SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
โครงสร้ างฐานราก
งานดินและเสาเข็ม
งานดินและเสาเข็มเป็ นส่ วนประกอบกัน เพื่อให้เกิดความแข็งแรงแก่อาคาร วิศวกรออกแบบจะเป็ นผู ้
คํานวณการรับน้าหนักของเสาเข็ม จะต้องรู ้ค่าความแข็งแรงของพื้นดิน ซึ่งเนื่องมาจากการเจาะดินบริ เวณที่
ก่อสร้างหรื อบริ เวณใกล้เคียง นําดินแต่ละชั้นไปทดสอบในห้องประลองเต่ละภูมิประเทศความแข็งแรงของ
พื้นดินย่อมมีความแตกต่างกัน จึงอนุโลมให้ใช้ค่าความแข็งแรงต่อท้องที่ไม่ได้ โดยเฉพาะบริ เวณที่ราบลุ่ม
แม่นาแถบ กรุ งเทพ ธนบุรี และจังหวัดใกล้เคียง จะมีช้ นดินแตกต่างไม่มากนัก อย่างไรก็ตามเพื่อให้เกิด
้
ั
ความมันคงแข็งแรงแก่อาคสร ควรเจาะดินเพื่อหาค่าความแข็งแรงของดินโดยเฉพาะชั้นหิ นเพื่อให้ปลาย
่
เข็มหยันลงไปอย่างมันคง
่
่
(1) การรับนําหนักดินและเสาเข็ม
้
่
ดังที่กล่าวไว้วาทั้งดินและเข็มมีส่วนร่ วมกันต้านทานนํ้าหนักบรรทุกจากบานรากไว้ แต่การ
คํานวณสามารถออกแบบให้เข็มรับนํ้าหนักเป็ นลักษณะเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กหยิงปลายเสาลงบนหิ นแข็ง
และอาศัยฐานหิ นแข็งรับกลุ่มเสาเข็มไว้เท่านั้น
- การรับนําหนักของดิน
้
ในวิชาการทางปฐพีกลศาสตร์ (Soil mcchanic) ได้กล่าวลักษณะดินที่แตกต่างกัน บางก้อนเล็กมาก
้
้
้
และมีกอนใหญ่กลับ หรื อมีกอนเล็กตลอดและมีกอนใหญ่ตอนปลายเล็กน้อย หรื อเป็ นก้อนเล็กๆ หรื อก้อน
ใหญ่ๆเหมือนกันหมด ลักษณะที่รูปร่ างแตกต่างกันไปด้วย การประกอบจึงย่อมมีความแตกต่างกันไป ชนิด
ของการเรี ยงก้อนเล็กไปก้อนใหญ่ข้ ึนเป็ นลําดับลึก ถือว่าเป็ นดินชนิดดี(Wall Grade) ความแข็งแรงของดิน
่
เพิ่มขึ้น หรื อบางที่ดินมีความแข็งแรงตํ่าเมื่ออยูลึกลงไป ขณะเดียวกันดินที่แช่นาอยูระยะหนึ่ง เมื่อนํ้าลดลง
้ ่
อาจทําให้ดินทรุ ดตัวไปด้วย เรี ยกว่าคอนโซลิเดชัน (Consolidation)
่
ดินที่ได้รับการสันสะเทือนอันเนื่องมาจากเครื่ องจักรหรื อยวดยาน หรื อจากการเจาะตอกในบริ เวณ
่
ใกล้เคียงที่มีการก่อสร้าง หรื ออาจถูกนํ้าใต้ดินกัดเซาะทําลายทําให้ดินพังหรื อทําให้เป็ นช่องโหว่ เหตุ
่
ดังกล่าวสามารถแก้ไขและควบคุมมิให้เกิดการเสี ยหายต่อการก่อสร้างได้ เม้วาจะมีการป้ องกันการทรุ ดตัว
ของดินใต้ฐานรากจากการหาค่าแรงเฉื่ อนของดิน เพื่อกําหนดกําลังรับนํ้าหนักที่ปลอดภัยของดิน ที่ยอมให้
นําไปใช้ในการออกแบบฐานรากของอาคารได้อย่างปลอดภัยการทรุ ดตัวของดินภายใต้น้ าหนักบรรทุกทําให้
ํ
่
ดินเกิดการเสี ยรู ปอันเนื่องมาจากการยืดหยุนของดินและสามารถคืนสภาพเดิมได้เมื่อนํานํ้าหนักบรรทุกออก
ส่ วนการเสี ยรู ปแบบพลาสติก คือ ดินจะทะเล้นไหลเลื่อนออกด้านข้าง เมื่อดินเป็ นลักษณะเป็ นลักษณะนี้
จะไม่สามารถคืนภาพเดิมได้ ส่ วนคอนโซลิเดชันของดินอาจทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านปริ มาตร
่
และโครงสร้างของดินเมื่อนํ้าใต้ดินถูกขับออกมาสังเกตได้จากฐานรากที่ดินทรุ ดตัวแบบพลาสติกมักเกิดขึ้น
ทันทีเมื่อฐานรับนํ้าหนักเป็ นพวกดินเสี ยดทาน เช่น ดินปนทราย ที่มีการซึมผ่านของนํ้าได้ดี ส่ วนดินอัน
เกิดจากคอนโซลิเดชันมักเป็ นดินจําพวกยึดเกาะหรื อดินเหนียว การทรุ ดตัวจะเกิดขึ้นช้าๆโดยเกิด
่
่
ต่อเนื่องกันมาเป็ นปี แม้วาจะขยายฐานให้มีพ้ืนที่มากขึ้นก็ไม่สามารถลดปริ มาณการทรุ ดตัวลงให้อยูใน
ระดับที่ปลอดภัยได้ จึงควรนําเอาวิธีก่รบดอัดดินให้แน่นโดยการทําดินธรรมชาติให้มีคุณสมบัติแข็งแรงขึ้น
ได้ดวยวิธีกล (Mechanical Mcthod) คือการกระแทกด้วยลูกตุม หรื อลูกกลิ้งแกนหมุนนอกศูนย์ หรื อใช้
้
้
บดด้วยลูกกลิ้งตีนแกละสําหรับดินเหนียว หรื อสามารถอัดดินให้แน่นด้วยการใช้เข็มคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
หรื อเข็มทราย เป็ นต้น
สําหรับวิธีทางกายภาพ (Physical Method หรื อ Preconsolidation) คือ การอัดดินคายนํ้า โดยทํา
การลดระดับของนํ้าใต้ดิน ใช้หลุมทรายระบายนํ้าในแนวดิ่งหรื อการใช้กระแสไฟฟ้ า เพื่อช่วยกระบวนการ
คอนโซลิเดชันของดินเหนียวอ่อน เช่น ดินแถบชายทะเลหรื อปากแม่น้ า ส่ วนวิธีทางเคมี (Chemical
ํ
่
Method) ทําโดยให้ความร้อนถึง 800 องศาเซลเซียส ทําให้ดินจับตัวกันด้วยโซเดียมซิลิเกต หรื อเกลือบาง
ชนิด บางทีนาปูนซีเมนต์หรื อบิทูมินสมายึดเกาะดิน หรื อด้วยวิธีเคมีไฟฟ้ า เรี ยก อิเล็กโทรเคมีคอลซอยล์
ํ
ั
สเตบิไลเซชัน (Electrochemical Soil Stabilization)
่
ข้อสังเกตของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ได้กล่าวถึงเรื่ องของดินตะกอนที่เกิดใหม่
่
จะอยูตอนบนในบริ เวณภาคกลางใกล้ปากอ่าวไทย บางแห่งมีช้ นดินหนาถึง 20.00 เมตร วิศวกรออกแบบ
ั
ควรได้มีการทดสอบการรับนํ้าหนักของดินก่อนด้วย
- การรับนําหนักของเข็ม
้
ลักษณะการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม อาจเป็ นการรับนํ้าหนักแต่ละต้น หรื อการให้เข็มรับนํ้าหนัก
เป็ นกลุ่ม (Pile Group) แจ่ขณะเดียวกันระยะของเข็มแต่ละต้นควรไม่นอยกว่า 3 เท่าของเส้นผ่าน
้
ศูนย์กลางของเสาเข็ม (3d) นั้น เพราะเมื่อตอกชิดกันมาก จะเป็ นสาเหตุให้กระเปาะความเค้นสูง (High
Stress Zones)
การรับนํ้าหนักของเสาเข็มมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
- เสาเข็มรับความฝื ด (Friction Piles)
-เสาเข็มรับความฝื ดและปลายเข็ม (Friction and End Bearing Piles)
(2) การเจาะและกดเข็ม
การเจาะดินแล้วหล่อคอนกรี ต ทําได้ท้ งเข็มขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่มีประโยชน์สาคัญคือ ไม่ทาให้
ั
ํ
ํ
อาคารใกล้เคียงกระทบกระเทือนจากการตอก หรื อการทะเล้นของดินไปดันส่ วนของอาคารใต้ระดับพื้นดิน
ทําให้อาคารใกล้เคียงเกิดความเสี ยหาย โดยเฉพาะการใช้เข็มขนาดใหญ่และรับนํ้าหนักมาก มีขอจํากัดต้อง
้
ใช้ระบบการเจาะดิน แล้วหล่อคอนกรี ตเข็มในภายหลังการสอดเหล็กลงไป
่
งานเข็มมีความสําคัญต่องานฐานรากจองอาคาร เมื่อรากฐานแข็งแรงส่ วนบนของอคารจะตั้งอยูได้
อย่างปลอดภัย ซึ่งเกี่ยวพันกับความแข็งแรงของดิน การรับนํ้าหนักจองเข็ม และเทคนิคการส่ งเข็มให้ลงไป
รองรับนํ้าหนักได้อย่างเชื่อมัน งามเข็มเจาะและกดเป็ นงานที่นิยมกันมาก โดยอาศัยเข็มกลมมีแกนกลวงใช้
่
ดอกสว่านสอดส่ วนกลวงเข็มลงไปเจาะดินได้ก่อนกด ลําพังเพียงกดลงไปจะไม่ถึงระดับดินแข็งจะกดไม่ลง
จึงนําเอาวิธีเจาะให้ดินเป็ นรู เพื่อลดความแน่นของดินลงแล้วจึงกดเข็มตามลงไป
-การเตรียมงานเข็ม
ปกติใช้เป็ นงานเทคนิคเฉพาะ เมื่อระบุใช้เข็ม ค.ส.ล. ลักษณะแรงเหวียงหรื อเรี ยกว่าเข็มสปัน เป็ น
่
เข็มที่ลกษณะกลวง โดยเข็มชนิดนี้มีปลายเข็มเป็ นเหล็กหล่อแหลมให้ตอกลงให้ง่าย
ั
1.การปรับบริ เวณ
บริ เวณที่จะทําการเจาะและกดเข็ม ควรปรับผิวดินหรื อทรายถมไว้ค่อนข้างเรี ยบ มีระดับตํ่าใกล้เคียง
กัน เมือตอกหลักให้ตาแหน่งของศูนย์เสาเข็ม ควรพ่นหรื อทาสี แดงทําให้แลเห็นได้ชด การคายดินจากการ
ํ
ั
เจาะของดอกสว่านควรเป็ นบริ เวณใกล้ที่กดเข็มลงไปแล้ว เพราะการตักดินใส่ รถจะไม่ไปทําลายหลักที่ปัก
ให้ศูนย์เสาเข็มเสี ยหายต้องทําใหม่อีก เมื่อเข็มถูกตอกลงลึกในระดับหนึ่งตอกไม่ลงแล้วแม้จะยังไม่ถึงระดับ
ฐานรากก็ตามอาศัยการตัดหัวเสาเข็มออกตามความลึกที่ตองการ ฉะนั้นระดับจูกต้องมากถ้าปรับผิวดินให้
้
เรี ยบปั้นจันตอกเสาเข็มจะให้ระดับหัวเข็มที่ใกล้เคียงมาก เป็ นต้น
่
2.การวางเข็ม
สําหรับโรงงานหล่อเข็มมักผลิตเข็มไม่ทนต่อการใช้งาน อาจมีอุปสรรคทางด้านวัสดุที่มีราคาสูงขึ้น
ั
หรื อผลิตวัสดุมาป้ อนโรงงานไม่ทน เช่น ปูนซีเมนต์ เหล็ก อนึ่ง การหล่อเข็มไว้ล่วงหน้าเป็ นจํานวนมากต้อง
ั
ใช้การลงทุนสู งและใช้บริ เวณวางผลิตผลกว้าง เพราะเป็ นวัสดุสาเร็ จที่มีขนาดยาวและขนาดหลากหลายตาม
ํ
่
ความต้องการตามการเลือกใช้ของวิศวกรผูออกแบบ อย่างไรก็ดี ขนาดของเข็มจะระบุอยูในเอกสารของ
้
ผูผลิตเข็มที่เป็ นคู่มือให้วิศวกรให้เลือกใช้ขณะออกแบบได้ การสังตามขนาดระบุจะง่ายและรวดเร็ วต่อการ
้
่
จัดส่ งเข็ม
การส่ งเข็มมาใช้คงไม่ยอมให้รถส่ งวางเข็มตามความสะดวก เนื่องจากเข็มเป็ นวัสดุสาเร็ จขนาดใหญ่
ํ
ดังได้ทราบแล้วและมีน้ าหนักมาก การย้ายเข็มทําได้ยากนอกจากต้องใช้รําตักช่วยลากย้ายเข็มแต่ไม่ควรทํา
ํ
่
เป็ นประจํา การย้ายเข็มของรถตักเป็ นการทํางานช่วยงานเจาะและกดอยูตลอดเวลาแล้ว แต่ไม่ใช่ตองย้ายทั้ง
้
กองที่ห่างไกลคนละฝั่งของพื้นที่ที่จะเจาะและกดเข็มในช่วงแรกๆ จะต้องวางแผนและกําหนดตําแหน่งกอง
่
เข็มซ้อนกันไว้ เมื่อต้องกการใช้จะใช้สลิงจองรถเจาะลากเข็มให้เข้าใกล้ได้ จุงกล่าวได้วาตําแหน่งที่กองเข็ม
อาจเป็ น 4-5 กอง ครอบคลุมเต็มพื้นที่ทาการเจาะและกดเข็ม สําหรับพื้นที่ถมทรายหรื อดินแล้วปรับพื้น เรี ยบ
ํ
ั
้ ่
พอจะทําให้การซ้อนกันของเข็มมันคงกองเข็มไม่พงทลายเป็ นอันตรายต่อผูอยูใกล้เคียง
่
่
เมื่อเป็ นงานที่ค่อยๆปรับพื้นเป้ นช่วงๆไป การทํางานอยูในพื้นที่จากัด การส่ งเข็มมาจํานวนมากให้
ํ
เป็ นปัญหาในการหาที่วางกองเข็ม จึงควรพิจารณาให้สอดคล้องกับการใช้เครื่ องเจาะและกดหรื อตอกด้วย
งานเจาะและกดจะต้องมีความก้าวหน้าต่อไป ไม่มีปัญหาสําหรับหน้าที่ตอกส่ งเข็มลงใต้ดินเมื่อใช้ป้ ันจัน
่
ตอกเข็มอีกชุดหนึ่ง
3.การเตรี ยมรถเจาะและกด
เนื่องจากรถแทรกเตอร์ประกอบด้วยอุปการณ์ที่มีน้ าหนักมาก การเคลื่อนย้ายในลักษณะครบเครื่ อง
ํ
ทําได้ยาก จําเป็ นต้องถอดชิ้นส่ วนที่เป็ นแกนประกับเข็ม แขนคํ้า และปรับแกนอีก 2 ตีว ประกอบด้วยหัว
้
่ ้
่ ั
เจาะด้วยไฟฟ้ า ซึ่งมีกานกดคูดวยระบบไฮดรอริ กติดอยูกบหัวเจาะด้วย ใช้ลวดสลิงร้องดึงขึ้นไปบนรอกที่
ติดตั้งปลายแกนประกับเข็ม
-การเจาะและกดเข็ม
ทีมของเครื่ องเจาะและกดจะได้การบริ ษทขายเข็มผูแนะนํามา หรื อบริ ษทเป็ นผูจดทําร่ วมไปเท่ากับ
ั
้
ั
้ั
ว่าการส่ งเข็มกับงานเจาะและกดเป็ นส่วนงานเดียวกัน ทําให้เกิดการรับผิดชอบในส่ วนงานเข็มไปได้งาน
หนึ่ง
การเจาะและกดเข็มมีลาดับขั้นการทํางานดังนี้
ํ
1.การยกเข็มขึ้นประกับแกน
2.การเจาะและกดเข็ม
3.การต่อเข็มต้นที่ 2
4.การเจาะและกดเข็มต้นที่ 2
5.การตอกเข็มลงในระดับกําหนด
(ก) แสดงการยกตั้งเข็มต้นแรกติดกับเครื่ องเจาะ

(ข) แสดงการรัดเข็มแนบแกนบังคับให้เข็มตั้งดิ่ง
และให้ตรงศูนย์
(ค) แสดงการเจาะและกดเข็มต้นแรกลงระดับใต้ดิน
ในทางดิ่ง

(ง) แสดงการนําเข็มต้นที่ 2 ขึ้นต่อกับเข็มต้นแรก
ต่อแกนสว่านเจาะและเชื่อมรอบรอยต่อเข็ม
(จ) แสดงเข็มจะต่อต่อกันในแนวดิ่งและทําการเจาะ
และกดต่อไปตลอดความยาว 24.00 เมตร

(ฉ) แสดงการดึงดอกสว่านขึ้นและต่อเสาส่ งทําการ
เจาะและกดเข็มลงใต้ดิน
(ช) นําเสาส่ งต่อหัวเข็มต้นสุ ดท้าย เพื่อเจาะดินและกด
เข็มลงไปในระดับที่ตองการ(ในกรณี ที่ไม่ใช้วิธีตอก)
้

(ซ) แสดงการตอกหัวเข็มลงให้ถึงระดับและ
จด Blow Count ทุกระยะ 30 ซม. ตลอดความ
ยาวเสาส่ ง
(ฌ) แสดงการตอกส่ งเข็มลงในระดับกําหนด

(3) การขุดดินฐานราก

เมื่อทําการตอกเข็มลงในระดับที่ตองการแล้ว งานระดับต่อไปเป็ นการขุดดินออกเพือการทําฐานราก
้
่
่ ้
ซึ่งการทํางานดินจะต่อเนื่องกับการปรับและตักดินระหว่างการเจาะและกดเข็มอยูดวย
-การขุดดินด้ วยเครื่องจักรกล
เครื่ องจักรที่ใช้งานดินด้วยการใช้รถขดดิน และ รถตักดินด้านหน้าตีนตะขาบหรื อล้อยาง เนื่องจาก
เครื่ องจักรทั้ง 2 ชนิด มีหน้าที่เพียงพอกับการใช้งานในการขุดดินออกจากฐานราก รวมไปถึงดินทั้งหมดของ
ห้องใต้ดิน โดยจํานวนดินจะรู ้ปริ มาตรที่แน่นอน
สําหรับมาตรฐานการขุดของเครื่ องจักรแต่ละชนิดจําเป็ นต้องนํามาพิจารณาร่ วมด้วย
1.การใช้รถแทรกเตอร์กระเช้าตักดิน
หรื อบางทีเรี ยกว่ารถตักดิน ส่ วนประกอบคือ ตัวรถเป็ นรถตีนตะขาบสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปได้
ใกล้สถานที่ขดได้มากเนื่องจากมีน้ าหนักของเครื่ องบังคับการขุดและยกแขน ส่ วนที่สองคือแขนยกกระเช้า
ุ
ํ
สามารถเปลี่ยนความยาวได้ ส่ วนประกอบที่สามคือกระเช้า ใช้ในการครู ดดินเป็ นระยะทาง 4-5 เมตรจนดิน
่
บรรจุเต็มกระเช้าแล้วจึงยกขึ้น ดินและนํ้าจะถูกบรรจุอยูในกระเช้า
2.การใช้รถแทรกเตอร์ (ล้อยาง) ตักดินด้านหน้า
บางชนิดใช้สายพานเหล็ก รถตักบางแบบขุดด้านหลัง การใช้ลอยาก 4 ล้อ ทําให้เคลื่อนย้ายรถได้
้
รวดเร็ ว และสามารถเข้าไปในแนวถนนที่แคบได้ งานสําคัญคือ ตักดินที่เกินต้องการหรื อดินที่เป็ นโลนใช้
การไม่ได้ใส่ รถบรรทุกย้ายไปเทนอกบริ เวณงานก่อนสร้าง นอกจากนี้ยงช่วยเกลี่ยดินหรื อทรายถมก้นหลุม
เมื่อหล่อฐานรากเสร็ จ ยังใช้ตกคอนกรี ตยกขึ้นรถได้ บางครั้งใช้ในการยกเหล็ก
ั
-การขุดดินด้ วยแรงคน
เครื่ องจักรทํางานได้ไม่หมดของงาน เพราะเครื่ องจักรมีขนาดใหญ่การทํางานอาจไปกระทบกับ
เสาเข็ม หรื อเครื่ องจักรไม่สามารถเข้าไปขุดในซอกระหว่างเสาได้ จึงต้องใช้แรงคน
-การปองกันดินพัง
้
ถ้าเป็ นขุดหลุมเล็กหรื อไม่มีอาคารข้างเคียง การระวงดินพังทลายจะน้อยลง แต่ถาขุดเต็มพื้นที่สร้าง
้
เป็ นห้องใต้ดิน หรื อให้ทางานสะดวกต้องกันดินพังอย่างจริ งจัง ต้องคํานวณกําลังของดินทางข้าง ซึ่งจะ
ํ
ทํางานได้ดงนี้
ั
1.การขุดหลุมเล็ก
ปัญหามักมีไม่มาก อาจขุดด้วยรถขุดหรื อแรงงานคน ส่ วนความลาดของผลิงหลุมจะช่วยลดการ
พังทลายลงได้ เมื่อใช้รถขุดดินทําให้ทางานได้รวดเร็ วและลึก แต่จาทําให้ผนังตั้งตรงทําให้พงทลายง่าย การ
ํ
ํ
ั
พังทลายของดินมักเกิดจากนํ้าหนักของดิน หรื อนํ้าหนักจากรถที่เข้าใกล้หลุมทําให้ดินปากหลุมพังง่าย ทั้งนี้
ขึ้นกับลักษณะของดินด้วยว่าเป็ นแบบใด โดยดินทรายหรื อดินร่ วนการยึดเกาะจะน้อยทําให้เกิดการพังทลาย
ได้มาก ปกติระยะช่วงการขุดหลุมจนเสร็ จดินจะยังไม่พงทลายลงมา เพราะดินยังไม่ถกรบกวนและไม่มี
ั
ู
นํ้าหนักบรรทุก โดยเฉพาะการขุดหลุมใกล้ถนนที่มีรถวิ่ง จะเกิดแรงสะเทือนทําให้ดินผนิงหลุมอาจพังง
ทลายลงได้ เมื่อขุดได้ลึกประมาณ 2.00 เมตร ควรรี บคํ้ายันไว้ก่อนที่ผนังจะพังลงมา
2.การขุดหลุมเต็มพื้นที่
เป็ นงานดินที่ตองการหลักการคํานวณการดินของดินรอบๆพื้นที่ของการสร้างอาคาร เมื่อขุดดินออก
้
หมดแล้วสามารถทําการหล่อฐานและทําห้องใต้ดินได้สะดวก และไม่ทาให้เกิดความเสี ยหายแกอาคารหรื อ
ํ
พื้นที่ใกล้เคียง มีวิธีการดังนี้
2.1 การปั กเข็มพืด (Sheet Piles)
เข็มพืดเป็ นรู ปตัวยู และทําด้วยเหล็กรี ด ปี กทั้งสองข้างจะเป็ นห่ วงโค้งงตลอดความยาวเข็ม
เพื่อให้เกิดการซ้อนกันอย่างแน่นหนา ความยาวของเข็มพื่ดมีขนาด 6.00 – 12.00 เมตร

รู ปแสดงการปั ก และกดเข็มพืดลงไปเพื่อที่จะทําการขุดดินออก
2.2 การกดเข็มพืด
ให้นาหัวเข็มที่ประกอบด้วยเครื่ องสันมากดเข็มพืด ด้วยนํ้าหนักของงหัวกดที่จบอยูบนหัว
ํ
ั ่
่
เข็มพืดแต่ละตัวและแรงสันสะเทือน จะทําให้เข็มพืดถูกกดดินทั้งๆที่ปีกเข็มยังสอดคล้องกันอยู่ โดย
่
การกดเข็มพืดโดยรอบทําให้ป้องกันดินโดยรอบพังลงมา และป้ องกันนํ้ารอบๆ บริ เวณเข้าได้ดวย
้
2.3 การขุดดินออก
เนื่องจากต้องขุดดินจํานวนมากออกจากพื้นที่จนสุ ดแนวขอบของเข็มพืดนความลึก 6.00 –
่
8.00 เมตร แต่ส่วนปลายจองเข็มยังคงปักอยูในดินลึก 2.00 – 4.00 เมตร มักทําการเช่าเข็มพืดมากกว่า
ซื้อ แม้แต่การตอกและกดเข็มลงไป บริ ษทผูให้เช่าจะทําการตอกและกดห้ามข้อตกลงได้ เพราะ
ั ้
ความชํานาญเป็ นเรื่ องสําคัญทําให้เกิดความรวดเร็ ว ตอกและกดได้อย่างถูกต้อง จําเป็ นต้องใช้เครื่ อง
กดเฉพาะด้วย
การขุดดินขึ้นอาจทําทางให้รถบรรทุกลงไปขนดินจากพื้นล่างที่ลึกลงไป ลําพังใช้รถตักดินขึ้นอย่าง
เดียวไม่พอ แม้แต่รถขนดินขนาดเล็กก็นามาใช้ขนดินจากพื้นล่างขึ้นมาด้านบนพื้นผิดดินได้ เมื่อได้ขดดิน
ํ
ุ
ขึ้นมาหมดจะเห็นหัวเข็มที่ได้หล่อหรื อกดไว้ก่อนทํางานดิน และดําเนินการทําฐานรากต่อไป โครงเหล็กที่ค้ า
ํ
่
ดินไว้จะเปลี่ยนการคํ้าและยึดได้บางถ้าติดขัดงานที่จะก่อสร้าง แต่การตั้งโครงจะนึกถึงโครงสร้างอยูแล้ว จะ
้
รื้ อโครงเหล็กคํ้ากันดินพังออกภายหลังจากการหล่อฐานราก การเทพื้นห้องใต้ดิน การหล่อเสาตอม่อ และ
เริ่ มถมทรายลงไปก่อน แล้วถอดโครงออกทีละชิ้นโดยไม่ทาให้ผนังกันดินที่ใช้เข็มพืดพังลงมาจนกว่าจะถม
ํ
ทรายดันเข็มพืดไว้ที่ความสูงระดับหนึ่ง การถอนจะใช้รถยกเข็มพืดแต่ละชินออก เมื่อแน่ใจ่วาไม่ทาให้ดิน
ํ
พงลงมาจนทําให้เกิดความเสี ยสายแก่อาคารใหญ่หรื อ พื้นถนนข้างเคียง หรื องานส่ วนโครงสร้างใต้ดินที่
สร้างไว้แล้ว วิศวกรโครงการต้องพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนที่จะถอนเข็มพืด ควรทํางานโครงสร้างใต้
ระดับดินเสร็ จ แล้วจึงถอนไล่ไปเมื่อถมทรายหรอหล่อผนังล้อมห้องใต้ดินแล้วเท่านั้น
งานฐานราก
ฐานรากทําหน้าที่รับนํ้าหนักของตัวอาคารทั้งหมดเพื่อถ่ายลงเสาเข็มให้เสาเข็มรับนํ้าหนักกรณี เข็ม
เดี่ยว หรื อถ่ายนํ้าหนักลงดิน เพื่อให้ดินรับนํ้าหนักในกรณี ฐานแผ่
ในกรณี ฐานรากที่มีเสาเข็มต้นเดียว และถ้าการตอกเสาเข็มไม่ตรงตามศูนย์จะทําให้เกิดปัญหาตามมากับฐาน
ราก คือ ฐานรากจะเกิดการพลิกควํ่า เมื่อรับนํ้าหนักจากตัวอาคาร ทําให้เกิดการทรุ ดตัวของอาคารหรื อเกิด
รอยแตกร้าวตามคานหรื อเสาในภายหลัง แต่กรณี ของฐานรากที่มีเสาเข็มมากกว่าหนึ่งต้นจะเกิดปั ญหา
ดังกล่าวน้อยมาก
(1) งานคอนกรีตหยาบ
แม้แต่อาคารขนาดเล็ก งานคอนกรี ตหยาบให้ความสําคัญต่อฐานราก ใช้หวรัดเข็มไม่ให้เลื่อน
ั
หลุดออกจากบริ เวณพื้นที่ใต้ฐานรากเป็ นสําคัญ แต่เมื่องานก่อสร้างใหญ่ข้ ึน งานคอนกรี ตหยาบยังให้
ประโยชน์มากขึ้นไปอีก เป็ นการแบ่งระหว่างดินหรื อทรายใต้ฐานรากโดยตรง นอกจากนี้คอนกรี ตหยาบ
ที่เทในส่ วนรอบ ๆ ของฐานรากได้ง่าย รวมทั้งทํางานได้สะดวกเพื่อการยึด และ คํ้า โดยเฉพาะฐานราก
ขนาดใหญ่ ผิวบนของคอนกรี ตหยาบต้องปาดให้ได้ระดับ จะสามารถประกอบตะแกรงได้สะดวกและ
เรี ยบร้อย จึงจะไม่หนุนหรื อดันเหล็กตะแกรงขึ้นมาได้

-งานหาระดับ
ในการก่อสร้าง งานระดับจะต้องตรวจสอบจากอแบบก่อสร้างใช้ชดเจนอีกครั้งภายหลังการให้
ั
ระดับการขุดดินถึงก้นหลุมจะให้พลาดไม่ได้
1. ระดับก้นหลุม หลังจากการขุดหลุมแล้ว ดูดนํ้าขึ้นให้แห้ง อาจมีน้ าซึมจากผนังดิน ด้านข้าง
ํ
บางแห่งมีมากจําเป็ นต้องติดตั้งเครื่ องสูบนํ้าตักวิดนํ้าขึ้นตลอดการทํางาน โดยขุดบริ เวณก้นหลุมมุมหนึ่ง
่
ที่อยูนอกแนวพื้นที่ที่จะเทคอนกรี ตหยาบ ขุดให้ลึกพอที่จะใช้ทรายถมไล่น้ าหรื อดินเหลวก้นหลุมให้ร่น
ํ
ออกไป การซับนํ้าครั้งหนึ่งใช้ทรายถมหนา 5 – 10 เซนติเมตร แสดงให้เห็นว่าระดับที่เผือไว้จากระดับความ
่
ํ
ลึกที่กาหนดให้ขด 4.40 เมตร รวมความสูงของผัง 0.70 เมตร จึงเป็ นระดับดินเดิม จนถึงดินระดับก้นหลุม
ุ
4.40 ลบ 0.70 เท่ากับ 3.70 เมตร ถ้าเพิ่มความลึกจากการปรับหน้าผิวดินด้วยทรายอีก 10 เซนติเมตรและความ
หนาของคอนกรี ตหยาบอีก 10 เซนติเมตร เท่ากับต้องขุดดิน ให้ลึก 4.50 เมตร
การได้ระดับก้นหลุมแล้วตามหัวหลักที่ตอกไว้ ถ้าฐานรากมีพ้นที่กว้างขนาด 4 x 6 เมตรจะต้อง
ื
ตอกหลักระแนงกับก้นหลุมเพิ่มอีก 5 – 10 หลัก ทัวบริ เวณ หรื อ ไปตั้งผังใต้ระดับดินก้นหลุม โดยใช้เชือก
่
เอ็นขึงบนหัวหลักแล้วปักระแนงเพิ่มทําระดับอีกได้ตามต้องการ หลักระแนงควรมีระยะห่ างกันประมาณ 1
เมตร ควรใช้ไม่ขนาด ½ “ x 3” หรื อ 1”x 3” ยาวประมาณ 0.50 – 0.60 เมตร มุมไม้เรี ยบตรง ให้ห่างจากฐาน
รากประมาณ 0.60 – 0.70 เมตร ให้จมลงซัก 10 เซนติเมตร แต่ถาเป็ นผิวทรายจําเป็ นต้องตอกให้จมลงไป
้
่
เพราะ ไม่ตองการให้ฝังอยูในทรายอัดแน่นเกินไป
้

2. ระดับทรายก้นหลุม เมื่อทํามาถึงตอนนี้จะง่ายขึ้นมาก ไม่ตองหาความลึกอีกครั้ง เพราะ
้
ได้ฝากระดับของดินก้นหลุมไว้ที่หลักไม้คร่ าวด้วยการตอกตะปู เมื่อถมทรายแล้วอัดแน่นมีความหนา
0.10 เมตร เท่ากับว่าวัดระยะขึ้นมาจากแนวตะปูระดับก้นหลุมอีก 0.10 เมตรจะเป็ นระดับผิวทรายถม
ขณะเดียวกันการตัดหัวเข็มให้ได้ระดับอาจทํามาก่อนภายหลังขุดดินครั้งแรก หรื อถ้าทิ้งมาจะ
ต้องตัดหัวเข็มออกให้ได้ระดับเสี ยตอนนี้ โดยอาศัยการสอดไม้ลงมาจากระดับเชือกหลังฝังตามแนวดิ่ง
การตัดหัวเข็มจะใช้เครื่ องตัดคอนกรี ตด้วยมือ ตัดตามแนวที่ขีดรอบเสาเข็ม ฝนให้คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม
เสาเข็มเกือบขาด เหลือส่ วนคอนกรี ตใกล้ผวด้านกลวงให้ถึงเหล็กแรงดึงสู ง ตัดไปรอบ ๆ เสร็ จจากต้นหนึ่ง
ิ
แล้วไปอีกต้นหนึ่ง อย่าตัดให้ขาดไปเลยจะล้มทับคนตัดได้
3. หาระดับผิวคอนกรี ตหยาบ เมื่อระดับคอนกรี ตหยาบสูงกว่าผิวทรายอัด 0.10 เมตร ฉะนั้นระดับ
ผิวคอนกรี ตหยาบจึงเท่ากับระดับจากเชือกเอ็นหลังผังวัดลงมาที่ความลึก 4.20 เมตร เพราะระดับผิวดินกัน
หลุม 4.40 เมตร ( เมื่อรวมความหนาคอนกรี ตหยาบอีก 0.10 เมตรแล้ว ) แต่ระดับผิวของการเทพื้นคอนกรี ต
หยาบจะต้องเรี ยบได้ระดับและต้องตั้งแบบด้านข้างก่อน จึงจะถ่ายระดับลงที่พ้นแบบข้าง และ เทคอนกรี ต
ื
ภายหลัง
-การตั้งแบบแบบข้ างเพือหล่อคอนกรีตหยาบ
่
การหล่อคอนกรี ตหยาบต้องทําการตั้งแบบข้างก่อน บางงานเทคอนกรี ตทั้งที่ยงไม่ได้ต้ งแบบ แต่การ
ั
ั
ํ
คอนกรี ตเต็มพื้นที่หลุม การตั้งแบบทําให้กาหนดความหนาของคอนกรี ตได้ และมีขนาดรู ปร่ างตามต้องการ
1. เตรี ยมไม้ ไม้ที่ต้ งแบบข้างประกอบด้วย
ั
1.1ไม้หลัก เป็ นไม้คร่ าว 1 ½ x 3 นิ้วยาวประมาณ 0.70 – 1 เมตร เสี้ ยมปลายให้แหลม
จํานวนหลักหาได้จากความยาวของแบบที่จะตั้งโดยรอบฐานราก แต่สามารถประมาณระยะความยาวของ
แบบเป็ นรู ป สี่ เหลี่ยม ได้ใกล้เคียงหรื อเท่ากับ 16 เมตร โดยประมาณ แต่เพื่อให้เพียงพอกับการตั้งแบบที่มี
มุมควรเพิ่มไม้หลักอีกมุมละ 1 อัน รวมจํานวนอีก 6 ตัว
1.2ไม้แบบ อาจเป็ นแบบไม้ 1 x 8 นิ้วยาว 4 เมตร หรื อเป็ นไม้ขนาด 2- 4 เมตร ถ้าเป็ นไม้
เก่าซึ่งทําแบบข้างได้ ความยาว 16 เมตร ที่จะตั้งแบบ ถ้าใช้ไม้ยาว 4.00 เมตรจะใช้ 4 ท่อนแต่ถาเป็ นไม้ยาวไม่
้
เท่ากันเมื่อตัดหัวไม้แล้วต่อให้ได้ความยาว 16 เมตร เพิ่มความยาวอีก 2 เมตร รวม 18 เมตร
1.3ไม้ค้ ายัน หมายถึงไม้คร่ าวที่จะใช้ค้ ายันทางปากแบบเท่านั้น ควรเป็ นไม้ขนาด 1 ½ x 3
ํ
ํ
นิ้ว หรื อ 2 นิ้ว ก็ใช้ได้เช่นเดียวกัน มีความยาวพอประมาณได้จากการขุดดินว่าห่างจากแนวตั้งแบบเท่าใด
ถ้าห่างออกไป 0.60 เมตร ควรเพิ่ม 0.60 เมตร รวมไม้ยาวขนาดนี้นาเสาเข็มมาวางดินผนังรอบ ๆ และตอก
ํ
หลักยึดเป็ นระยะห่ างกัน 1.00 – 1.50 เมตร จะใช้ค้ ายันได้เช่นเดียวกัน
ํ
2. เตรี ยมตะปู ตะปูที่ใช้ควรประมาณได้ โดยไม่จาเป็ นต้องนับว่าตอกจะนวนกี่ตว เช่น ตะปู ที่ใช้
ํ
ั
ตอกแบบติดหลัก ใช้ตะปูขนาด 2 ½ นิ้วตอกหลักละ 2 ตัว ส่ วนไม้ค้ ายันตอกติดหลังแบบ 1 ตัวตอกหัวไม้
ํ
แบบไปชนด้านข้างของแบบใช้ตะปู 2 ตัว ไม้รัดมุมตอกตะปูดานละ 1 ตัว รวม 2 ตัว ใช้ตะปูแบบเดียวกัน
้
ประมาณว่าตั้งแบบ 5.00 เมตร จะใช้ ตะปูประมาณ 1 กิโลกรัมตั้งแบบยาว 16.00 เมตร ควรใช้ ตะปูจานวน
ํ
3 กิโลกรัมโดยประมาณ
3. การตั้งแบบ การตั้งแบบข้างใน การเทคอนกรี ตหยาบให้มีพ้นที่กว้างออกไปจึงไม่ตองเคร่ งครัด
ื
้
เรื่ องขนาดอย่างไรก็ตาม ถ้าตั้งแบบได้ดีจะดูสวยงาม ก่อนหน้าที่จะทําการขุดเสร็ จและลงทรายบดอัดแน่น
สามารถตรวจสอบแนวศูนย์กลางเสาอีกครั้ง เพื่อให้ได้แนวขอบของฐานรากก่อน โดยปักไม้ไว้แล้วจึง วัด
จากแนวขอบของฐานรากออกไปอีก 0.50 เมตร โดยวัดตอนมุมและตอกหลักเอาไว้ทุกมุม ให้หลักโผล่จาก
ดินก้นหลุมประมาณ 0.30 – 0.35 เมตร สําหรับไม้หลักยาว 0.70 เตร จะปักลงดินประมาณ 0.35 เมตร แต่ถา
้
เป็ นดินเหลว ควรเสี้ ยมปลายประมาณ 1 เมตร และปั กลงในดิน 0.65 – 0.70 เมตร ทําให้หลักแน่น
-การเทคอนกรีตหยาบ
เนื่องจากการเทคอนกรี ตหยาบมีจานวนไม่มาก อาจทําการผสมเองโดยใช้โง่ผสมแบบเอียง ซึ่งเป็ น
ํ
เพราะเตรี ยมหลุมไว้ไม่ได้มากจึงต้องทําการเทลงเมื่อตั้งแบบเสร็ จ การเตรี ยมหลุมเมื่อปรับทรายแล้วต้องเท
ทันที ถ้าทิ้งไว้อาจมีน้ าซึมขึ้นมาอีกหลังจากที่วิดนํ้าแห้งไปแล้วครั้งหนึ่ง
ํ
่
ํ
1.วัสดุผสม เมื่อทําการเทคอนกรี ตเอง ควรตั้งโม่ผสมให้อยูระหว่างแถวของฐานรากที่กาลังจะเท
ั
จํานวนหลายฐาน และเทใส่ ไปเป็ นลําดับเมื่อตั้งแบบเสร็ จ เตรี ยมหิ นเบอร์ 2 ทรายหยาบกองใกล้กนบนพื้นที่
ปรับเรี ยบ ตั้งโม่และนังร้าน สังปูนซีเมนต์ โดยประมาณจากจํานวนวัสดุต่อลูกบาศก์เมตรของกอนกรี ต
่
่
ั
ปูนซีเมนต์ 6 ½ ถุง ทราย ½ ลูกบาศก์เมตร และ หินเบอร์ 2 จํานวน 1 ลูกบาศก์เมตร ใช้กบคอนกรี ต
อัตราส่ วน 1 : 2 : 4 ถ้ายังยึดกับคอนกรี ตหยาบจะเพิ่มทรายและหิ นอีกเล็กน้อย
่
2.การเทคอนกรี ต เมื่อผสมให้คอนกรี ตเข้ากันดีโดยผสมอยูในโม่ไม่นอยกว่า 3 นาทีภายหลังจากเท
้
วัสดุและนํ้าเข้าผสมถ้านานกว่าเวลาดังกล่าวจะทําให้เสี ยเวลาผสมและนํ้ามันเครื่ องผสมด้วยควรเตรี ยม
คนงานเทไว้เป็ นกลุ่มเทหน้างาน 12 – 14 คน ดังนี้
คนปาดผิวหน้าเป็ นช่างปูน

2

คน

คนเทหน้างาน

2

คน

คนขนคอนกรี ตเทโดยการส่งต่อ 8 – 10 คน
ส่ วนกลุ่มคนงานผสมคอนกรี ต

9 – 10 คน ได้แก่

คนเทวัสดุและนํ้าลงโม่

1

คน

คนหมุนพวกมาลัยเทคอนกรี ต

1

คน

คนขนหิ น

2 – 3 คน

คนขนทราย

2

คน

คนดูแลนํ้าและสายยาง

1

คน

คนขนปูนซีเมนต์

2

คน
(2) การตั้งแบบข้ าง
สําหรับตัวฐานเสาตอม่อจะตั้งเพียงแบบข้าง การสร้างแบบหล่อให้มีความแข็งแรงเมื่อขนาดของ
ฐานรากมีพ้ืนที่ และความหนามากขึ้น แต่ละผูรับเหมามีเทคนิคและวิธีการก่อสร้างฐานคล้ายกันแต่ไม่
้
เหมือนกันเป็ นไปตามความสามารถและความชํานาญของช่างไม่ฝีมือ ประสบการณ์ของหัวหน้าช่างทําให้
การวางงานได้เรี ยบร้อยมันคง ปั จจุบนมีการนําแบบเหล็กและโครงนังร้านมาใช้ แต่ช่างจะมีความชํานาญกับ
ั
่
่
การใช้ไม้มากกว่า จึงพบว่ามีการผสมกันระหว่างแบบเหล็กแต่ใช้โครงไม้ยดยัน
ึ
-เตรียมงานตั้งแบบฐานราก
เนื่องจากเป็ นฐานรากขนาดใหญ่ควรต้องมีการเตรี ยมแบบ เตรี ยมผิวคอนกรี ต เตรี ยมงานเหล็กจะ
เสริ มหัวเสาเข็ม และเตรี ยมงานบริ เวณ
1. เตรี ยมผิวคอนกรี ต ทําการถอดแบบข้างออกภายหลังการหล่อคอนกรี ตหยาบครบ 2 วัน โดยตี
ไม้ค้ ายันออกเรี ยงไว้เป็ นตอน ๆ ตีไม้แบบข้างพอแบบเผยอแล้วตอกข้างหลักให้เอียง ยกทั้งแบบข้างและ
ํ
หลักติดกันออกมา ให้คนงานตอกแบบข้างออกจากข้างหลัก กองไม้หลัก และแบบไว้ขาง ๆ หรื อให้คนงาน
้
ถอนตะปูกองไม้ไว้ตามขนาดหรื อกองขนาดใกล้เคียงกันไว้ดวยกัน เวลาที่ตองการใช้จะนําไปทํางานได้
้
้
ั
ทันที มิใช่ตองตัดไม้กนใหม่อีกที เป็ นการสิ้ นเปลืองทั้งเวลาและแรงงาน
้

รู ปแสดงการล้ างผิวแผ่ นคอนกรี ตหยาบ และวางไม้ เสารอบขอบฐานเอาไว้ คายันตีนแบบรอบขอบฐาน
้ํ
2.วางไม้รับคํ้ายันรอบฐาน ปรกติจะขุดดินให้หลุมกว้างพอที่จะทํางานรอบขอบฐานได้สะดวก
เนื่องจากฐานรากดังรู ปมีความหนา 1.50 เมตร จึงจําเป็ นต้องคํ้าตีนแบบ คํ้ากลางแบบ และ คํ้าปากแบบ
สําหรับการคํ้ากลางแบบจะใช้เหล็กยึดรั้งช่วยดึงไว้ แต่ตองใช้เหล็กยึดรั้งสอดเข้าไปในแบบและดึงแบบ
้
ในฝั่งตรงข้ามห่างกัน 0.60 เมตร 2 แถว ตลอดความยาว และ เสาที่ใช้วางวางรับคํ้ายันเป็ นเสาหมอนขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 4 – 6 นิ้ว เพื่อให้มีน้ าหนัก โดยตอกหลักยันหลังหลักไม่ให้เสากลิ้งได้ ต้องวางไม้คร่ าวใต้
ํ
ั
ใช้เสาให้ห่างกันประมาณ 1.20 – 1.50 โดยวางพาดไว้กบกองดินใกล้ขอบฐานและกองดินตีนผนังหลุม
3.การหาแนวฐานราก เมื่อผิวคอนกรี ตหยาบแห้งแล้วและเตรี ยมจะทําการตั้งแบบเฉพาะฐานราก
ก่อนหน้านั้นจะถ่ายแนวแกนสาฝากไว้ที่ผงทั้งแนวตรงและแนวนอนที่ตอกขึ้นบนฝั่งใกล้ปากหลุมเพือหา
ั
่
ความลึกของฐานรากส่ วนต่าง ๆ และมีแนวแกนร่ วมตรงตลอดแถวของฐานราก เมื่อจะหาแนวฐานรากควร
ที่จะรู ้แกนตั้งและแกนนอนของเส้น และ ตัดกันที่เรี ยกว่า ศูนย์เสา
-การตั้งแบบข้ าง
สําหรับฐานรากขนาดใหญ่ ต้องการใช้แผงแบบโลหะหรื อแบบเหล็กจํานวนมาก จําเป็ นต้องจัดทํา
ไว้ล่วงหน้าหรื อหาเช่าแผงแบบไว้ต้ งแต่รับงานได้ การเตรี ยมแบบเป็ นหน้าที่ของช่างเหล็กหรื อช่างเชื่อม
ั
โลหะ โดยทําเป็ นโรงเหล็กมีเครื่ องตัดเหล็ก เชื่อมเหล็ก ซึ่งเป็ นช่างคนละชุดกับงานเหล็กโครงสร้าง เมื่อมี
งานแล้วนําแผ่นเล็กหรื อกลางมาต่อกันจะใช้งานได้กว้างขวางกว่าการต่อกันใช้เหล็กคล้องบังคับหรื อตัว
หนอนคล้องเข้าในรู ขางแบบที่เจาะไว้ตรงกันแล้วจะบังคับให้แบบติดกันแน่น เมื่อแบบเป็ นชิ้นเล็กและนํามา
้
ต่อกันไม่จาเป็ นต้องใช้หลายคนสําหรับในรู ปจะวางแบบพื้นคอนกรี ตหยาบเหมือนการตั้งแบบที่ทาด้วยไม้
ํ
ํ
อัดหรื อไม้แผ่น เป็ นวิธีหนึ่งที่ตองหาวิธีค้ายันตีนแบบให้มนคงด้วย ควรดําเนินเป็ นลําดับดังนี้
้
ํ
่ั

รู ปแสดงการขนแบบในส่ วนมุมมาวางตามแนวเส้ นที่ขีดเส้ นไว้ แล้ ว
รู ปแสดงการประกอบแผ่ นแบบข้ างเข้ าด้ วยกัน

1. การทําเหล็กยึดหัวเข็ม สําหรับการตัดเสาตามขนาดของรู กลวงเข็มกลมแรงเหวียงประกอบด้วย
่
เหล็กแกน 8 เส้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 ม.ม.ตลอดช่วงที่สอดลงในรู กลวงสาเข็มที่ระยะ 0.50- 1 เมตร
แล้วตี่ขนาดของเสาเข็ม เข้าใจว่าวิศวกรผูออกแบบโครงสร้างต้องการให้ส่วนต่อหัวเสาเข็มเป็ นตัวประสาน
้
กับแผ่นฐานรากได้อย่างมันคง เนื่องจากรู กลวงของเสาจะสอดด้านปิ ดไม้อดลงไปให้ลึก 0.70 – 1 เมตร สอด
ั
่
ั
ไม้คร่ าวรับเหล็กปลอกเอาไว้ในระดับ แล้วเทคอนกรี ตอัตราส่ วนเหมือนกับคอนกรี ตที่ใช้กบฐานรากให้
คอนกรี ตเต็มเสมอกับหัวเสาเข็มแหย่หวเขย่าให้คอนกรี ตแน่น นํ้าปูนจากคอนกรี ตจะไม่ไหบออกมาก
ั
เนื่องจากแบบควรฉลุให้กลมและมีขนาดเล็กกว่ารู กลวงเพียงเล็กน้อย
2. ลักษณะและการยึดแผงเหล็กหรื อแผงโลหะ ปัจจุบนงานก่อสร้างยังคงนําเอาแบบเหล็กที่เรี ยก
ั
ตามมาตรฐานว่าแบบเหล็กหรื อแผงโลหะสามารถจัดหาจัดซื้อ หรื อจัดทําไว้เป็ นการล่วงหน้าได้ การลงทุน
ซื้อหรื อทําต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมักนิยมเช่าจากบริ ษทผูผลิต เป็ นชนิดแบบเหล็กที่นามาจากต่างประเทศและทํา
ั ้
ํ
ั
ํ
ใช้กนเอง ฉะนั้นขนาดของแบบเหล็กที่ทาในประเทศจึงไม่มีกาหนดตายตัว อนึ่ง งานก่อสร้างของไทยไม่มี
ํ
ขนาดคงที่ ไม่สามารถทําแบบล่วงหน้าในจํานวนมาก ๆ ได้ แต่มาตรฐาน ม.อ.ก. กําหนดไว้เช่นเดียวกัน
ั ่
แบบเหล็กที่ใช้กนอยูไม่เป็ นมาตรฐานนัก แม้แต่งานต่อสร้างขนาดใหญ่ยงต้องแบบเหล็กและไม้ผสมกันอยู่
ั
3. การยึดแบบ เมื่อนําแบบเหล็กมาต่อกันด้วยตัวหนอน เพียงให้แบบหล่อคอนกรี ตที่เป็ นแผงขนาด
เล็กต่อกันเป็ นแผ่นใหญ่ และวางแบบในแนวที่ขีดไว้ตามลักษณะและแนวของฐานรากมีวิธีการดังนี้
รู ปแสดงการตอกไม้ คร่ าวรองแบบเหล็กหล่ อคอนกรี ตฐานราก

3.1 การยึดแบบติดกับพื้นคอนกรี ตหยาบ ระยะแต่ละด้านที่วางแบบฐานรากจะต้อง
ตรวจสอบได้ระยะตั้งฉากเป็ นการตั้งแบบหล่อคอนกรี ตฐานราก เมื่อขนาดของระยะของฐานราก
กําหนดไว้ และ ขีดเส้นหรื อตีเส้นไว้น้ น ขั้นต่อไปของการทํางานคือ การวางแบบบนพื้นผิว
ั
คอนกรี ตหยาบเลยลักษณะดังกล่าวผิวคอนกรี ตหยาบต้องปาดให้เรี ยบ ซึ่งจะทําให้วางแบบได้แนบ
กับผิวมากขึ้นและไม่ทาให้แบบกระเดิด
ํ
3.2 การยึดและคํ้าข้างแบบ โดยเฉพาะหลุมดินของฐานรากมีลกษณะการขุดแตกต่างกัน
ั
บางแห่ งขุดโดยรอบเฉพาะหลุม บางแห่ งขุดเป็ นรางไป ฉะนั้นฝั่งของหลุมมีเพียง 2 ฝั่งหรื อบางแห่ง
ขุดดินออกทั้งพื้นที่ก่อสร้าง การขุดอย่างนี้ไม่มีผนังดินให้ยดคํ้าเลย ลักษณะการคํ้าจึงมีการ
ึ
เปลี่ยนแปลงตามสภาพงาน ขณะเดียวกันวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ยดคํ้าแตกต่างกันไป เช่น บางแห่งใช้ไม้
ึ
ขนาดต่าง ๆ เช่นไม้คร่ าว ไม้เสากลม หรื อ เสาเหลี่ยม ไม้ตงหรื อคาน บางแห่งใช้เฉพาะท่อเหล็ก
กลมโดยนําข้อยึดเป็ นตัวยึดท่อและยังนําท่อนังร้านต่อหัวตัวที มาคํ้าแบบ หรื อ บางแห่ งใช้ไม้และ
่
ท่อเหล็กรวมกันยึดคํ้าข้างแบบภายนอก ตามแต่จะมีวสดุและความถนัดของช่างไม้ต้ งแบบที่จะทํา
ั
ั
และคํ้าจนแข็งขึ้น
รู ปแสดงการคําส่ วนตีนแบบกับหมอนไม้ เสาเข็ม
้

รู ปแสดงการคําส่ วนปากแบบ และพาดไม้ เพื่อยึดไม้ คายัน
้
้ํ
รู ปแสดงการใช้ ไม้ คร่ าวเป็ นไม้ คายันส่ วนตีนแบบและส่ วนกลางแบบ
้ํ

(3) การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่ อ
การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่อ หมายถึงตัวแผ่นฐานรากและเสาตอม่อที่ต่อจากฐานขึ้นมาเหล็กที่
จะต้องติดตั้งมีเหล็กตะแกรงและเหล็กแกนเสารวมทั้งเหล็กปลอกเสาบางส่ วน (เท่าระยะความลึกของฐาน
ราก)
-การเตรียมการผูกเหล็ก
งานเหล็กเป็ นงานเฉพาะช่างเหล็ก มีช่างไม้บางคนพอจะทํางานเหล็กได้บางเท่านั้น แต่เทคนิคของ
้
ํ
งานเหล็ก ช่างเหล็กจะรู ้และถ่ายทอดกันเฉพาะกลุ่มเครื อญาติหรื อท้องถิ่นเดียวกัน เป็ นกลุ่มที่ทางานกันมา
นาน ประกอบด้วยหัวหน้าช่างเหล็ก 1 คนที่รับงานเหมาเป็ นตันของนํ้าหนักเหล็กที่ก่อสร้าง ค่าแรงคิดจาก
งานที่ทาได้ประมาณ 7 - 10 วัน และนํายอดไปรวมคิดกับจํานวนเหล็กทั้งหมด หักยอดที่เบิกค่าแรงเป็ น
ํ
งวดๆไปแล้ว คงเหลือเงินจะเป็ นผลกําไร หรื อเงินค้างจ่ายให้เพื่อนร่ วมงานที่เคยตกลงกันเอาไว้
1. งานวัดและยึดเหล็ก
งานช่างเหล็กจะเริ่ มต้นด้วยการยึดเหล็กเส้นขนาดต่างๆ ให้ตรงไว้เป็ น
แต่ละขนาดที่จะใช้เช่น เหล็กตะแกรง เหล็กแกน และเหล็กปลอกเสา เหล็กแกนเสาหรื อเหล็ก
ขนาด 20 – 28 มิลลิเมตร มักขนมาตามความยาวไม่งอพับครึ่ ง โดยใช้ถที่มีกระบะยาวขนมา ทํา
ให้ง่ายในการทํางาน โรงงานช่างเหล็กจะต้องจัดที่วางไว้สาหรับเหล็กขนาดต่างๆ ไม่ทบกันจนต้อง
ํ
ั
งัดกองเหล็ก ควรยกให้เหล็กวางบนไม้รองเป็ นระยะ 1.00 – 1.20 เมตร ไม่วางกับพื้นเพราะจะไป
สัมผัสกับนํ้าที่นองพื้นทําให้เหล็กเป็ นสนิมได้ง่าย แต่เหล็กที่ยดแล้วควรจะเตรี ยมตัดต่อไป ดังได้
ึ
กล่าวแล้วว่า ช่างเหล็กจะมีหวหน้าช่างเหล็ก 1 คน และผูช่วยมือ 1 – 2 อีก 2 คน ที่พอจะช่วย
ั
้
วัดงานได้ ปกติถาเป็ นงานสําคัญหัวหน้าช่างเหล็กจะกําหนดระยะให้ลกน้องตัดต่อ จะต้องไม่
้
ู
ผิดพลาดเพราะถ้าเป็ นเหล็กเส้นใหญ่ ตัดหรื อดัดผิดระยะต้องเสี ยเหล็กและเสี ยแรงงานอีกด้วย
2. การตั้งโต๊ ะดัดเหล็ก
ปกติโต๊ะดัดเหล็กจะใช้ไม้คานขนาด 2 นิ้ว คูณ 8 – 10 เมตร เพื่อใช้ดด
ั
เหล็กแกนเสา โดยเจาะและเสี ยบเหล็กคู่หน้าเยื้องกันประมาณ 1 นิ้ว ส่ วนตัวต่อไปห่ างไปอีก
่
0.40 เมตร และที่ระยะ 2.00 เมตร ให้อยูในแนวเดียวกันทั้งเหล็กที่เสี ยบลงไป 3 ตัว ปั กเหล็กลง
่ ั
ดินให้ลึกปะมาณ 0.80 – 1.00 เมตร ขณะที่ปลายที่เสี ยบอยูกบไม้คานสูงกว่าระดับผิวพื้นคาปะมาณ
0.05 เมตร ส่ วนการที่จะดัดเหล็ก ขนาดครองๆ ลงไป จะไปทําอีกหัวหนึ่งของไม้คานหรื อตั้งโต๊ะ
ขึ้นใหม่สาหรับโต๊ะดัดเหล็กปลอกจะใช้โต๊ะที่ใช้ไม้ขนาดเล็กไม่ตองสร้างให้แข็งแรงนัก แต่ควร
ํ
้
เป็ นไม้หน้ากว้างสักหน่อยจะทําให้ดดเหล็กปลอกได้ง่าย ปั จจุบนการดัดเหล็กใหญ่จะใช้เครื่ องดัด
ั
ั
ไม่ตองใช้คน 2 คนช่วยดัดจะช่วยลดแรงงานดัดได้ เตรี ยมตัดลวดผูกเหล็กและตัดเหล็กตะแกรง
้
ออกเป็ นท่อนๆ งอปลายตามระยะถ้าเป็ นเหล็กข้ออ้อยมักไม่ตองงอปลายจึงง่าย แต่เหล็กข้ออ้อยมี
้
ํ
ความแข็งจึงนับว่าดัดยากต้องใช้กาลังดัดมาก เหล็กข้ออ้อยบางชนิดสามารถดัดงอได้ตามรัศมีที่
กําหนด เหล็กปลอกจะเป็ นเหล็กเส้นธรรมดาหรื อเหล็กข้ออยก็ได้
้
ั
3. การดัดเหล็ก เป็ นการดัดเหล็กออกตามขนาดที่ใช้กบงานตะแกรงฐานรากก่อน โดยดัดเป็ นเส้นๆ
กองตามจํานวนที่จะใช้ หัวหน้าช่างเหล็กจะใช้อ่าบแบบการเสริ มเหล็กให้เดดข้าใจ สงสัยให้
สอบถามวิศวกรควบคุมหรื อหัวหน้าที่วิศวกรโครงการ จะต้องทราบว่าคอนกรี ตหุมเหล็กฐานราก
้
0.04 เมตร การวัดขนานเหล็กจึงต้องลดระยะลงไปรวมสองด้าน 0.08 เมตร เมื่อเห็นว่าช่างไม้
ติดตั้งแบบใกล้เสร็ จ ช่างเหล็กจะเข้าวางเหล็กได้เลย จึงต้องดัดเหล็กไวให้มากพอที่จะทํางาน
ช่างเหล็กที่เป็ นช่างยกเหล็ก ผูกเหล็กยังมีอีก 5 - 69 คน แล้วแต่งงานจะมีช่างเท่าใด จํานวนอาจ
มากกว่านี้ โดยเฉพาะงานผูกเหล็กตะแกรงหรื อเหล็กปลอกเสาต้องการคนงานผูกเหล็ก 8 – 10 คน
ต่อ 1 กลุ่ม จึงจะทันกับเวลาที่ใช้งาน
แสดงการเว้ นช่ องเพื่อให้ ช่างเล็กเข้ าติดตั้งเหล็กเสริ ม ช่ างไม้ ทาการคํายันนอกแบบ
ํ
้

-การติดตั้งเหล็ก
ระหว่างประกอบแบบเหล็กด้านข้าง ช่างเหล็กจะยกเหล็กตะแกรงที่ดดไว้แล้วเข้าติดตั้ง ช่างไม้จะ
ั
เว้นช่องแบบเอาไว้ก่อนเพื่อให้ขนเหล็กเข้าได้ง่าย เป็ นลักษณะการทํางานของฐานรากขนาดใหญ่ ระยะของ
แบบแน่นอน เมื่อนําเหล็กมาวางโดยใช้ชอล์กแบ่งระยะจากเหล็กตัวริ มด้านหนึ่งและแบ่งระยะที่เหล็กอีก
เส้นหนึ่งที่วางตัวริ มตั้งฉากกับเส้นแรก ปลายต่อกัน วางเหล็กตะแกรงในแถวเดียวกันเรี ยงชิดกันแล้วใช้
ชอล์กขีดไว้ตามระยะที่วดแบ่งไว้ 1 เส้นเท่านั้น อีกด้านหนึ่งจะทําเช่นเดียวกัน เมื่อเหล็กทุกเส้นมีเส้น
ั
ชอล์กแสดงระยะถ้าจะวางพาดกันจะได้ระยะความห่างตามต้องการ อาจแคบกว่ากําหนดได้แต่จะห่าง
มากกว่ากําหนดไม่ได้ ต้องระวังและดัดเหล็กทุกเส้นให้ตรงก่อนนําเข้าติดตั้ง เมื่อวางเหล็กตะแกรงไปได้
แถวหนึ่ง แถวที่สองที่ต้ งได้ฉากกันเริ่ มวางซ้อนโดยผูกส่ วนหัวเหล็กให้ได้ตามระยะไว้ก่อนให้ตลอดแนวทั้ง
ั
สองฝั่ง อย่างไรก็ดี ต้องไม่ลืมวางลูกปูนหนุนเหล็กให้ลอย 0.04 เมตร ไปทัวๆ พื้นที่ก่อนเพราะเวลาผูก
่
เหล็กตะแกรงจะสอดลวดผูกเหล็กได้ เพราะจะไปยกภายหลังไม่ได้เมื่อผูกเหล็กเป็ นแผงตะแกรงจะหนัก
มากยกสอดลูกปูนได้ยาก ลูกปูนเป็ นลักษณะปูนผสมทรายผสมข้นๆอัตราส่ วน 1 : 2 (ปูนซีเมนต์ : ทราย
หยาบ) เทใส่ แบบให้หนา 0.04 เมตร ปาดผิวหน้าให้เรี ยบและได้ความหนา ปล่อยให้ปูนผิวหมาดเกือบ
่
แห้ง แล้วตัดแบ้งออกเป็ นตาหมารุ กขนาด 0.05 x 0.05 เมตรสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ใช้ลวดผูกเหล็กเส้นคูยาว 0.02
เมตร พับทบกันเหลือ 0.10 เมตร สอดส่ วนหัวลวดที่พบกดลงไปบนหน้าลูกปูนในส่ วนกลางชิ้นลูกปูนที่
ั
แบ่งแล้วครึ่ งความหนา (2 ซม.) แล้วใช้นิ้วกดรอยลวดให้หน้าปูนเต็ม ทิ้งให้ลูกปูนแข็ง 1 วัน รุ่ งขึ้นแบ่ง
ั
ลูกปูนออกเป็ นก้อนๆ หนุนเหล็กตะแกรงโดยผูกลวดบนลูกปูนที่ฝ่ังไว้กบเหล็กตะแกรงด้วย
แสดงการประกอบเหล็กตะแกรงสําหรั บฐานรากขนาดใหญ่ ติดตั้งเหล็กก่ อนตั้งแบบข้ าง

แสดงการวางเหล็กตะแกรงล่างแล้ว ช่างผูกเหล็กจะใช้ลวดทบคู่ สอดผูกเหล็กตะแกรงทุกรอยตัด
กันของเหล็กแบบสาแหรก ตามรู ปจะเห็นว่าผูกเหล็กก่อนแล้วตั้งแบบภายหลัง เนื่องจากเป็ นฐานรากขนาด
ใหญ่เหล็กมาก เพื่อให้สะดวกต่อการทํางาน ช่างเหล็กจะติดตั้งเหล็กตะแกรงก่อนตั้งแบบข้าง แต่ตองวาง
้
่
เหล็กให้อยูในเส้นที่ชีดไว้บนพื้นคอนกรี ตหยาบ ถ้าปล่อยให้เหล็กเส้นใดเส้นหนึ่งยืนจะทําให้ติดแบบ และ
่
ระยะห่ างระหว่างผิวคอนกรี ตกับผิวเหล็กระหว่าง 0.04 – 0.06 เมตร ถือว่าไม่ถูกต้องควรแก้ไข ต้องจัด
คนงานผูกเหล็กหลายคนเพราะเป็ นงานที่ตองผูกหลายจุดดัดของเหล็กตะแกรง ในการติดตั้งเหล็กแกนและ
้
เหล็กตะแกรงแล้วเสร็ จ ดังแสดงในรู ปที่ 7.27 และ 7.28 เมื่อผูกเหล็กตะแกรงทุกรอยดัดของเหล็กอย่าง
แน่นหนาแล้ว เละผูกเหล็กปลอกให้รัดรอบๆ ปลายเหล็กตะแกรงที่ยกขึ้นทั้งสองหัวในส่ วนเหล็กแกนเสา
เองจากเป็ นเสากลมเหล็กปลอกจะต้องกลมด้ว ควรเตรี ยมเหล็กปลอกมาใช้ 6 เปลาะ เริ่ มด้วยการหาศูนย์
เสาโดยการขึงเชือกผ่านแนวเหล็กที่งแนวนอนและแนวตั้ง วัดระยะออกไปด้านละเท่าๆกัน ตามระยะรัศมี
ของเสา นําเหล็กแกนเสาวางตามแนวเหล็กปลอกที่ขีดให้โค้งเป็ นแนวให้ต้ งเหล็กแกนตามความโค้งกลม
ั
ของเหล็กปลอกต้นแบบ สอดเหล็กแกนลงไปทีละตัว และเชื่อมติดกับหลังเหล็กตะแกงตามระยะที่ขีด
ํ
กําหนด เช่น 0.07 เมตรเท่าๆ กันโดยรอบตามจํานานเหล็กที่กาหนดไว้ให้เสริ มเป็ นเหล็กแกน เหล็กปลอก
จะผูกเพียง 4 เปลาะในช่วงความหนาฐานราก ล่วนบนจะผูกเหล็กปลอกยึดอีก 1 – 2 เปลาะเพื่อให้เหล็ก
ตั้งคงรู ป ควรใช้การเชื่อมติดแน่นอนกว่าการผูกด้วยลวด และต้องให้คงรู ปได้เร็ วเมื่อยกเหล็กตั้งขึ้น โดยมี
่ ่
คนยกปลายเหล็กยืนอยูบนนังร้านหรื อปลายเหล็ก และที่ส่วนโคนเหล็กศูนย์เสาจะต้องถูกต้อง ตรวจสอบ
ิ
ให้แน่นอน จึงจะวางเหล็กแกนเสาไม่ผดที่
หลังจากนั้นให้เสริ มเหล็กตะแกรงบน รับไว้ดวยเหล็กที่ต่อจากหัวเสาเข็มงอฉากแล้ว การยึดเหล็ก
้
คํ้ายันและการตั้งโครงไม้เพื่อความมันคงและเป็ นแนวทางที่จะเทคอนกรี ตได้ ต้องไม่ลืมผูกลูกปูนด้านข้าง
่
ของเหล็กให้รอบทุกระยะ 1.00 เมตร เพือให้คอนกรี ตหุมเหล็กได้สมํ่าเสมอ ถูกต้อง เป็ นต้น
่
้

แสดงการประกอบเหล็กตะแกรงและเหล็กแกนเสาตอม่ อ ภายหลังจากการตีไม้ คายันรอบ
้ํ

(4) การเทคอนกรีตฐานราก
ดังได้กล่าวถึงความสําคัญของงานฐานราก โดยเฉพาะคอนกรี ตซึ่งเป็ นวัสดุตวหนึ่ง.ที่ร่วมกับงาน
ั
เหล็กเสริ มเพื่อสร้างโครงอาคารให้มนคงแข็งแรงได้ สามารถคํานวณออกเป็ นตัวเลขให้กิดความมันใจใน
ั่
่
การออกแบบอาคาร ทั้งนี้งานส่ วนหนึ่งควรได้รับการปฏิบติที่ถูกต้อง และการนําคอนกรี ตมาทดสอบให้ได้
ั
มาตรฐานในห้องประลองคอนกรี ต
การค้นคว้าทดลองส่ วนหนึ่งทําให้สามารถผลิตคอนกรี ตที่มีคุณภาพสูงได้ อันเนื่องมาจากชนิดของ
วัสดุ คุณสมบัติ อัตราส่ วนผสม การผสม การเท การทําให้คอนกรี ตแน่น และการบํารุ งรักษาหรื อการบ่ม
คอนกรี ต ความรู ้ดงกล่าวได้อธิบายไว้ในเอกสารหลายแห่ง อย่างไรก็ดีจาเป็ นที่จะต้องกล่าวถึงกันอยูเ่ พื่อ
ั
ํ
ไม่ให้เกิดการผิดพลาดอันเกิดจากความรู ้และไม่เข้าใจ สําหรับการลงทุนกับการทําคอนกรี ตเป็ นราคาคงที่แต่
่
คุณภาพของคอนกรี ตเปลี่ยนไป ไม่วาจะทําคอนกรี ตชนิดเหลว คอนกรี ตชนิดปานกลางคอนกรี ตชนิดดี
และคอนกรี ตชนิดดีมากหรื อเรี ยกว่าคอนกรี ตกําลังสูง มาตรฐานการผลิตคอนกรี ตให้มีคุณภาพสูงนั้น ต้อง
มีการทดสอบคุณสมบัติวสดุผสม การคํานวณออกแบบอัตราส่ วนผสม การผสมที่ถูกต้องตามหลักการของ
ั
คอนกรี ต และการผสมสารตัวเร่ งหรื อสารตัวหน่วง เพือให้คอนกรี ตมีคุณสมบัติสอดคล้องกับงานที่จะใช้
่
คอนกรี ตนั้น ควรนําคอนกรี ตผสมเสร็ จ (Ready Mixed Concrete) มาใช้
งานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ส่วนมากแล้ว ประกอบด้วยการผสมคอนกรี ตในหน่วยงานส่ วนหนึ่ง
่
กับการใช้คอกรี ตผสมเสร็ จ ทั้งนี้จะต้องพิจารณาอย่างเหมาะสมตามความจําเป็ นกับการใช้คอนกรี ตแม้วา
ราคาของคอนกรี ตผสมเสร็ จจะมีราคาสูงกว่าคอนกรี ตที่ผสมเองในหน่วยงานบ้าง แต่การผสมคอนกรี ตเองก็
มีผลกระทบอื่น เช่น ไม่มีสถานที่กองวัสดุ ช่างผสมไม่มีความชํานาญ และขาดแคลนคนงานผสม รวมทั้ง
การสูญเสี ยวัสดุระหว่างการผสม และการกองวัสดุไว้เป็ นจํานวนมาก ในที่สุดควรเลือกคอนกรี ตผสมเสร็ จ
จะใช้ได้ผลดีกว่า เป็ นต้น
โครงสร้ างตัวอาคาร
งานเสา
เสาจะรับนํ้าหนักจากคานหรื อพื้นไร้คานและลงสู่ ฐานรากที่มีเข็มรับทอดนํ้าหนักถ่ายลงยังดินหรื อหิ นแข็ง
่
ในระดับลึก จึงถือได้วาโครงสร้างอาคารในส่ วนที่เป็ นเสามีความสําคัญในด้านความแข็งแรงและความ
มันคงของอาคาร การรับนํ้าหนักจากขั้นบนสุ ดจะน้อยและเพิ่มนําหนักขึ้นมาเป็ นลําดับ จนกระทังเสาตอม่อ
่
่
รับนํ้าหนักได้มากที่สุด ฉะนั้นขนาดของเสาและจํานวนของเสาตอม่อทีมีขนาดใหญ่ จะลดลงเป็ นขนาดเล็ก
่ ั
เมื่ออยูที่ช้ นสูงสุ ด ขณะเดียวกันขนาดและจํานวนของเหล็กจะลดลงไปด้วย แต่วิศวกรยังคงออกแบบเป็ นช่วง
ของการลดจํานวนเหล็ก โดยรักษาขนาดของเสาคงที่เอาไว้ ตามแบบสถาปัตยกรรมกําหนด
(1) งานเหล็กเสริมคอนกรีตเสา
โดยเฉพาะเสาอาคารสู งจะมีขนาดใหญ่ จะเป็ นเหลี่ยมจัตุรัสหรื อสี่ เหลี่ยมผืนผ้า เฉพาะเหล็กที่เสริ ม
จะเป็ นเหล็กขนาดใหญ่ มีจานวนหลายเส้นในชิ้นแรกๆ และลดเหล็กลงเมื่อสูงขึ้นไป มีเหล็กแกนและเหล็ก
ํ
่
ปลอกที่เสริ มอยูในคอนกรี ตเสา
่
1. เหล็กแกนเสา มีความสําคัญต่อการเสริ มโครงสร้างเสา เหล็กแกนจะอยูตอนริ มของเสามากเท่าที่
จําเป็ น นอกจากจะรับแรงอัดด้านบนแล้ว เสายังต้องช่วยแรงดัดด้านผิวข้างเมื่อเกิดการงอ จึงต้องทําการ
ออกแบบเป็ นเสาสั้นหรื อเสายาว
2. เหล็กปลอกเสา การเสริ มเหล็กแกนของแต่ละระดับความสูงอาจลดขนาดหรื อลดจํานวนเหล็ก
แกนลงตามการออกแบบของวิศวกร และการเปลี่ยนตําแหน่งที่เสริ มเหล็กแกนหรื อการเสริ มเหล็กแกนที่มี
ขนาดลดลง ทําให้ตองคิดเหล็กปลอกของแต่ละช่วงนั้นออกมา อย่างไรก็ตาม ช่างเหล็กจะปรับขนาดที่จะใช้
้
ในกรณี ที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โดยพิจารณาว่าการเพิ่มด้วยระยะเพียงเล็กน้อยและโตกว่าบ้าง อาจทําให้การ
เสริ มเหล็กปลอกมีแต่ละขนาดที่จะต้องตัดไว้ใช้นอยลง ทําให้ประหยัดเวลา หรื อสามารถนําเหล็กปลอกมา
้
ใช้ชดเชยกันได้เมื่อเหล็กมีขนาดใกล้เคียงกัน
3. เหล็กตะแกรงฐานเสาตอม่ อ จะดูจากแบบขยายฐานราก โดยเฉพาะต้องรู ้ตาแหน่งของเหล็ก
ํ
ตะแกรง ซึ่งปลายงอฉากของเหล็กแกนเสาจะวางบนเหล็กตะแกรงเป็ นการเชื่อมติด 3-4 จุด แทนการผูก จะ
ทําให้ติดตั้งได้เร็ วและสะดวก มีความแข็งแรงกว่าการผูกด้วย
4. เทคนิคของการเสริมเหล็กเสา เสาขนาดใหญ่จะมีจานวนเหล็กแกนหลายเส้น เมื่อเรี ยงเหล็กแกน
ํ
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา
4.ส่วนเนื้อหา

More Related Content

More from Pongpob Srisaman

Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Pongpob Srisaman
 
8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรมPongpob Srisaman
 
6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบPongpob Srisaman
 
5.ส่วนสรุปเนื้อหา
5.ส่วนสรุปเนื้อหา5.ส่วนสรุปเนื้อหา
5.ส่วนสรุปเนื้อหาPongpob Srisaman
 
3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำPongpob Srisaman
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)Pongpob Srisaman
 
7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)Pongpob Srisaman
 

More from Pongpob Srisaman (8)

Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)Basic physics calculator c++(flowchart)
Basic physics calculator c++(flowchart)
 
8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม8.บรรณานุกรม
8.บรรณานุกรม
 
6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ6.รูปภาพประกอบ
6.รูปภาพประกอบ
 
5.ส่วนสรุปเนื้อหา
5.ส่วนสรุปเนื้อหา5.ส่วนสรุปเนื้อหา
5.ส่วนสรุปเนื้อหา
 
3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ3.ส่วนบทนำ
3.ส่วนบทนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
1.ส่วนหน้าปก (รายชื่อผู้จัดทำ)
 
7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)7.ภาคผนวก (แปลน)
7.ภาคผนวก (แปลน)
 

4.ส่วนเนื้อหา

  • 1. โครงสร้ างฐานราก งานดินและเสาเข็ม งานดินและเสาเข็มเป็ นส่ วนประกอบกัน เพื่อให้เกิดความแข็งแรงแก่อาคาร วิศวกรออกแบบจะเป็ นผู ้ คํานวณการรับน้าหนักของเสาเข็ม จะต้องรู ้ค่าความแข็งแรงของพื้นดิน ซึ่งเนื่องมาจากการเจาะดินบริ เวณที่ ก่อสร้างหรื อบริ เวณใกล้เคียง นําดินแต่ละชั้นไปทดสอบในห้องประลองเต่ละภูมิประเทศความแข็งแรงของ พื้นดินย่อมมีความแตกต่างกัน จึงอนุโลมให้ใช้ค่าความแข็งแรงต่อท้องที่ไม่ได้ โดยเฉพาะบริ เวณที่ราบลุ่ม แม่นาแถบ กรุ งเทพ ธนบุรี และจังหวัดใกล้เคียง จะมีช้ นดินแตกต่างไม่มากนัก อย่างไรก็ตามเพื่อให้เกิด ้ ั ความมันคงแข็งแรงแก่อาคสร ควรเจาะดินเพื่อหาค่าความแข็งแรงของดินโดยเฉพาะชั้นหิ นเพื่อให้ปลาย ่ เข็มหยันลงไปอย่างมันคง ่ ่ (1) การรับนําหนักดินและเสาเข็ม ้ ่ ดังที่กล่าวไว้วาทั้งดินและเข็มมีส่วนร่ วมกันต้านทานนํ้าหนักบรรทุกจากบานรากไว้ แต่การ คํานวณสามารถออกแบบให้เข็มรับนํ้าหนักเป็ นลักษณะเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กหยิงปลายเสาลงบนหิ นแข็ง และอาศัยฐานหิ นแข็งรับกลุ่มเสาเข็มไว้เท่านั้น - การรับนําหนักของดิน ้ ในวิชาการทางปฐพีกลศาสตร์ (Soil mcchanic) ได้กล่าวลักษณะดินที่แตกต่างกัน บางก้อนเล็กมาก ้ ้ ้ และมีกอนใหญ่กลับ หรื อมีกอนเล็กตลอดและมีกอนใหญ่ตอนปลายเล็กน้อย หรื อเป็ นก้อนเล็กๆ หรื อก้อน ใหญ่ๆเหมือนกันหมด ลักษณะที่รูปร่ างแตกต่างกันไปด้วย การประกอบจึงย่อมมีความแตกต่างกันไป ชนิด ของการเรี ยงก้อนเล็กไปก้อนใหญ่ข้ ึนเป็ นลําดับลึก ถือว่าเป็ นดินชนิดดี(Wall Grade) ความแข็งแรงของดิน ่ เพิ่มขึ้น หรื อบางที่ดินมีความแข็งแรงตํ่าเมื่ออยูลึกลงไป ขณะเดียวกันดินที่แช่นาอยูระยะหนึ่ง เมื่อนํ้าลดลง ้ ่ อาจทําให้ดินทรุ ดตัวไปด้วย เรี ยกว่าคอนโซลิเดชัน (Consolidation) ่ ดินที่ได้รับการสันสะเทือนอันเนื่องมาจากเครื่ องจักรหรื อยวดยาน หรื อจากการเจาะตอกในบริ เวณ ่ ใกล้เคียงที่มีการก่อสร้าง หรื ออาจถูกนํ้าใต้ดินกัดเซาะทําลายทําให้ดินพังหรื อทําให้เป็ นช่องโหว่ เหตุ ่ ดังกล่าวสามารถแก้ไขและควบคุมมิให้เกิดการเสี ยหายต่อการก่อสร้างได้ เม้วาจะมีการป้ องกันการทรุ ดตัว ของดินใต้ฐานรากจากการหาค่าแรงเฉื่ อนของดิน เพื่อกําหนดกําลังรับนํ้าหนักที่ปลอดภัยของดิน ที่ยอมให้ นําไปใช้ในการออกแบบฐานรากของอาคารได้อย่างปลอดภัยการทรุ ดตัวของดินภายใต้น้ าหนักบรรทุกทําให้ ํ ่ ดินเกิดการเสี ยรู ปอันเนื่องมาจากการยืดหยุนของดินและสามารถคืนสภาพเดิมได้เมื่อนํานํ้าหนักบรรทุกออก
  • 2. ส่ วนการเสี ยรู ปแบบพลาสติก คือ ดินจะทะเล้นไหลเลื่อนออกด้านข้าง เมื่อดินเป็ นลักษณะเป็ นลักษณะนี้ จะไม่สามารถคืนภาพเดิมได้ ส่ วนคอนโซลิเดชันของดินอาจทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านปริ มาตร ่ และโครงสร้างของดินเมื่อนํ้าใต้ดินถูกขับออกมาสังเกตได้จากฐานรากที่ดินทรุ ดตัวแบบพลาสติกมักเกิดขึ้น ทันทีเมื่อฐานรับนํ้าหนักเป็ นพวกดินเสี ยดทาน เช่น ดินปนทราย ที่มีการซึมผ่านของนํ้าได้ดี ส่ วนดินอัน เกิดจากคอนโซลิเดชันมักเป็ นดินจําพวกยึดเกาะหรื อดินเหนียว การทรุ ดตัวจะเกิดขึ้นช้าๆโดยเกิด ่ ่ ต่อเนื่องกันมาเป็ นปี แม้วาจะขยายฐานให้มีพ้ืนที่มากขึ้นก็ไม่สามารถลดปริ มาณการทรุ ดตัวลงให้อยูใน ระดับที่ปลอดภัยได้ จึงควรนําเอาวิธีก่รบดอัดดินให้แน่นโดยการทําดินธรรมชาติให้มีคุณสมบัติแข็งแรงขึ้น ได้ดวยวิธีกล (Mechanical Mcthod) คือการกระแทกด้วยลูกตุม หรื อลูกกลิ้งแกนหมุนนอกศูนย์ หรื อใช้ ้ ้ บดด้วยลูกกลิ้งตีนแกละสําหรับดินเหนียว หรื อสามารถอัดดินให้แน่นด้วยการใช้เข็มคอนกรี ตเสริ มเหล็ก หรื อเข็มทราย เป็ นต้น สําหรับวิธีทางกายภาพ (Physical Method หรื อ Preconsolidation) คือ การอัดดินคายนํ้า โดยทํา การลดระดับของนํ้าใต้ดิน ใช้หลุมทรายระบายนํ้าในแนวดิ่งหรื อการใช้กระแสไฟฟ้ า เพื่อช่วยกระบวนการ คอนโซลิเดชันของดินเหนียวอ่อน เช่น ดินแถบชายทะเลหรื อปากแม่น้ า ส่ วนวิธีทางเคมี (Chemical ํ ่ Method) ทําโดยให้ความร้อนถึง 800 องศาเซลเซียส ทําให้ดินจับตัวกันด้วยโซเดียมซิลิเกต หรื อเกลือบาง ชนิด บางทีนาปูนซีเมนต์หรื อบิทูมินสมายึดเกาะดิน หรื อด้วยวิธีเคมีไฟฟ้ า เรี ยก อิเล็กโทรเคมีคอลซอยล์ ํ ั สเตบิไลเซชัน (Electrochemical Soil Stabilization) ่ ข้อสังเกตของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ได้กล่าวถึงเรื่ องของดินตะกอนที่เกิดใหม่ ่ จะอยูตอนบนในบริ เวณภาคกลางใกล้ปากอ่าวไทย บางแห่งมีช้ นดินหนาถึง 20.00 เมตร วิศวกรออกแบบ ั ควรได้มีการทดสอบการรับนํ้าหนักของดินก่อนด้วย - การรับนําหนักของเข็ม ้ ลักษณะการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม อาจเป็ นการรับนํ้าหนักแต่ละต้น หรื อการให้เข็มรับนํ้าหนัก เป็ นกลุ่ม (Pile Group) แจ่ขณะเดียวกันระยะของเข็มแต่ละต้นควรไม่นอยกว่า 3 เท่าของเส้นผ่าน ้ ศูนย์กลางของเสาเข็ม (3d) นั้น เพราะเมื่อตอกชิดกันมาก จะเป็ นสาเหตุให้กระเปาะความเค้นสูง (High Stress Zones) การรับนํ้าหนักของเสาเข็มมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ - เสาเข็มรับความฝื ด (Friction Piles) -เสาเข็มรับความฝื ดและปลายเข็ม (Friction and End Bearing Piles)
  • 3. (2) การเจาะและกดเข็ม การเจาะดินแล้วหล่อคอนกรี ต ทําได้ท้ งเข็มขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่มีประโยชน์สาคัญคือ ไม่ทาให้ ั ํ ํ อาคารใกล้เคียงกระทบกระเทือนจากการตอก หรื อการทะเล้นของดินไปดันส่ วนของอาคารใต้ระดับพื้นดิน ทําให้อาคารใกล้เคียงเกิดความเสี ยหาย โดยเฉพาะการใช้เข็มขนาดใหญ่และรับนํ้าหนักมาก มีขอจํากัดต้อง ้ ใช้ระบบการเจาะดิน แล้วหล่อคอนกรี ตเข็มในภายหลังการสอดเหล็กลงไป ่ งานเข็มมีความสําคัญต่องานฐานรากจองอาคาร เมื่อรากฐานแข็งแรงส่ วนบนของอคารจะตั้งอยูได้ อย่างปลอดภัย ซึ่งเกี่ยวพันกับความแข็งแรงของดิน การรับนํ้าหนักจองเข็ม และเทคนิคการส่ งเข็มให้ลงไป รองรับนํ้าหนักได้อย่างเชื่อมัน งามเข็มเจาะและกดเป็ นงานที่นิยมกันมาก โดยอาศัยเข็มกลมมีแกนกลวงใช้ ่ ดอกสว่านสอดส่ วนกลวงเข็มลงไปเจาะดินได้ก่อนกด ลําพังเพียงกดลงไปจะไม่ถึงระดับดินแข็งจะกดไม่ลง จึงนําเอาวิธีเจาะให้ดินเป็ นรู เพื่อลดความแน่นของดินลงแล้วจึงกดเข็มตามลงไป -การเตรียมงานเข็ม ปกติใช้เป็ นงานเทคนิคเฉพาะ เมื่อระบุใช้เข็ม ค.ส.ล. ลักษณะแรงเหวียงหรื อเรี ยกว่าเข็มสปัน เป็ น ่ เข็มที่ลกษณะกลวง โดยเข็มชนิดนี้มีปลายเข็มเป็ นเหล็กหล่อแหลมให้ตอกลงให้ง่าย ั 1.การปรับบริ เวณ บริ เวณที่จะทําการเจาะและกดเข็ม ควรปรับผิวดินหรื อทรายถมไว้ค่อนข้างเรี ยบ มีระดับตํ่าใกล้เคียง กัน เมือตอกหลักให้ตาแหน่งของศูนย์เสาเข็ม ควรพ่นหรื อทาสี แดงทําให้แลเห็นได้ชด การคายดินจากการ ํ ั เจาะของดอกสว่านควรเป็ นบริ เวณใกล้ที่กดเข็มลงไปแล้ว เพราะการตักดินใส่ รถจะไม่ไปทําลายหลักที่ปัก ให้ศูนย์เสาเข็มเสี ยหายต้องทําใหม่อีก เมื่อเข็มถูกตอกลงลึกในระดับหนึ่งตอกไม่ลงแล้วแม้จะยังไม่ถึงระดับ ฐานรากก็ตามอาศัยการตัดหัวเสาเข็มออกตามความลึกที่ตองการ ฉะนั้นระดับจูกต้องมากถ้าปรับผิวดินให้ ้ เรี ยบปั้นจันตอกเสาเข็มจะให้ระดับหัวเข็มที่ใกล้เคียงมาก เป็ นต้น ่ 2.การวางเข็ม สําหรับโรงงานหล่อเข็มมักผลิตเข็มไม่ทนต่อการใช้งาน อาจมีอุปสรรคทางด้านวัสดุที่มีราคาสูงขึ้น ั หรื อผลิตวัสดุมาป้ อนโรงงานไม่ทน เช่น ปูนซีเมนต์ เหล็ก อนึ่ง การหล่อเข็มไว้ล่วงหน้าเป็ นจํานวนมากต้อง ั ใช้การลงทุนสู งและใช้บริ เวณวางผลิตผลกว้าง เพราะเป็ นวัสดุสาเร็ จที่มีขนาดยาวและขนาดหลากหลายตาม ํ ่ ความต้องการตามการเลือกใช้ของวิศวกรผูออกแบบ อย่างไรก็ดี ขนาดของเข็มจะระบุอยูในเอกสารของ ้ ผูผลิตเข็มที่เป็ นคู่มือให้วิศวกรให้เลือกใช้ขณะออกแบบได้ การสังตามขนาดระบุจะง่ายและรวดเร็ วต่อการ ้ ่ จัดส่ งเข็ม การส่ งเข็มมาใช้คงไม่ยอมให้รถส่ งวางเข็มตามความสะดวก เนื่องจากเข็มเป็ นวัสดุสาเร็ จขนาดใหญ่ ํ ดังได้ทราบแล้วและมีน้ าหนักมาก การย้ายเข็มทําได้ยากนอกจากต้องใช้รําตักช่วยลากย้ายเข็มแต่ไม่ควรทํา ํ
  • 4. ่ เป็ นประจํา การย้ายเข็มของรถตักเป็ นการทํางานช่วยงานเจาะและกดอยูตลอดเวลาแล้ว แต่ไม่ใช่ตองย้ายทั้ง ้ กองที่ห่างไกลคนละฝั่งของพื้นที่ที่จะเจาะและกดเข็มในช่วงแรกๆ จะต้องวางแผนและกําหนดตําแหน่งกอง ่ เข็มซ้อนกันไว้ เมื่อต้องกการใช้จะใช้สลิงจองรถเจาะลากเข็มให้เข้าใกล้ได้ จุงกล่าวได้วาตําแหน่งที่กองเข็ม อาจเป็ น 4-5 กอง ครอบคลุมเต็มพื้นที่ทาการเจาะและกดเข็ม สําหรับพื้นที่ถมทรายหรื อดินแล้วปรับพื้น เรี ยบ ํ ั ้ ่ พอจะทําให้การซ้อนกันของเข็มมันคงกองเข็มไม่พงทลายเป็ นอันตรายต่อผูอยูใกล้เคียง ่ ่ เมื่อเป็ นงานที่ค่อยๆปรับพื้นเป้ นช่วงๆไป การทํางานอยูในพื้นที่จากัด การส่ งเข็มมาจํานวนมากให้ ํ เป็ นปัญหาในการหาที่วางกองเข็ม จึงควรพิจารณาให้สอดคล้องกับการใช้เครื่ องเจาะและกดหรื อตอกด้วย งานเจาะและกดจะต้องมีความก้าวหน้าต่อไป ไม่มีปัญหาสําหรับหน้าที่ตอกส่ งเข็มลงใต้ดินเมื่อใช้ป้ ันจัน ่ ตอกเข็มอีกชุดหนึ่ง 3.การเตรี ยมรถเจาะและกด เนื่องจากรถแทรกเตอร์ประกอบด้วยอุปการณ์ที่มีน้ าหนักมาก การเคลื่อนย้ายในลักษณะครบเครื่ อง ํ ทําได้ยาก จําเป็ นต้องถอดชิ้นส่ วนที่เป็ นแกนประกับเข็ม แขนคํ้า และปรับแกนอีก 2 ตีว ประกอบด้วยหัว ้ ่ ้ ่ ั เจาะด้วยไฟฟ้ า ซึ่งมีกานกดคูดวยระบบไฮดรอริ กติดอยูกบหัวเจาะด้วย ใช้ลวดสลิงร้องดึงขึ้นไปบนรอกที่ ติดตั้งปลายแกนประกับเข็ม -การเจาะและกดเข็ม ทีมของเครื่ องเจาะและกดจะได้การบริ ษทขายเข็มผูแนะนํามา หรื อบริ ษทเป็ นผูจดทําร่ วมไปเท่ากับ ั ้ ั ้ั ว่าการส่ งเข็มกับงานเจาะและกดเป็ นส่วนงานเดียวกัน ทําให้เกิดการรับผิดชอบในส่ วนงานเข็มไปได้งาน หนึ่ง การเจาะและกดเข็มมีลาดับขั้นการทํางานดังนี้ ํ 1.การยกเข็มขึ้นประกับแกน 2.การเจาะและกดเข็ม 3.การต่อเข็มต้นที่ 2 4.การเจาะและกดเข็มต้นที่ 2 5.การตอกเข็มลงในระดับกําหนด
  • 5. (ก) แสดงการยกตั้งเข็มต้นแรกติดกับเครื่ องเจาะ (ข) แสดงการรัดเข็มแนบแกนบังคับให้เข็มตั้งดิ่ง และให้ตรงศูนย์
  • 6. (ค) แสดงการเจาะและกดเข็มต้นแรกลงระดับใต้ดิน ในทางดิ่ง (ง) แสดงการนําเข็มต้นที่ 2 ขึ้นต่อกับเข็มต้นแรก ต่อแกนสว่านเจาะและเชื่อมรอบรอยต่อเข็ม
  • 7. (จ) แสดงเข็มจะต่อต่อกันในแนวดิ่งและทําการเจาะ และกดต่อไปตลอดความยาว 24.00 เมตร (ฉ) แสดงการดึงดอกสว่านขึ้นและต่อเสาส่ งทําการ เจาะและกดเข็มลงใต้ดิน
  • 8. (ช) นําเสาส่ งต่อหัวเข็มต้นสุ ดท้าย เพื่อเจาะดินและกด เข็มลงไปในระดับที่ตองการ(ในกรณี ที่ไม่ใช้วิธีตอก) ้ (ซ) แสดงการตอกหัวเข็มลงให้ถึงระดับและ จด Blow Count ทุกระยะ 30 ซม. ตลอดความ ยาวเสาส่ ง
  • 9. (ฌ) แสดงการตอกส่ งเข็มลงในระดับกําหนด (3) การขุดดินฐานราก เมื่อทําการตอกเข็มลงในระดับที่ตองการแล้ว งานระดับต่อไปเป็ นการขุดดินออกเพือการทําฐานราก ้ ่ ่ ้ ซึ่งการทํางานดินจะต่อเนื่องกับการปรับและตักดินระหว่างการเจาะและกดเข็มอยูดวย -การขุดดินด้ วยเครื่องจักรกล เครื่ องจักรที่ใช้งานดินด้วยการใช้รถขดดิน และ รถตักดินด้านหน้าตีนตะขาบหรื อล้อยาง เนื่องจาก เครื่ องจักรทั้ง 2 ชนิด มีหน้าที่เพียงพอกับการใช้งานในการขุดดินออกจากฐานราก รวมไปถึงดินทั้งหมดของ ห้องใต้ดิน โดยจํานวนดินจะรู ้ปริ มาตรที่แน่นอน
  • 10. สําหรับมาตรฐานการขุดของเครื่ องจักรแต่ละชนิดจําเป็ นต้องนํามาพิจารณาร่ วมด้วย 1.การใช้รถแทรกเตอร์กระเช้าตักดิน หรื อบางทีเรี ยกว่ารถตักดิน ส่ วนประกอบคือ ตัวรถเป็ นรถตีนตะขาบสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปได้ ใกล้สถานที่ขดได้มากเนื่องจากมีน้ าหนักของเครื่ องบังคับการขุดและยกแขน ส่ วนที่สองคือแขนยกกระเช้า ุ ํ สามารถเปลี่ยนความยาวได้ ส่ วนประกอบที่สามคือกระเช้า ใช้ในการครู ดดินเป็ นระยะทาง 4-5 เมตรจนดิน ่ บรรจุเต็มกระเช้าแล้วจึงยกขึ้น ดินและนํ้าจะถูกบรรจุอยูในกระเช้า 2.การใช้รถแทรกเตอร์ (ล้อยาง) ตักดินด้านหน้า บางชนิดใช้สายพานเหล็ก รถตักบางแบบขุดด้านหลัง การใช้ลอยาก 4 ล้อ ทําให้เคลื่อนย้ายรถได้ ้ รวดเร็ ว และสามารถเข้าไปในแนวถนนที่แคบได้ งานสําคัญคือ ตักดินที่เกินต้องการหรื อดินที่เป็ นโลนใช้ การไม่ได้ใส่ รถบรรทุกย้ายไปเทนอกบริ เวณงานก่อนสร้าง นอกจากนี้ยงช่วยเกลี่ยดินหรื อทรายถมก้นหลุม เมื่อหล่อฐานรากเสร็ จ ยังใช้ตกคอนกรี ตยกขึ้นรถได้ บางครั้งใช้ในการยกเหล็ก ั -การขุดดินด้ วยแรงคน เครื่ องจักรทํางานได้ไม่หมดของงาน เพราะเครื่ องจักรมีขนาดใหญ่การทํางานอาจไปกระทบกับ เสาเข็ม หรื อเครื่ องจักรไม่สามารถเข้าไปขุดในซอกระหว่างเสาได้ จึงต้องใช้แรงคน -การปองกันดินพัง ้ ถ้าเป็ นขุดหลุมเล็กหรื อไม่มีอาคารข้างเคียง การระวงดินพังทลายจะน้อยลง แต่ถาขุดเต็มพื้นที่สร้าง ้ เป็ นห้องใต้ดิน หรื อให้ทางานสะดวกต้องกันดินพังอย่างจริ งจัง ต้องคํานวณกําลังของดินทางข้าง ซึ่งจะ ํ ทํางานได้ดงนี้ ั 1.การขุดหลุมเล็ก ปัญหามักมีไม่มาก อาจขุดด้วยรถขุดหรื อแรงงานคน ส่ วนความลาดของผลิงหลุมจะช่วยลดการ พังทลายลงได้ เมื่อใช้รถขุดดินทําให้ทางานได้รวดเร็ วและลึก แต่จาทําให้ผนังตั้งตรงทําให้พงทลายง่าย การ ํ ํ ั พังทลายของดินมักเกิดจากนํ้าหนักของดิน หรื อนํ้าหนักจากรถที่เข้าใกล้หลุมทําให้ดินปากหลุมพังง่าย ทั้งนี้ ขึ้นกับลักษณะของดินด้วยว่าเป็ นแบบใด โดยดินทรายหรื อดินร่ วนการยึดเกาะจะน้อยทําให้เกิดการพังทลาย ได้มาก ปกติระยะช่วงการขุดหลุมจนเสร็ จดินจะยังไม่พงทลายลงมา เพราะดินยังไม่ถกรบกวนและไม่มี ั ู นํ้าหนักบรรทุก โดยเฉพาะการขุดหลุมใกล้ถนนที่มีรถวิ่ง จะเกิดแรงสะเทือนทําให้ดินผนิงหลุมอาจพังง ทลายลงได้ เมื่อขุดได้ลึกประมาณ 2.00 เมตร ควรรี บคํ้ายันไว้ก่อนที่ผนังจะพังลงมา 2.การขุดหลุมเต็มพื้นที่ เป็ นงานดินที่ตองการหลักการคํานวณการดินของดินรอบๆพื้นที่ของการสร้างอาคาร เมื่อขุดดินออก ้ หมดแล้วสามารถทําการหล่อฐานและทําห้องใต้ดินได้สะดวก และไม่ทาให้เกิดความเสี ยหายแกอาคารหรื อ ํ พื้นที่ใกล้เคียง มีวิธีการดังนี้
  • 11. 2.1 การปั กเข็มพืด (Sheet Piles) เข็มพืดเป็ นรู ปตัวยู และทําด้วยเหล็กรี ด ปี กทั้งสองข้างจะเป็ นห่ วงโค้งงตลอดความยาวเข็ม เพื่อให้เกิดการซ้อนกันอย่างแน่นหนา ความยาวของเข็มพื่ดมีขนาด 6.00 – 12.00 เมตร รู ปแสดงการปั ก และกดเข็มพืดลงไปเพื่อที่จะทําการขุดดินออก 2.2 การกดเข็มพืด ให้นาหัวเข็มที่ประกอบด้วยเครื่ องสันมากดเข็มพืด ด้วยนํ้าหนักของงหัวกดที่จบอยูบนหัว ํ ั ่ ่ เข็มพืดแต่ละตัวและแรงสันสะเทือน จะทําให้เข็มพืดถูกกดดินทั้งๆที่ปีกเข็มยังสอดคล้องกันอยู่ โดย ่ การกดเข็มพืดโดยรอบทําให้ป้องกันดินโดยรอบพังลงมา และป้ องกันนํ้ารอบๆ บริ เวณเข้าได้ดวย ้ 2.3 การขุดดินออก เนื่องจากต้องขุดดินจํานวนมากออกจากพื้นที่จนสุ ดแนวขอบของเข็มพืดนความลึก 6.00 – ่ 8.00 เมตร แต่ส่วนปลายจองเข็มยังคงปักอยูในดินลึก 2.00 – 4.00 เมตร มักทําการเช่าเข็มพืดมากกว่า ซื้อ แม้แต่การตอกและกดเข็มลงไป บริ ษทผูให้เช่าจะทําการตอกและกดห้ามข้อตกลงได้ เพราะ ั ้ ความชํานาญเป็ นเรื่ องสําคัญทําให้เกิดความรวดเร็ ว ตอกและกดได้อย่างถูกต้อง จําเป็ นต้องใช้เครื่ อง กดเฉพาะด้วย
  • 12. การขุดดินขึ้นอาจทําทางให้รถบรรทุกลงไปขนดินจากพื้นล่างที่ลึกลงไป ลําพังใช้รถตักดินขึ้นอย่าง เดียวไม่พอ แม้แต่รถขนดินขนาดเล็กก็นามาใช้ขนดินจากพื้นล่างขึ้นมาด้านบนพื้นผิดดินได้ เมื่อได้ขดดิน ํ ุ ขึ้นมาหมดจะเห็นหัวเข็มที่ได้หล่อหรื อกดไว้ก่อนทํางานดิน และดําเนินการทําฐานรากต่อไป โครงเหล็กที่ค้ า ํ ่ ดินไว้จะเปลี่ยนการคํ้าและยึดได้บางถ้าติดขัดงานที่จะก่อสร้าง แต่การตั้งโครงจะนึกถึงโครงสร้างอยูแล้ว จะ ้ รื้ อโครงเหล็กคํ้ากันดินพังออกภายหลังจากการหล่อฐานราก การเทพื้นห้องใต้ดิน การหล่อเสาตอม่อ และ เริ่ มถมทรายลงไปก่อน แล้วถอดโครงออกทีละชิ้นโดยไม่ทาให้ผนังกันดินที่ใช้เข็มพืดพังลงมาจนกว่าจะถม ํ ทรายดันเข็มพืดไว้ที่ความสูงระดับหนึ่ง การถอนจะใช้รถยกเข็มพืดแต่ละชินออก เมื่อแน่ใจ่วาไม่ทาให้ดิน ํ พงลงมาจนทําให้เกิดความเสี ยสายแก่อาคารใหญ่หรื อ พื้นถนนข้างเคียง หรื องานส่ วนโครงสร้างใต้ดินที่ สร้างไว้แล้ว วิศวกรโครงการต้องพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนที่จะถอนเข็มพืด ควรทํางานโครงสร้างใต้ ระดับดินเสร็ จ แล้วจึงถอนไล่ไปเมื่อถมทรายหรอหล่อผนังล้อมห้องใต้ดินแล้วเท่านั้น
  • 13. งานฐานราก ฐานรากทําหน้าที่รับนํ้าหนักของตัวอาคารทั้งหมดเพื่อถ่ายลงเสาเข็มให้เสาเข็มรับนํ้าหนักกรณี เข็ม เดี่ยว หรื อถ่ายนํ้าหนักลงดิน เพื่อให้ดินรับนํ้าหนักในกรณี ฐานแผ่ ในกรณี ฐานรากที่มีเสาเข็มต้นเดียว และถ้าการตอกเสาเข็มไม่ตรงตามศูนย์จะทําให้เกิดปัญหาตามมากับฐาน ราก คือ ฐานรากจะเกิดการพลิกควํ่า เมื่อรับนํ้าหนักจากตัวอาคาร ทําให้เกิดการทรุ ดตัวของอาคารหรื อเกิด รอยแตกร้าวตามคานหรื อเสาในภายหลัง แต่กรณี ของฐานรากที่มีเสาเข็มมากกว่าหนึ่งต้นจะเกิดปั ญหา ดังกล่าวน้อยมาก (1) งานคอนกรีตหยาบ แม้แต่อาคารขนาดเล็ก งานคอนกรี ตหยาบให้ความสําคัญต่อฐานราก ใช้หวรัดเข็มไม่ให้เลื่อน ั หลุดออกจากบริ เวณพื้นที่ใต้ฐานรากเป็ นสําคัญ แต่เมื่องานก่อสร้างใหญ่ข้ ึน งานคอนกรี ตหยาบยังให้ ประโยชน์มากขึ้นไปอีก เป็ นการแบ่งระหว่างดินหรื อทรายใต้ฐานรากโดยตรง นอกจากนี้คอนกรี ตหยาบ ที่เทในส่ วนรอบ ๆ ของฐานรากได้ง่าย รวมทั้งทํางานได้สะดวกเพื่อการยึด และ คํ้า โดยเฉพาะฐานราก ขนาดใหญ่ ผิวบนของคอนกรี ตหยาบต้องปาดให้ได้ระดับ จะสามารถประกอบตะแกรงได้สะดวกและ เรี ยบร้อย จึงจะไม่หนุนหรื อดันเหล็กตะแกรงขึ้นมาได้ -งานหาระดับ ในการก่อสร้าง งานระดับจะต้องตรวจสอบจากอแบบก่อสร้างใช้ชดเจนอีกครั้งภายหลังการให้ ั ระดับการขุดดินถึงก้นหลุมจะให้พลาดไม่ได้ 1. ระดับก้นหลุม หลังจากการขุดหลุมแล้ว ดูดนํ้าขึ้นให้แห้ง อาจมีน้ าซึมจากผนังดิน ด้านข้าง ํ บางแห่งมีมากจําเป็ นต้องติดตั้งเครื่ องสูบนํ้าตักวิดนํ้าขึ้นตลอดการทํางาน โดยขุดบริ เวณก้นหลุมมุมหนึ่ง ่ ที่อยูนอกแนวพื้นที่ที่จะเทคอนกรี ตหยาบ ขุดให้ลึกพอที่จะใช้ทรายถมไล่น้ าหรื อดินเหลวก้นหลุมให้ร่น ํ ออกไป การซับนํ้าครั้งหนึ่งใช้ทรายถมหนา 5 – 10 เซนติเมตร แสดงให้เห็นว่าระดับที่เผือไว้จากระดับความ ่ ํ ลึกที่กาหนดให้ขด 4.40 เมตร รวมความสูงของผัง 0.70 เมตร จึงเป็ นระดับดินเดิม จนถึงดินระดับก้นหลุม ุ
  • 14. 4.40 ลบ 0.70 เท่ากับ 3.70 เมตร ถ้าเพิ่มความลึกจากการปรับหน้าผิวดินด้วยทรายอีก 10 เซนติเมตรและความ หนาของคอนกรี ตหยาบอีก 10 เซนติเมตร เท่ากับต้องขุดดิน ให้ลึก 4.50 เมตร การได้ระดับก้นหลุมแล้วตามหัวหลักที่ตอกไว้ ถ้าฐานรากมีพ้นที่กว้างขนาด 4 x 6 เมตรจะต้อง ื ตอกหลักระแนงกับก้นหลุมเพิ่มอีก 5 – 10 หลัก ทัวบริ เวณ หรื อ ไปตั้งผังใต้ระดับดินก้นหลุม โดยใช้เชือก ่ เอ็นขึงบนหัวหลักแล้วปักระแนงเพิ่มทําระดับอีกได้ตามต้องการ หลักระแนงควรมีระยะห่ างกันประมาณ 1 เมตร ควรใช้ไม่ขนาด ½ “ x 3” หรื อ 1”x 3” ยาวประมาณ 0.50 – 0.60 เมตร มุมไม้เรี ยบตรง ให้ห่างจากฐาน รากประมาณ 0.60 – 0.70 เมตร ให้จมลงซัก 10 เซนติเมตร แต่ถาเป็ นผิวทรายจําเป็ นต้องตอกให้จมลงไป ้ ่ เพราะ ไม่ตองการให้ฝังอยูในทรายอัดแน่นเกินไป ้ 2. ระดับทรายก้นหลุม เมื่อทํามาถึงตอนนี้จะง่ายขึ้นมาก ไม่ตองหาความลึกอีกครั้ง เพราะ ้ ได้ฝากระดับของดินก้นหลุมไว้ที่หลักไม้คร่ าวด้วยการตอกตะปู เมื่อถมทรายแล้วอัดแน่นมีความหนา 0.10 เมตร เท่ากับว่าวัดระยะขึ้นมาจากแนวตะปูระดับก้นหลุมอีก 0.10 เมตรจะเป็ นระดับผิวทรายถม ขณะเดียวกันการตัดหัวเข็มให้ได้ระดับอาจทํามาก่อนภายหลังขุดดินครั้งแรก หรื อถ้าทิ้งมาจะ ต้องตัดหัวเข็มออกให้ได้ระดับเสี ยตอนนี้ โดยอาศัยการสอดไม้ลงมาจากระดับเชือกหลังฝังตามแนวดิ่ง การตัดหัวเข็มจะใช้เครื่ องตัดคอนกรี ตด้วยมือ ตัดตามแนวที่ขีดรอบเสาเข็ม ฝนให้คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม เสาเข็มเกือบขาด เหลือส่ วนคอนกรี ตใกล้ผวด้านกลวงให้ถึงเหล็กแรงดึงสู ง ตัดไปรอบ ๆ เสร็ จจากต้นหนึ่ง ิ แล้วไปอีกต้นหนึ่ง อย่าตัดให้ขาดไปเลยจะล้มทับคนตัดได้ 3. หาระดับผิวคอนกรี ตหยาบ เมื่อระดับคอนกรี ตหยาบสูงกว่าผิวทรายอัด 0.10 เมตร ฉะนั้นระดับ ผิวคอนกรี ตหยาบจึงเท่ากับระดับจากเชือกเอ็นหลังผังวัดลงมาที่ความลึก 4.20 เมตร เพราะระดับผิวดินกัน หลุม 4.40 เมตร ( เมื่อรวมความหนาคอนกรี ตหยาบอีก 0.10 เมตรแล้ว ) แต่ระดับผิวของการเทพื้นคอนกรี ต หยาบจะต้องเรี ยบได้ระดับและต้องตั้งแบบด้านข้างก่อน จึงจะถ่ายระดับลงที่พ้นแบบข้าง และ เทคอนกรี ต ื ภายหลัง
  • 15. -การตั้งแบบแบบข้ างเพือหล่อคอนกรีตหยาบ ่ การหล่อคอนกรี ตหยาบต้องทําการตั้งแบบข้างก่อน บางงานเทคอนกรี ตทั้งที่ยงไม่ได้ต้ งแบบ แต่การ ั ั ํ คอนกรี ตเต็มพื้นที่หลุม การตั้งแบบทําให้กาหนดความหนาของคอนกรี ตได้ และมีขนาดรู ปร่ างตามต้องการ 1. เตรี ยมไม้ ไม้ที่ต้ งแบบข้างประกอบด้วย ั 1.1ไม้หลัก เป็ นไม้คร่ าว 1 ½ x 3 นิ้วยาวประมาณ 0.70 – 1 เมตร เสี้ ยมปลายให้แหลม จํานวนหลักหาได้จากความยาวของแบบที่จะตั้งโดยรอบฐานราก แต่สามารถประมาณระยะความยาวของ แบบเป็ นรู ป สี่ เหลี่ยม ได้ใกล้เคียงหรื อเท่ากับ 16 เมตร โดยประมาณ แต่เพื่อให้เพียงพอกับการตั้งแบบที่มี มุมควรเพิ่มไม้หลักอีกมุมละ 1 อัน รวมจํานวนอีก 6 ตัว 1.2ไม้แบบ อาจเป็ นแบบไม้ 1 x 8 นิ้วยาว 4 เมตร หรื อเป็ นไม้ขนาด 2- 4 เมตร ถ้าเป็ นไม้ เก่าซึ่งทําแบบข้างได้ ความยาว 16 เมตร ที่จะตั้งแบบ ถ้าใช้ไม้ยาว 4.00 เมตรจะใช้ 4 ท่อนแต่ถาเป็ นไม้ยาวไม่ ้ เท่ากันเมื่อตัดหัวไม้แล้วต่อให้ได้ความยาว 16 เมตร เพิ่มความยาวอีก 2 เมตร รวม 18 เมตร 1.3ไม้ค้ ายัน หมายถึงไม้คร่ าวที่จะใช้ค้ ายันทางปากแบบเท่านั้น ควรเป็ นไม้ขนาด 1 ½ x 3 ํ ํ นิ้ว หรื อ 2 นิ้ว ก็ใช้ได้เช่นเดียวกัน มีความยาวพอประมาณได้จากการขุดดินว่าห่างจากแนวตั้งแบบเท่าใด ถ้าห่างออกไป 0.60 เมตร ควรเพิ่ม 0.60 เมตร รวมไม้ยาวขนาดนี้นาเสาเข็มมาวางดินผนังรอบ ๆ และตอก ํ หลักยึดเป็ นระยะห่ างกัน 1.00 – 1.50 เมตร จะใช้ค้ ายันได้เช่นเดียวกัน ํ 2. เตรี ยมตะปู ตะปูที่ใช้ควรประมาณได้ โดยไม่จาเป็ นต้องนับว่าตอกจะนวนกี่ตว เช่น ตะปู ที่ใช้ ํ ั ตอกแบบติดหลัก ใช้ตะปูขนาด 2 ½ นิ้วตอกหลักละ 2 ตัว ส่ วนไม้ค้ ายันตอกติดหลังแบบ 1 ตัวตอกหัวไม้ ํ แบบไปชนด้านข้างของแบบใช้ตะปู 2 ตัว ไม้รัดมุมตอกตะปูดานละ 1 ตัว รวม 2 ตัว ใช้ตะปูแบบเดียวกัน ้ ประมาณว่าตั้งแบบ 5.00 เมตร จะใช้ ตะปูประมาณ 1 กิโลกรัมตั้งแบบยาว 16.00 เมตร ควรใช้ ตะปูจานวน ํ 3 กิโลกรัมโดยประมาณ 3. การตั้งแบบ การตั้งแบบข้างใน การเทคอนกรี ตหยาบให้มีพ้นที่กว้างออกไปจึงไม่ตองเคร่ งครัด ื ้ เรื่ องขนาดอย่างไรก็ตาม ถ้าตั้งแบบได้ดีจะดูสวยงาม ก่อนหน้าที่จะทําการขุดเสร็ จและลงทรายบดอัดแน่น สามารถตรวจสอบแนวศูนย์กลางเสาอีกครั้ง เพื่อให้ได้แนวขอบของฐานรากก่อน โดยปักไม้ไว้แล้วจึง วัด จากแนวขอบของฐานรากออกไปอีก 0.50 เมตร โดยวัดตอนมุมและตอกหลักเอาไว้ทุกมุม ให้หลักโผล่จาก ดินก้นหลุมประมาณ 0.30 – 0.35 เมตร สําหรับไม้หลักยาว 0.70 เตร จะปักลงดินประมาณ 0.35 เมตร แต่ถา ้ เป็ นดินเหลว ควรเสี้ ยมปลายประมาณ 1 เมตร และปั กลงในดิน 0.65 – 0.70 เมตร ทําให้หลักแน่น
  • 16. -การเทคอนกรีตหยาบ เนื่องจากการเทคอนกรี ตหยาบมีจานวนไม่มาก อาจทําการผสมเองโดยใช้โง่ผสมแบบเอียง ซึ่งเป็ น ํ เพราะเตรี ยมหลุมไว้ไม่ได้มากจึงต้องทําการเทลงเมื่อตั้งแบบเสร็ จ การเตรี ยมหลุมเมื่อปรับทรายแล้วต้องเท ทันที ถ้าทิ้งไว้อาจมีน้ าซึมขึ้นมาอีกหลังจากที่วิดนํ้าแห้งไปแล้วครั้งหนึ่ง ํ ่ ํ 1.วัสดุผสม เมื่อทําการเทคอนกรี ตเอง ควรตั้งโม่ผสมให้อยูระหว่างแถวของฐานรากที่กาลังจะเท ั จํานวนหลายฐาน และเทใส่ ไปเป็ นลําดับเมื่อตั้งแบบเสร็ จ เตรี ยมหิ นเบอร์ 2 ทรายหยาบกองใกล้กนบนพื้นที่ ปรับเรี ยบ ตั้งโม่และนังร้าน สังปูนซีเมนต์ โดยประมาณจากจํานวนวัสดุต่อลูกบาศก์เมตรของกอนกรี ต ่ ่ ั ปูนซีเมนต์ 6 ½ ถุง ทราย ½ ลูกบาศก์เมตร และ หินเบอร์ 2 จํานวน 1 ลูกบาศก์เมตร ใช้กบคอนกรี ต อัตราส่ วน 1 : 2 : 4 ถ้ายังยึดกับคอนกรี ตหยาบจะเพิ่มทรายและหิ นอีกเล็กน้อย ่ 2.การเทคอนกรี ต เมื่อผสมให้คอนกรี ตเข้ากันดีโดยผสมอยูในโม่ไม่นอยกว่า 3 นาทีภายหลังจากเท ้ วัสดุและนํ้าเข้าผสมถ้านานกว่าเวลาดังกล่าวจะทําให้เสี ยเวลาผสมและนํ้ามันเครื่ องผสมด้วยควรเตรี ยม คนงานเทไว้เป็ นกลุ่มเทหน้างาน 12 – 14 คน ดังนี้ คนปาดผิวหน้าเป็ นช่างปูน 2 คน คนเทหน้างาน 2 คน คนขนคอนกรี ตเทโดยการส่งต่อ 8 – 10 คน ส่ วนกลุ่มคนงานผสมคอนกรี ต 9 – 10 คน ได้แก่ คนเทวัสดุและนํ้าลงโม่ 1 คน คนหมุนพวกมาลัยเทคอนกรี ต 1 คน คนขนหิ น 2 – 3 คน คนขนทราย 2 คน คนดูแลนํ้าและสายยาง 1 คน คนขนปูนซีเมนต์ 2 คน
  • 17. (2) การตั้งแบบข้ าง สําหรับตัวฐานเสาตอม่อจะตั้งเพียงแบบข้าง การสร้างแบบหล่อให้มีความแข็งแรงเมื่อขนาดของ ฐานรากมีพ้ืนที่ และความหนามากขึ้น แต่ละผูรับเหมามีเทคนิคและวิธีการก่อสร้างฐานคล้ายกันแต่ไม่ ้ เหมือนกันเป็ นไปตามความสามารถและความชํานาญของช่างไม่ฝีมือ ประสบการณ์ของหัวหน้าช่างทําให้ การวางงานได้เรี ยบร้อยมันคง ปั จจุบนมีการนําแบบเหล็กและโครงนังร้านมาใช้ แต่ช่างจะมีความชํานาญกับ ั ่ ่ การใช้ไม้มากกว่า จึงพบว่ามีการผสมกันระหว่างแบบเหล็กแต่ใช้โครงไม้ยดยัน ึ -เตรียมงานตั้งแบบฐานราก เนื่องจากเป็ นฐานรากขนาดใหญ่ควรต้องมีการเตรี ยมแบบ เตรี ยมผิวคอนกรี ต เตรี ยมงานเหล็กจะ เสริ มหัวเสาเข็ม และเตรี ยมงานบริ เวณ 1. เตรี ยมผิวคอนกรี ต ทําการถอดแบบข้างออกภายหลังการหล่อคอนกรี ตหยาบครบ 2 วัน โดยตี ไม้ค้ ายันออกเรี ยงไว้เป็ นตอน ๆ ตีไม้แบบข้างพอแบบเผยอแล้วตอกข้างหลักให้เอียง ยกทั้งแบบข้างและ ํ หลักติดกันออกมา ให้คนงานตอกแบบข้างออกจากข้างหลัก กองไม้หลัก และแบบไว้ขาง ๆ หรื อให้คนงาน ้ ถอนตะปูกองไม้ไว้ตามขนาดหรื อกองขนาดใกล้เคียงกันไว้ดวยกัน เวลาที่ตองการใช้จะนําไปทํางานได้ ้ ้ ั ทันที มิใช่ตองตัดไม้กนใหม่อีกที เป็ นการสิ้ นเปลืองทั้งเวลาและแรงงาน ้ รู ปแสดงการล้ างผิวแผ่ นคอนกรี ตหยาบ และวางไม้ เสารอบขอบฐานเอาไว้ คายันตีนแบบรอบขอบฐาน ้ํ
  • 18. 2.วางไม้รับคํ้ายันรอบฐาน ปรกติจะขุดดินให้หลุมกว้างพอที่จะทํางานรอบขอบฐานได้สะดวก เนื่องจากฐานรากดังรู ปมีความหนา 1.50 เมตร จึงจําเป็ นต้องคํ้าตีนแบบ คํ้ากลางแบบ และ คํ้าปากแบบ สําหรับการคํ้ากลางแบบจะใช้เหล็กยึดรั้งช่วยดึงไว้ แต่ตองใช้เหล็กยึดรั้งสอดเข้าไปในแบบและดึงแบบ ้ ในฝั่งตรงข้ามห่างกัน 0.60 เมตร 2 แถว ตลอดความยาว และ เสาที่ใช้วางวางรับคํ้ายันเป็ นเสาหมอนขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 4 – 6 นิ้ว เพื่อให้มีน้ าหนัก โดยตอกหลักยันหลังหลักไม่ให้เสากลิ้งได้ ต้องวางไม้คร่ าวใต้ ํ ั ใช้เสาให้ห่างกันประมาณ 1.20 – 1.50 โดยวางพาดไว้กบกองดินใกล้ขอบฐานและกองดินตีนผนังหลุม 3.การหาแนวฐานราก เมื่อผิวคอนกรี ตหยาบแห้งแล้วและเตรี ยมจะทําการตั้งแบบเฉพาะฐานราก ก่อนหน้านั้นจะถ่ายแนวแกนสาฝากไว้ที่ผงทั้งแนวตรงและแนวนอนที่ตอกขึ้นบนฝั่งใกล้ปากหลุมเพือหา ั ่ ความลึกของฐานรากส่ วนต่าง ๆ และมีแนวแกนร่ วมตรงตลอดแถวของฐานราก เมื่อจะหาแนวฐานรากควร ที่จะรู ้แกนตั้งและแกนนอนของเส้น และ ตัดกันที่เรี ยกว่า ศูนย์เสา -การตั้งแบบข้ าง สําหรับฐานรากขนาดใหญ่ ต้องการใช้แผงแบบโลหะหรื อแบบเหล็กจํานวนมาก จําเป็ นต้องจัดทํา ไว้ล่วงหน้าหรื อหาเช่าแผงแบบไว้ต้ งแต่รับงานได้ การเตรี ยมแบบเป็ นหน้าที่ของช่างเหล็กหรื อช่างเชื่อม ั โลหะ โดยทําเป็ นโรงเหล็กมีเครื่ องตัดเหล็ก เชื่อมเหล็ก ซึ่งเป็ นช่างคนละชุดกับงานเหล็กโครงสร้าง เมื่อมี งานแล้วนําแผ่นเล็กหรื อกลางมาต่อกันจะใช้งานได้กว้างขวางกว่าการต่อกันใช้เหล็กคล้องบังคับหรื อตัว หนอนคล้องเข้าในรู ขางแบบที่เจาะไว้ตรงกันแล้วจะบังคับให้แบบติดกันแน่น เมื่อแบบเป็ นชิ้นเล็กและนํามา ้ ต่อกันไม่จาเป็ นต้องใช้หลายคนสําหรับในรู ปจะวางแบบพื้นคอนกรี ตหยาบเหมือนการตั้งแบบที่ทาด้วยไม้ ํ ํ อัดหรื อไม้แผ่น เป็ นวิธีหนึ่งที่ตองหาวิธีค้ายันตีนแบบให้มนคงด้วย ควรดําเนินเป็ นลําดับดังนี้ ้ ํ ่ั รู ปแสดงการขนแบบในส่ วนมุมมาวางตามแนวเส้ นที่ขีดเส้ นไว้ แล้ ว
  • 19. รู ปแสดงการประกอบแผ่ นแบบข้ างเข้ าด้ วยกัน 1. การทําเหล็กยึดหัวเข็ม สําหรับการตัดเสาตามขนาดของรู กลวงเข็มกลมแรงเหวียงประกอบด้วย ่ เหล็กแกน 8 เส้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 ม.ม.ตลอดช่วงที่สอดลงในรู กลวงสาเข็มที่ระยะ 0.50- 1 เมตร แล้วตี่ขนาดของเสาเข็ม เข้าใจว่าวิศวกรผูออกแบบโครงสร้างต้องการให้ส่วนต่อหัวเสาเข็มเป็ นตัวประสาน ้ กับแผ่นฐานรากได้อย่างมันคง เนื่องจากรู กลวงของเสาจะสอดด้านปิ ดไม้อดลงไปให้ลึก 0.70 – 1 เมตร สอด ั ่ ั ไม้คร่ าวรับเหล็กปลอกเอาไว้ในระดับ แล้วเทคอนกรี ตอัตราส่ วนเหมือนกับคอนกรี ตที่ใช้กบฐานรากให้ คอนกรี ตเต็มเสมอกับหัวเสาเข็มแหย่หวเขย่าให้คอนกรี ตแน่น นํ้าปูนจากคอนกรี ตจะไม่ไหบออกมาก ั เนื่องจากแบบควรฉลุให้กลมและมีขนาดเล็กกว่ารู กลวงเพียงเล็กน้อย 2. ลักษณะและการยึดแผงเหล็กหรื อแผงโลหะ ปัจจุบนงานก่อสร้างยังคงนําเอาแบบเหล็กที่เรี ยก ั ตามมาตรฐานว่าแบบเหล็กหรื อแผงโลหะสามารถจัดหาจัดซื้อ หรื อจัดทําไว้เป็ นการล่วงหน้าได้ การลงทุน ซื้อหรื อทําต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมักนิยมเช่าจากบริ ษทผูผลิต เป็ นชนิดแบบเหล็กที่นามาจากต่างประเทศและทํา ั ้ ํ ั ํ ใช้กนเอง ฉะนั้นขนาดของแบบเหล็กที่ทาในประเทศจึงไม่มีกาหนดตายตัว อนึ่ง งานก่อสร้างของไทยไม่มี ํ ขนาดคงที่ ไม่สามารถทําแบบล่วงหน้าในจํานวนมาก ๆ ได้ แต่มาตรฐาน ม.อ.ก. กําหนดไว้เช่นเดียวกัน ั ่ แบบเหล็กที่ใช้กนอยูไม่เป็ นมาตรฐานนัก แม้แต่งานต่อสร้างขนาดใหญ่ยงต้องแบบเหล็กและไม้ผสมกันอยู่ ั 3. การยึดแบบ เมื่อนําแบบเหล็กมาต่อกันด้วยตัวหนอน เพียงให้แบบหล่อคอนกรี ตที่เป็ นแผงขนาด เล็กต่อกันเป็ นแผ่นใหญ่ และวางแบบในแนวที่ขีดไว้ตามลักษณะและแนวของฐานรากมีวิธีการดังนี้
  • 20. รู ปแสดงการตอกไม้ คร่ าวรองแบบเหล็กหล่ อคอนกรี ตฐานราก 3.1 การยึดแบบติดกับพื้นคอนกรี ตหยาบ ระยะแต่ละด้านที่วางแบบฐานรากจะต้อง ตรวจสอบได้ระยะตั้งฉากเป็ นการตั้งแบบหล่อคอนกรี ตฐานราก เมื่อขนาดของระยะของฐานราก กําหนดไว้ และ ขีดเส้นหรื อตีเส้นไว้น้ น ขั้นต่อไปของการทํางานคือ การวางแบบบนพื้นผิว ั คอนกรี ตหยาบเลยลักษณะดังกล่าวผิวคอนกรี ตหยาบต้องปาดให้เรี ยบ ซึ่งจะทําให้วางแบบได้แนบ กับผิวมากขึ้นและไม่ทาให้แบบกระเดิด ํ 3.2 การยึดและคํ้าข้างแบบ โดยเฉพาะหลุมดินของฐานรากมีลกษณะการขุดแตกต่างกัน ั บางแห่ งขุดโดยรอบเฉพาะหลุม บางแห่ งขุดเป็ นรางไป ฉะนั้นฝั่งของหลุมมีเพียง 2 ฝั่งหรื อบางแห่ง ขุดดินออกทั้งพื้นที่ก่อสร้าง การขุดอย่างนี้ไม่มีผนังดินให้ยดคํ้าเลย ลักษณะการคํ้าจึงมีการ ึ เปลี่ยนแปลงตามสภาพงาน ขณะเดียวกันวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ยดคํ้าแตกต่างกันไป เช่น บางแห่งใช้ไม้ ึ ขนาดต่าง ๆ เช่นไม้คร่ าว ไม้เสากลม หรื อ เสาเหลี่ยม ไม้ตงหรื อคาน บางแห่งใช้เฉพาะท่อเหล็ก กลมโดยนําข้อยึดเป็ นตัวยึดท่อและยังนําท่อนังร้านต่อหัวตัวที มาคํ้าแบบ หรื อ บางแห่ งใช้ไม้และ ่ ท่อเหล็กรวมกันยึดคํ้าข้างแบบภายนอก ตามแต่จะมีวสดุและความถนัดของช่างไม้ต้ งแบบที่จะทํา ั ั และคํ้าจนแข็งขึ้น
  • 21. รู ปแสดงการคําส่ วนตีนแบบกับหมอนไม้ เสาเข็ม ้ รู ปแสดงการคําส่ วนปากแบบ และพาดไม้ เพื่อยึดไม้ คายัน ้ ้ํ
  • 22. รู ปแสดงการใช้ ไม้ คร่ าวเป็ นไม้ คายันส่ วนตีนแบบและส่ วนกลางแบบ ้ํ (3) การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่ อ การประกอบเหล็กฐานเสาตอม่อ หมายถึงตัวแผ่นฐานรากและเสาตอม่อที่ต่อจากฐานขึ้นมาเหล็กที่ จะต้องติดตั้งมีเหล็กตะแกรงและเหล็กแกนเสารวมทั้งเหล็กปลอกเสาบางส่ วน (เท่าระยะความลึกของฐาน ราก) -การเตรียมการผูกเหล็ก งานเหล็กเป็ นงานเฉพาะช่างเหล็ก มีช่างไม้บางคนพอจะทํางานเหล็กได้บางเท่านั้น แต่เทคนิคของ ้ ํ งานเหล็ก ช่างเหล็กจะรู ้และถ่ายทอดกันเฉพาะกลุ่มเครื อญาติหรื อท้องถิ่นเดียวกัน เป็ นกลุ่มที่ทางานกันมา นาน ประกอบด้วยหัวหน้าช่างเหล็ก 1 คนที่รับงานเหมาเป็ นตันของนํ้าหนักเหล็กที่ก่อสร้าง ค่าแรงคิดจาก งานที่ทาได้ประมาณ 7 - 10 วัน และนํายอดไปรวมคิดกับจํานวนเหล็กทั้งหมด หักยอดที่เบิกค่าแรงเป็ น ํ งวดๆไปแล้ว คงเหลือเงินจะเป็ นผลกําไร หรื อเงินค้างจ่ายให้เพื่อนร่ วมงานที่เคยตกลงกันเอาไว้ 1. งานวัดและยึดเหล็ก งานช่างเหล็กจะเริ่ มต้นด้วยการยึดเหล็กเส้นขนาดต่างๆ ให้ตรงไว้เป็ น แต่ละขนาดที่จะใช้เช่น เหล็กตะแกรง เหล็กแกน และเหล็กปลอกเสา เหล็กแกนเสาหรื อเหล็ก ขนาด 20 – 28 มิลลิเมตร มักขนมาตามความยาวไม่งอพับครึ่ ง โดยใช้ถที่มีกระบะยาวขนมา ทํา ให้ง่ายในการทํางาน โรงงานช่างเหล็กจะต้องจัดที่วางไว้สาหรับเหล็กขนาดต่างๆ ไม่ทบกันจนต้อง ํ ั งัดกองเหล็ก ควรยกให้เหล็กวางบนไม้รองเป็ นระยะ 1.00 – 1.20 เมตร ไม่วางกับพื้นเพราะจะไป สัมผัสกับนํ้าที่นองพื้นทําให้เหล็กเป็ นสนิมได้ง่าย แต่เหล็กที่ยดแล้วควรจะเตรี ยมตัดต่อไป ดังได้ ึ กล่าวแล้วว่า ช่างเหล็กจะมีหวหน้าช่างเหล็ก 1 คน และผูช่วยมือ 1 – 2 อีก 2 คน ที่พอจะช่วย ั ้
  • 23. วัดงานได้ ปกติถาเป็ นงานสําคัญหัวหน้าช่างเหล็กจะกําหนดระยะให้ลกน้องตัดต่อ จะต้องไม่ ้ ู ผิดพลาดเพราะถ้าเป็ นเหล็กเส้นใหญ่ ตัดหรื อดัดผิดระยะต้องเสี ยเหล็กและเสี ยแรงงานอีกด้วย 2. การตั้งโต๊ ะดัดเหล็ก ปกติโต๊ะดัดเหล็กจะใช้ไม้คานขนาด 2 นิ้ว คูณ 8 – 10 เมตร เพื่อใช้ดด ั เหล็กแกนเสา โดยเจาะและเสี ยบเหล็กคู่หน้าเยื้องกันประมาณ 1 นิ้ว ส่ วนตัวต่อไปห่ างไปอีก ่ 0.40 เมตร และที่ระยะ 2.00 เมตร ให้อยูในแนวเดียวกันทั้งเหล็กที่เสี ยบลงไป 3 ตัว ปั กเหล็กลง ่ ั ดินให้ลึกปะมาณ 0.80 – 1.00 เมตร ขณะที่ปลายที่เสี ยบอยูกบไม้คานสูงกว่าระดับผิวพื้นคาปะมาณ 0.05 เมตร ส่ วนการที่จะดัดเหล็ก ขนาดครองๆ ลงไป จะไปทําอีกหัวหนึ่งของไม้คานหรื อตั้งโต๊ะ ขึ้นใหม่สาหรับโต๊ะดัดเหล็กปลอกจะใช้โต๊ะที่ใช้ไม้ขนาดเล็กไม่ตองสร้างให้แข็งแรงนัก แต่ควร ํ ้ เป็ นไม้หน้ากว้างสักหน่อยจะทําให้ดดเหล็กปลอกได้ง่าย ปั จจุบนการดัดเหล็กใหญ่จะใช้เครื่ องดัด ั ั ไม่ตองใช้คน 2 คนช่วยดัดจะช่วยลดแรงงานดัดได้ เตรี ยมตัดลวดผูกเหล็กและตัดเหล็กตะแกรง ้ ออกเป็ นท่อนๆ งอปลายตามระยะถ้าเป็ นเหล็กข้ออ้อยมักไม่ตองงอปลายจึงง่าย แต่เหล็กข้ออ้อยมี ้ ํ ความแข็งจึงนับว่าดัดยากต้องใช้กาลังดัดมาก เหล็กข้ออ้อยบางชนิดสามารถดัดงอได้ตามรัศมีที่ กําหนด เหล็กปลอกจะเป็ นเหล็กเส้นธรรมดาหรื อเหล็กข้ออยก็ได้ ้ ั 3. การดัดเหล็ก เป็ นการดัดเหล็กออกตามขนาดที่ใช้กบงานตะแกรงฐานรากก่อน โดยดัดเป็ นเส้นๆ กองตามจํานวนที่จะใช้ หัวหน้าช่างเหล็กจะใช้อ่าบแบบการเสริ มเหล็กให้เดดข้าใจ สงสัยให้ สอบถามวิศวกรควบคุมหรื อหัวหน้าที่วิศวกรโครงการ จะต้องทราบว่าคอนกรี ตหุมเหล็กฐานราก ้ 0.04 เมตร การวัดขนานเหล็กจึงต้องลดระยะลงไปรวมสองด้าน 0.08 เมตร เมื่อเห็นว่าช่างไม้ ติดตั้งแบบใกล้เสร็ จ ช่างเหล็กจะเข้าวางเหล็กได้เลย จึงต้องดัดเหล็กไวให้มากพอที่จะทํางาน ช่างเหล็กที่เป็ นช่างยกเหล็ก ผูกเหล็กยังมีอีก 5 - 69 คน แล้วแต่งงานจะมีช่างเท่าใด จํานวนอาจ มากกว่านี้ โดยเฉพาะงานผูกเหล็กตะแกรงหรื อเหล็กปลอกเสาต้องการคนงานผูกเหล็ก 8 – 10 คน ต่อ 1 กลุ่ม จึงจะทันกับเวลาที่ใช้งาน
  • 24. แสดงการเว้ นช่ องเพื่อให้ ช่างเล็กเข้ าติดตั้งเหล็กเสริ ม ช่ างไม้ ทาการคํายันนอกแบบ ํ ้ -การติดตั้งเหล็ก ระหว่างประกอบแบบเหล็กด้านข้าง ช่างเหล็กจะยกเหล็กตะแกรงที่ดดไว้แล้วเข้าติดตั้ง ช่างไม้จะ ั เว้นช่องแบบเอาไว้ก่อนเพื่อให้ขนเหล็กเข้าได้ง่าย เป็ นลักษณะการทํางานของฐานรากขนาดใหญ่ ระยะของ แบบแน่นอน เมื่อนําเหล็กมาวางโดยใช้ชอล์กแบ่งระยะจากเหล็กตัวริ มด้านหนึ่งและแบ่งระยะที่เหล็กอีก เส้นหนึ่งที่วางตัวริ มตั้งฉากกับเส้นแรก ปลายต่อกัน วางเหล็กตะแกรงในแถวเดียวกันเรี ยงชิดกันแล้วใช้ ชอล์กขีดไว้ตามระยะที่วดแบ่งไว้ 1 เส้นเท่านั้น อีกด้านหนึ่งจะทําเช่นเดียวกัน เมื่อเหล็กทุกเส้นมีเส้น ั ชอล์กแสดงระยะถ้าจะวางพาดกันจะได้ระยะความห่างตามต้องการ อาจแคบกว่ากําหนดได้แต่จะห่าง มากกว่ากําหนดไม่ได้ ต้องระวังและดัดเหล็กทุกเส้นให้ตรงก่อนนําเข้าติดตั้ง เมื่อวางเหล็กตะแกรงไปได้ แถวหนึ่ง แถวที่สองที่ต้ งได้ฉากกันเริ่ มวางซ้อนโดยผูกส่ วนหัวเหล็กให้ได้ตามระยะไว้ก่อนให้ตลอดแนวทั้ง ั สองฝั่ง อย่างไรก็ดี ต้องไม่ลืมวางลูกปูนหนุนเหล็กให้ลอย 0.04 เมตร ไปทัวๆ พื้นที่ก่อนเพราะเวลาผูก ่ เหล็กตะแกรงจะสอดลวดผูกเหล็กได้ เพราะจะไปยกภายหลังไม่ได้เมื่อผูกเหล็กเป็ นแผงตะแกรงจะหนัก มากยกสอดลูกปูนได้ยาก ลูกปูนเป็ นลักษณะปูนผสมทรายผสมข้นๆอัตราส่ วน 1 : 2 (ปูนซีเมนต์ : ทราย หยาบ) เทใส่ แบบให้หนา 0.04 เมตร ปาดผิวหน้าให้เรี ยบและได้ความหนา ปล่อยให้ปูนผิวหมาดเกือบ ่ แห้ง แล้วตัดแบ้งออกเป็ นตาหมารุ กขนาด 0.05 x 0.05 เมตรสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ใช้ลวดผูกเหล็กเส้นคูยาว 0.02 เมตร พับทบกันเหลือ 0.10 เมตร สอดส่ วนหัวลวดที่พบกดลงไปบนหน้าลูกปูนในส่ วนกลางชิ้นลูกปูนที่ ั แบ่งแล้วครึ่ งความหนา (2 ซม.) แล้วใช้นิ้วกดรอยลวดให้หน้าปูนเต็ม ทิ้งให้ลูกปูนแข็ง 1 วัน รุ่ งขึ้นแบ่ง ั ลูกปูนออกเป็ นก้อนๆ หนุนเหล็กตะแกรงโดยผูกลวดบนลูกปูนที่ฝ่ังไว้กบเหล็กตะแกรงด้วย
  • 25. แสดงการประกอบเหล็กตะแกรงสําหรั บฐานรากขนาดใหญ่ ติดตั้งเหล็กก่ อนตั้งแบบข้ าง แสดงการวางเหล็กตะแกรงล่างแล้ว ช่างผูกเหล็กจะใช้ลวดทบคู่ สอดผูกเหล็กตะแกรงทุกรอยตัด กันของเหล็กแบบสาแหรก ตามรู ปจะเห็นว่าผูกเหล็กก่อนแล้วตั้งแบบภายหลัง เนื่องจากเป็ นฐานรากขนาด ใหญ่เหล็กมาก เพื่อให้สะดวกต่อการทํางาน ช่างเหล็กจะติดตั้งเหล็กตะแกรงก่อนตั้งแบบข้าง แต่ตองวาง ้ ่ เหล็กให้อยูในเส้นที่ชีดไว้บนพื้นคอนกรี ตหยาบ ถ้าปล่อยให้เหล็กเส้นใดเส้นหนึ่งยืนจะทําให้ติดแบบ และ ่ ระยะห่ างระหว่างผิวคอนกรี ตกับผิวเหล็กระหว่าง 0.04 – 0.06 เมตร ถือว่าไม่ถูกต้องควรแก้ไข ต้องจัด คนงานผูกเหล็กหลายคนเพราะเป็ นงานที่ตองผูกหลายจุดดัดของเหล็กตะแกรง ในการติดตั้งเหล็กแกนและ ้ เหล็กตะแกรงแล้วเสร็ จ ดังแสดงในรู ปที่ 7.27 และ 7.28 เมื่อผูกเหล็กตะแกรงทุกรอยดัดของเหล็กอย่าง แน่นหนาแล้ว เละผูกเหล็กปลอกให้รัดรอบๆ ปลายเหล็กตะแกรงที่ยกขึ้นทั้งสองหัวในส่ วนเหล็กแกนเสา เองจากเป็ นเสากลมเหล็กปลอกจะต้องกลมด้ว ควรเตรี ยมเหล็กปลอกมาใช้ 6 เปลาะ เริ่ มด้วยการหาศูนย์ เสาโดยการขึงเชือกผ่านแนวเหล็กที่งแนวนอนและแนวตั้ง วัดระยะออกไปด้านละเท่าๆกัน ตามระยะรัศมี ของเสา นําเหล็กแกนเสาวางตามแนวเหล็กปลอกที่ขีดให้โค้งเป็ นแนวให้ต้ งเหล็กแกนตามความโค้งกลม ั ของเหล็กปลอกต้นแบบ สอดเหล็กแกนลงไปทีละตัว และเชื่อมติดกับหลังเหล็กตะแกงตามระยะที่ขีด ํ กําหนด เช่น 0.07 เมตรเท่าๆ กันโดยรอบตามจํานานเหล็กที่กาหนดไว้ให้เสริ มเป็ นเหล็กแกน เหล็กปลอก จะผูกเพียง 4 เปลาะในช่วงความหนาฐานราก ล่วนบนจะผูกเหล็กปลอกยึดอีก 1 – 2 เปลาะเพื่อให้เหล็ก ตั้งคงรู ป ควรใช้การเชื่อมติดแน่นอนกว่าการผูกด้วยลวด และต้องให้คงรู ปได้เร็ วเมื่อยกเหล็กตั้งขึ้น โดยมี
  • 26. ่ ่ คนยกปลายเหล็กยืนอยูบนนังร้านหรื อปลายเหล็ก และที่ส่วนโคนเหล็กศูนย์เสาจะต้องถูกต้อง ตรวจสอบ ิ ให้แน่นอน จึงจะวางเหล็กแกนเสาไม่ผดที่ หลังจากนั้นให้เสริ มเหล็กตะแกรงบน รับไว้ดวยเหล็กที่ต่อจากหัวเสาเข็มงอฉากแล้ว การยึดเหล็ก ้ คํ้ายันและการตั้งโครงไม้เพื่อความมันคงและเป็ นแนวทางที่จะเทคอนกรี ตได้ ต้องไม่ลืมผูกลูกปูนด้านข้าง ่ ของเหล็กให้รอบทุกระยะ 1.00 เมตร เพือให้คอนกรี ตหุมเหล็กได้สมํ่าเสมอ ถูกต้อง เป็ นต้น ่ ้ แสดงการประกอบเหล็กตะแกรงและเหล็กแกนเสาตอม่ อ ภายหลังจากการตีไม้ คายันรอบ ้ํ (4) การเทคอนกรีตฐานราก ดังได้กล่าวถึงความสําคัญของงานฐานราก โดยเฉพาะคอนกรี ตซึ่งเป็ นวัสดุตวหนึ่ง.ที่ร่วมกับงาน ั เหล็กเสริ มเพื่อสร้างโครงอาคารให้มนคงแข็งแรงได้ สามารถคํานวณออกเป็ นตัวเลขให้กิดความมันใจใน ั่ ่ การออกแบบอาคาร ทั้งนี้งานส่ วนหนึ่งควรได้รับการปฏิบติที่ถูกต้อง และการนําคอนกรี ตมาทดสอบให้ได้ ั มาตรฐานในห้องประลองคอนกรี ต การค้นคว้าทดลองส่ วนหนึ่งทําให้สามารถผลิตคอนกรี ตที่มีคุณภาพสูงได้ อันเนื่องมาจากชนิดของ วัสดุ คุณสมบัติ อัตราส่ วนผสม การผสม การเท การทําให้คอนกรี ตแน่น และการบํารุ งรักษาหรื อการบ่ม คอนกรี ต ความรู ้ดงกล่าวได้อธิบายไว้ในเอกสารหลายแห่ง อย่างไรก็ดีจาเป็ นที่จะต้องกล่าวถึงกันอยูเ่ พื่อ ั ํ ไม่ให้เกิดการผิดพลาดอันเกิดจากความรู ้และไม่เข้าใจ สําหรับการลงทุนกับการทําคอนกรี ตเป็ นราคาคงที่แต่ ่ คุณภาพของคอนกรี ตเปลี่ยนไป ไม่วาจะทําคอนกรี ตชนิดเหลว คอนกรี ตชนิดปานกลางคอนกรี ตชนิดดี และคอนกรี ตชนิดดีมากหรื อเรี ยกว่าคอนกรี ตกําลังสูง มาตรฐานการผลิตคอนกรี ตให้มีคุณภาพสูงนั้น ต้อง
  • 27. มีการทดสอบคุณสมบัติวสดุผสม การคํานวณออกแบบอัตราส่ วนผสม การผสมที่ถูกต้องตามหลักการของ ั คอนกรี ต และการผสมสารตัวเร่ งหรื อสารตัวหน่วง เพือให้คอนกรี ตมีคุณสมบัติสอดคล้องกับงานที่จะใช้ ่ คอนกรี ตนั้น ควรนําคอนกรี ตผสมเสร็ จ (Ready Mixed Concrete) มาใช้ งานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ส่วนมากแล้ว ประกอบด้วยการผสมคอนกรี ตในหน่วยงานส่ วนหนึ่ง ่ กับการใช้คอกรี ตผสมเสร็ จ ทั้งนี้จะต้องพิจารณาอย่างเหมาะสมตามความจําเป็ นกับการใช้คอนกรี ตแม้วา ราคาของคอนกรี ตผสมเสร็ จจะมีราคาสูงกว่าคอนกรี ตที่ผสมเองในหน่วยงานบ้าง แต่การผสมคอนกรี ตเองก็ มีผลกระทบอื่น เช่น ไม่มีสถานที่กองวัสดุ ช่างผสมไม่มีความชํานาญ และขาดแคลนคนงานผสม รวมทั้ง การสูญเสี ยวัสดุระหว่างการผสม และการกองวัสดุไว้เป็ นจํานวนมาก ในที่สุดควรเลือกคอนกรี ตผสมเสร็ จ จะใช้ได้ผลดีกว่า เป็ นต้น
  • 28. โครงสร้ างตัวอาคาร งานเสา เสาจะรับนํ้าหนักจากคานหรื อพื้นไร้คานและลงสู่ ฐานรากที่มีเข็มรับทอดนํ้าหนักถ่ายลงยังดินหรื อหิ นแข็ง ่ ในระดับลึก จึงถือได้วาโครงสร้างอาคารในส่ วนที่เป็ นเสามีความสําคัญในด้านความแข็งแรงและความ มันคงของอาคาร การรับนํ้าหนักจากขั้นบนสุ ดจะน้อยและเพิ่มนําหนักขึ้นมาเป็ นลําดับ จนกระทังเสาตอม่อ ่ ่ รับนํ้าหนักได้มากที่สุด ฉะนั้นขนาดของเสาและจํานวนของเสาตอม่อทีมีขนาดใหญ่ จะลดลงเป็ นขนาดเล็ก ่ ั เมื่ออยูที่ช้ นสูงสุ ด ขณะเดียวกันขนาดและจํานวนของเหล็กจะลดลงไปด้วย แต่วิศวกรยังคงออกแบบเป็ นช่วง ของการลดจํานวนเหล็ก โดยรักษาขนาดของเสาคงที่เอาไว้ ตามแบบสถาปัตยกรรมกําหนด (1) งานเหล็กเสริมคอนกรีตเสา โดยเฉพาะเสาอาคารสู งจะมีขนาดใหญ่ จะเป็ นเหลี่ยมจัตุรัสหรื อสี่ เหลี่ยมผืนผ้า เฉพาะเหล็กที่เสริ ม จะเป็ นเหล็กขนาดใหญ่ มีจานวนหลายเส้นในชิ้นแรกๆ และลดเหล็กลงเมื่อสูงขึ้นไป มีเหล็กแกนและเหล็ก ํ ่ ปลอกที่เสริ มอยูในคอนกรี ตเสา ่ 1. เหล็กแกนเสา มีความสําคัญต่อการเสริ มโครงสร้างเสา เหล็กแกนจะอยูตอนริ มของเสามากเท่าที่ จําเป็ น นอกจากจะรับแรงอัดด้านบนแล้ว เสายังต้องช่วยแรงดัดด้านผิวข้างเมื่อเกิดการงอ จึงต้องทําการ ออกแบบเป็ นเสาสั้นหรื อเสายาว 2. เหล็กปลอกเสา การเสริ มเหล็กแกนของแต่ละระดับความสูงอาจลดขนาดหรื อลดจํานวนเหล็ก แกนลงตามการออกแบบของวิศวกร และการเปลี่ยนตําแหน่งที่เสริ มเหล็กแกนหรื อการเสริ มเหล็กแกนที่มี ขนาดลดลง ทําให้ตองคิดเหล็กปลอกของแต่ละช่วงนั้นออกมา อย่างไรก็ตาม ช่างเหล็กจะปรับขนาดที่จะใช้ ้ ในกรณี ที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โดยพิจารณาว่าการเพิ่มด้วยระยะเพียงเล็กน้อยและโตกว่าบ้าง อาจทําให้การ เสริ มเหล็กปลอกมีแต่ละขนาดที่จะต้องตัดไว้ใช้นอยลง ทําให้ประหยัดเวลา หรื อสามารถนําเหล็กปลอกมา ้ ใช้ชดเชยกันได้เมื่อเหล็กมีขนาดใกล้เคียงกัน 3. เหล็กตะแกรงฐานเสาตอม่ อ จะดูจากแบบขยายฐานราก โดยเฉพาะต้องรู ้ตาแหน่งของเหล็ก ํ ตะแกรง ซึ่งปลายงอฉากของเหล็กแกนเสาจะวางบนเหล็กตะแกรงเป็ นการเชื่อมติด 3-4 จุด แทนการผูก จะ ทําให้ติดตั้งได้เร็ วและสะดวก มีความแข็งแรงกว่าการผูกด้วย 4. เทคนิคของการเสริมเหล็กเสา เสาขนาดใหญ่จะมีจานวนเหล็กแกนหลายเส้น เมื่อเรี ยงเหล็กแกน ํ