาและเด็กที่ถูกศึกษาในแต่ละวัน หรือพูดคุยกันระหว่างผู้ทาการศึกษาและ บุคคลอื่นที่รู้จักกับรายกรณีที่ถูกศึกษาก็ได้ 4. การเยี่ยมบ้านโดยการเดินทางไปพูดคุยกับทางครอบครัวของรายกรณีที่ถูก ศึกษาเป็นการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ไปพร้อม ๆ กัน 5. การสังเกตในโรงเรียนหรือในที่ทางาน เช่น ในห้องเรียนในห้องทางานในสถานที่ ต่าง ๆ ที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรม หรือในงานสังคม รวมไปถึงสถานการณ์อื่น ๆ เป็นต้น 6. ผลการทดสอบต่าง ๆ เช่น สติปัญญา ความฉลาดทางอารมณ์ ความถนัด ความสนใจฯลฯ 7. ผลการทาสังคมมิติ 8. อัตชีวประวัติ 9. บันทึกรายวันหรืออนุทิน 10. แบบสอบถามที่ผู้ถูกศึกษาตอบด้วยตัวเอง ในการรวบรวมข้อมูลหรือรายละเอียดเกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกศึกษานั้น ผู้ทา การศึกษา รายกรณีควรพยายามรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทา ได้ และหากเป็นข้อมูลที่กว้างและมากเท่าใดย่อมจะช่วยทาให้เราเข้าใจเด็กได้มากขึ้น และ สามารถวินิจฉัยปัญหาได้อย่างถูกต้องมากขึ้นด้วย 5. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีให้สาเร็จสมบูรณ์ด้วยดีนั้น ผู้ทาการศึกษารายกรณีจาเป็นต้อง ใช้เทคนิคและเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภทด้วยกัน จะใช้ ประเภทใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูล เพราะเครื่องมือแต่ละประเภท จะมีทั้งข้อดีและข้อจากัด ไม่มีวิธีการใดที่จะมีความสมบูรณ์ในตัวเอง ผู้ทาการศึกษาจะต้อง ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ และทักษะในเรื่องเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล อย่างไรก็ตามมีการแบ่งเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณีไว้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. เทคนิควิธีที่ไม่ใช่แบบทดสอบ (Non – Test Techniques) เทคนิคและเครื่องมือที่ ไม่ใช่ลักษณะแบบทดสอบนี้จาแนกตามลักษณะของเทคนิคและเครื่องมือที่ใช้กันส่วนมาก ได้แก่ 1.1 การสังเกต (Observation) 1.2 ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal Recording)
  • 18. 242 1.3 ระเบียนสะสม (Cumulative Record) 1.4 การสัมภาษณ์ (Interview) 1.5 อัตชีวประวัติ (Autobiography) 1.6 บันทึกประจาวัน (Diary) 1.7 มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 1.8 สังคมมิติ (Sociometry) 1.9 การเยี่ยมบ้าน (Home visitation) 1.10 แบบตรวจสอบ (Checklist) 1.11 แบบสอบถาม (Questionnaire) 1.12 การตรวจสุขภาพและบันทึกสุขภาพ (Health Examination and Health Record) 2. เทคนิคและเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบ (Test Techniques) เทคนิคและ เครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบนี้จาแนกตามลักษณะของเทคนิคและเครื่องมือที่ผู้ทาการศึกษา รายกรณีใช้ ได้แก่ 1.1 แบบทดสอบสติปัญญา (Intelligence Test) 1.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test) 1.3 แบบทดสอบความสนใจหรือแบบสารวจความสนใจ (Interest Test or Interest Inventory) 1.4 แบบทดสอบบุคลิกภาพ (Personality Test) 1.5 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Test) 6. ปัญหาของบุคลที่ควรศึกษารายกรณี บุคคลวัยต่าง ๆ ในสังคมย่อมประสบเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดความรู้สึกพอใจ และไม่พอใจ ซึ่งส่งผลสะท้อนให้เห็นพฤติกรรม และผลดังกล่าวจะส่งผลต่อการปรับตัวของ บุคคลนั้น ๆ จนก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้นมาได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางการศึกษา ปัญหา ในการทางาน ปัญหาเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ดังนั้นผู้ที่ช่วยเหลือบุคคลเหล่านี้ต้องเอาใจใส่ต่อ ความเป็นอยู่ของเขาเพื่อให้เข้าใจและวินิจฉัยสาเหตุของพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง สาหรับปัญหาที่ควรได้รับการศึกษารายกรณี แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ 6 ประเภท ดังนี้ 1. ปัญหาทางด้านร่างกายและสุขภาพ บุคคลบางคนอาจจะมีความผิดปกติทาง ร่างกายมาแต่กาเนิด จึงทาให้รู้สึกว่าเกิดเป็นปมด้อยของตน และอาจจะมีผลต่อพฤติกรรม
  • 19. 243 ที่อาจจะไม่เหมือนคนอื่นหรือไม่ปกติ และยิ่งมีปฏิกิริยาตอบโต้มากขึ้นหากถูกเพื่อน ล้อเลียน หรือบางคนมีโรคประจาตัวที่ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตเป็นปกติได้เช่นคนอื่น 2. ปัญหาด้านการศึกษา ส่วนใหญ่ปัญหาการศึกษาสืบเนื่องมาจากปัญหาทาง สุขภาพ เพราะจะทาให้เด็กคิดมาก วิตกกังวลท้อแท้ รู้สึกไม่มั่นใจในตนเอง รู้สึกอับอายใน บุคลิกภาพของตน นอกจากนี้อาจจะมาจากการอบรมเลี้ยงดู หรือประสบการณ์ในชีวิตที่ ผ่านมา เช่น การได้รับ การอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวด ที่ทาให้เป็นคนเก็บกดและแสดง อาการก้าวร้าว ไม่มีความมั่นใจในตนเอง และไม่สามารถปรับตัวเข้ากับคนอื่นได้ง่าย หรือ บางคนได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยหรือตามใจ ก็จะทาให้เป็นคนที่ขาดระเบียบ วินัย เป็นคนที่เอาแต่ใจตนเอง ไม่นึกถึงใครนอกจากตนเอง ด้วยลักษณะที่ไม่เหมาะสม ดังกล่าว ทาให้เกิดผลกระทบต่อการศึกษาเล่าเรียน จนทาให้เกิดปัญหาทางด้านการศึกษา ทั้งปัจจุบัน และอนาคตได้ 3. ปัญหาด้านบุคลิกภาพ การเข้าใจตนเองอย่างถูกต้องตามความเป็นจริงทั้งใน เรื่องความเด่นและความด้อยของบุคคลนั้น จะมีผลต่อการปรับตัวและการยอมรับสภาพ ของตนเองมาก เพราะจะทาให้เขาพยายามปรับปรุงและพัฒนาความสามารถของตนและ ลบจุดด้อยนั้น และกล้าแสดงออกถึงความเด่นของตนด้วยศักยภาพที่มีอยู่ แต่ยังมีบุคคลที่ มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือเกิดความรู้สึกในด้านลบต่อตนเองก็จะทาให้ไม่กล้าแสดง ตน โดยจะเก็บตัวหรือหาทางออกในลักษณะที่สังคมไม่ยอมรับ เพื่อเรียกร้องความสนใจ ส่วนมากบุคคลที่กล่าวมา ได้แก่ พวกที่มาจากครอบครัวที่มีปัญหา และมักขาดความมั่นคง ในจิตใจ 4. ปัญหาด้านอาชีพ ความพร้อมในปัจจัยต่าง ๆ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพ ของบุคคล จะพบว่าหลายคนมักจะประสบปัญหาในการตัดสินใจเลือกอาชีพ เพราะ ข้อจากัดในด้านบุคลิกภาพ หรือสุขภาพร่างกาย หรือความสามารถทางด้านการศึกษา นอกจากนี้อาจเนื่องมาจากการขาดข้อมูลข่าวสารในการใช้ประกอบการตัดสินใจ ในสังคม ยุคแห่งการแข่งขันสูง เช่น ในปัจจุบันในสังคมมีคนจานวนมากที่ทางานที่ไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถของตนเอง บางคนทางานเพราะต้องจาเป็นต้องเลือกไว้ก่อน ไม่เช่นนั้นจะ พลาดโอกาสได้งานทาซึ่งจะรอคอยที่ตรงกับที่เรียนมาไม่ได้ ด้วยความจาเป็นต้องช่วยเหลือ ครอบครัว บางคนทางานเพราะปฏิบัติตามบิดามารดา การทางานที่ไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถและความถนัดก็จะทาให้เกิดปัญหาได้เช่นเดียวกัน ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ที่ทาให้เกิดปัญหาทางด้านอาชีพได้ 5. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ในด้านทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน ทุนทรัพย์ที่ต้องใช้ จ่ายในครอบครัวของบุคคลนั้นเป็นเรื่องจาเป็นมากทั้งสองอย่าง ดังนั้นหากมีความพร้อมก็
  • 20. 244 จะเป็นการสนับสนุนให้มีการดารงชีวิตที่เป็นปกติ แต่หากมีปัญหาก็ย่อมส่งผลต่อชีวิตได้ไม่ น้อย จะเห็นว่าบุคคลที่ขาดทุนทรัพย์ก็จะขาดโอกาสดี ๆ ในชีวิตโดยเฉพาะบุคคลในวัยเด็ก ที่ควรต้องได้รับอาหารสุขภาพอาหารสมองจึงจะทาให้เขามีการพัฒนาการให้สมบูรณ์ทั้ง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เป็นบุคคลวัยทางานที่มีประสิทธิภาพเต็ม ไปด้วยความรู้ความสามารถ ในการสร้างประโยชน์ให้แก่ตน ครอบครัว และสังคมได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเด็กขาดอาหารทั้งอาหารกายอาหารสมอง ย่อมจะทาให้เขามีสุขภาพ ที่ไม่แข็งแรง สมองไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร ด้วยเศรษฐกิจที่ไม่ดีเขาอาจจะเป็นคนที่ไม่ มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งมีผลเสียต่อสังคมและประเทศชาติ เพราะจะมีประชากรที่ไร้ความรู้ ความสามารถ จึงสมควรอย่างยิ่งที่บุคคลที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจควรได้รับการช่วยเหลือ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 6. ปัญหาด้านสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีผลต่อบุคคลในสังคมยุคปัจจุบัน นี้มากขึ้น เพราะจะทาให้เกิดความสลับซับซ้อนและสิ่งจูงใจในสังคมที่บ่อนทาลาย วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาติ มีผลทาให้จิตใจของคนส่วนใหญ่ในปัจจุบันเปลี่ยนไป จากการมีความเห็นอกเห็นใจกัน มีน้าใจให้กันและกัน มาเป็นการอยู่แบบตัวใครตัวมัน มีแต่ ความเห็นแก่ได้เห็นแก่ตัว เอาเปรียบซึ่งกันและกัน ใครมีเงินจะทาให้มีโอกาสและอานาจ จึง ส่งผลให้สังคมมีปัญหา เพราะบุคคลในสังคมมีค่านิยมทางวัตถุ เกิดสภาพจิตใจที่ไม่ดี เกิด ความคับข้องใจเกิดความขัดแย้งใจ ความกลัว ความวิตกกังวลกันมากขึ้น ส่งผลให้คนไทย มีสุขภาพจิตเสื่อมขึ้นทุกปี ดังจะเห็นจากข่าวที่มีคนฆ่าตัวตายทุกวัน และสถิติการเพิ่ม จานวนผู้ป่วยทางจิตจากโรงพยาบาลจิตเวชทุกแห่ง จึงจาเป็นที่นักจิตวิทยาจาก โรงพยาบาลจิตเวชทุกแห่ง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือแก่สังคมมากขึ้น 7. ขอบข่ายของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวมในการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณี จาเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลอย่างละเอียดรอบคอบ เพราะต้อง เป็นข้อมูลที่ต้องตรงกับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับรายกรณีที่ถูกศึกษายิ่งละเอียด และถูกต้อง มากเท่าใดก็จะเป็นประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น ด้วยการที่จะได้รับความช่วยเหลือที่ตรงจุด ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ข้อมูลดังกล่าวควรอยู่ในขอบข่ายดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาของรายกรณีที่ถูกศึกษากาลังประสบอยู่ในปัจจุบัน ปัญหา นั้นอาจเกิดจากการค้นพบด้วยตัวเอง หรือถูกค้นพบโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับเขา ไม่ว่าจะเป็น ภายในบ้านหรือนอกบ้าน 2. ภูมิหลังเกี่ยวกับคุณลักษณะของบุคคลในครอบครัว รายกรณีที่ถูกศึกษา หรือ อาจจะถูกเรียกว่าประวัติครอบครัว ควรประกอบด้วยเรื่องราวดังต่อไปนี้