SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
โครงงาน
โทษของแอลกอฮอล์
ครูที่ปรึกษา
นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สมาชิก
นาย กิตตินันท์ หนูอินทร์ เลขที่ 25 ชั้น ม.5/3
นาย ศิวกร ทองนุ่ม เลขที่ 28 ชั้น ม.5/3
นาย สุรพร ละออ เลขที่ 29 ชั้น ม.5/3
นาย สุปรีดา มารักษ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.5/3
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
บดคัดย่อ
โครงงานเรื่องโทษของแอลกอฮอล์จัดทาขึ้นเพื่อไห้ความรู้กับคนที่สนใจในเรื่องโทษของแอลกอฮอล์
และต้องการรณรงค์ให้คนดื่มแอลกอฮอล์ลดน้อยลง แล้วต้องการบอกไห้ทราบถึงโรคและผลกระทบต่างๆที่
เกิดจากแอลกอฮอล์
การดาเนินโครงงาน โทษของแอลกอฮอล์สามารถเผยแพร่ได้จริง โดยใช้อินเตอร์เน็ตในการเผยแพร่เพื่อ
ประโยชน์แก่คนทั่วไปที่อยากทราบเนื้อหา โทษของแอลกอฮอล์เพิ่มเติมหรือยังไม่ทราบ
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานโทษของแอลกอฮอล์สาเร็จลงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบุคคลต่างๆ คณะผู้จัดทาขอกราบ
ขอบพระคุณ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม และผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาที่ได้ช่วยเหลือในด้านต่างๆ และยัง
ไห้การแนะนาในโครงงานเรื่องนี้ ทางผู้จักทาจึงขอ ขอบพระคุณ ทุกท่านที่ไห้การช่วยเหลือ
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
ประวัติของแอลกอฮอล์
ประวัติความเป็นมาของบุหรี่ 2
พิษเรื้อรัง 5
โทษของแอลกอฮอล์
โทษที่ได้รับ 6
เบียร์และสุราต่างกันอย่างไร 6
เหล้าดองมีโทษและประโยชน์อย่างไร 6
อาการเมาค้าง
เมาค้าง 7
ประวัติของ google site
สารบัญ(ต่อ)
google site 8
กฎหมายการดื่มแอลกอฮอล์ 12
สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 26
อุบัติเหตุที่เกิดจากการดื่มสุรา 26
บทที่3 การดาเดินงาน
วัสดุอุปกรณ์ 28
วิธีดาเนินงาน 28
การดาเนินงาน 28
รูปวิธีดาเนินงาน 29
จัดทา Google site 30
เว็ปไซต์ที่จัดทา 30
บทที่4 ผลการดาเนินงาน 31
บทที่5 สรุปการดาเนินการ
สรุปผลการศึกษา 32
ปัญญาหาที่พบในการทาโครงงาน 32
ข้อเสนอแนะ 32
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก 34
ผู้จัดทา 38
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 2.1 ภาพแอลกอฮอล์หรือเหล้า 2
ภาพที่2.2 ภาพขวดเหล้า 5
บทที่ 3 การดาเนินการ
ภาพที่3.1 คอมพิวเตอร์ 29
ภาพที่3.2 เว็บไซต์นาเสนองาน 29
ภาพที่3.3 เว็บไซตาเสนองาน 30
บทที่4 ผลการดาเนินการ
ภาพที่ 4.1 ตัวอย่างเว็บไซต์ 31
ภาพที่4.2 เว็บไซต์ที่จัดทา 31
1
บทที่ 1
บทนา
ที่มาละความสาคัญ
เนื่องด้วยปัจจุบันมีคนติดแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้น ทาให้ทางผู้จัดทาอยากจะนาเสนอถึงโทษของ
แอลกอฮอล์ที่มีผลเสียต่อร่างกาย แอลกอฮอล์มีผลเสียต่อคนที่ดื่มทาให้ขาดสติ เกิดโรคต่างๆมากมายหรือ
อาจนามาถึงการเสียชีวิตและสูญเสียทรัพย์สิน ทางผู้จัดทาเลยทาโคงงานเรื่องโทษของแอลกอฮอล์ขึ้นมาเพื่อ
ไห้คนที่สนใจหรืออยากจะศึกษาเรื่องโทษของแอลกอฮอล์สาเหตุสาคัญที่ทาไห้โทษแอลกอฮอล์มีอยู่
มากมายมีอยู่ไม่กี่อย่างคือการที่ดื่มแอลกอฮอล์อย่างมากโดยไม่คิดถึงโทษของมันที่ตามมา การที่ไม่มีคนไห้
ความรู้ถึงโทษหรือผลเสียที่ตามมาของแอลกอฮอล์เด็กควรที่พ่อแม่ไห้คาปรึกษาแนะนากับลูกในทางที่ถูก
วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน
1. เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้างโครงงานโทษของแอลกอฮอล์
2. เพื่อไห้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของแอลกอฮอล์
3. เพื่อรณรงค์ไห้การดื่มแอลกอฮอล์ในปัจจุบันลดน้อย
4. เพื่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ห่างไกลแอลกอฮอล์มากขึ้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ทางผู้จัดทาคาดว่าโครงงานนี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องโทษและพิษภัยของแอลกอฮอล์
หรือผู้ที่ศึกษาไม่มากก็น้อย โครงงานชิ้นนี้ได้รับการไห้คาปรึกษาจากอาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ทางผู้จัดทา
เลยขอขอบคุณไว้ณ ที่นี้ด้วย
2
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1 ประวัติของแอลกอฮอล์
1.1ประวัติความเป็นมาของแอลกอฮอล์
ภาพที่ 2.1 ภาพแอลกอฮอล์หรือเหล้า
แอลกอฮอล์นั้น นักเคมีเรียก ethyl alcohol หรือ ethanol (CH3CH2OH) แอลกอฮอล์ธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์
ที่หลงเหลือจากการหมัก มนุษย์เรารู้จักแอลกอฮอล์มานานนับพันปีแล้ว ในรูปแบบของเหล้าองุ่น เบียร์
และนํ้าผึ้ง ในสมัยคริสต์ศตวรรษ ที่ 16 นักกายวิภาคศาสตร์ชื่อ Vesalius ได้ตรวจพบว่า คนที่ดื่มแอลกอฮอล์
มากมักจะเป็นโรคร้ายนานาชนิดที่สําคัญๆ ได้แก่ โรคตับวาย เป็นต้น
คนติด สรุายาเมามักจะเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวาย มะเร็งกระเพาะ ตับแข็งและเส้นเลือดในสมองแตก
คนขับรถที่เมามักจะขาดพลังควบคุมสติสัมปชัญญะ ทําให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน หญิงมีครรภ์ที่ดื่ม
แอลกอฮอล์จะแท้งลูกในท้อง หรือหากไม่แท้งทารกที่คลอดออกมาจะมีร่างกายและสติปัญญาที่บกพร่อง
3
ภัยอันตรายทั้งหลายเหล่านี้ทําให้แพทย์สรุปได้ว่า แอลกอฮอล์เป็นสาเหตุสําคัญอันดับสองรองจากบุหรี่ที่ทํา
ให้คนเราเสียชีวิตก่อนถึง เวลาอันควร
งานวิจัยของ Pakhen Erg แห่ง Neurological Research Laboratory ที่เดนมาร์ก ฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร
Lancet ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ได้ชี้ให้เห็นว่า แอลกอฮอล์มิได้ฆ่าหรือทําลายเซลล์ประสาทใน
สมองแต่อย่างใด มันเพียงแต่ทําให้เนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทเหล่านั้นเสื่อมสมรรถภาพเท่า
นั้นเอง เขาพบ ว่า จํานวนเซลล์เนื้อเยื่อในสมองของคนติดเหล้าจะน้อยกว่าจํานวนเซลล์เนื้อเยื่อในสมองของ
คนไม่กินเหล้า 11% และในสมองส่วนที่ทําหน้าที่จํานั้น จํานวนเซลล์เนื้อเยื่อสมองของคนติดเหล้าน้อยกว่า
ของคนที่ไม่ติดเหล้า80% กลไกการออกฤทธิ์ต่ออวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายการออกฤทธิ์ของสุรา คนส่วนมาก
มักเข้าใจผิดว่าสุรานั้นจะออกฤทธิ์ต่อร่างกายเมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วมันออกฤทธ์
ทําลายตั้งแต่อวัยวะแรกที่สําผัสจนตลอดตามเส้นทางเดินของ
สุราที่ผ่านเข้ามาในร่างกาย ซึ่งสามารถอธิบายตามลําดับขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้
1.ปากและลําคอ เมื่อสุราเข้าปากและลําคอจะไปออกฤทธิ์ต่อผิวอวัยวะภายในช่องปากทําให้เกิดการระคาย
เคืองชิ้นเยื่อบุที่ละเอียดอ่อนในปากและหลอดอาหาร มักมีอาการร้อนซู่เมื่อผ่านลงไป
2.กระเพาะอาหารและลําไส้ สุราเมื่อผ่านลงสู่กระเพาะจะมีผลกับผนังชั้นนอกสุดที่เป็นชั้นที่จะปกป้ อง
กระเพาะอาหาร จะทําให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้เล็ก ถ้าอาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
เกิดอาการอักเสบของเยื่อบุชั้นในสุดของผนังหรือกระเพาะอาหารหรืออาจทะลุลําไส้เล็กได้นอกจากนั้นสุรา
ยังเป็นอุปสรรคกับการดูดซึมอาหารบางชนิด เช่น วิตามินB1, กรดโฟลิก ,ไขมัน วิตามินบี6,วิตามินบี 12
และกรดอะมิโนต่าง ๆ
3.กระแสเลือด ร้อยละ95 ของสุราที่เข้าสู่ในร่างกาย จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด โดยผ่านเยื่อบุในกระเพาะ
อาหาร และลําไส้ส่วนดูโอดีนั่มอย่างรวดเร็ว เมื่อถึงกระแสเลือดจะเข้าไปในเซลล์และเนื้อเยื่อต่าง ๆ
ในร่างกายอย่างรวดเร็ว แอลกอฮอล์ทําให้เซลล์ของเลือดเกาะเป็นก้อนเหนียว การไหลเวียนจึงช้าลง และ
ปริมาณออกซิเจนลดตํ่าลงด้วยสุราทําให้โลหิตจาง โดยจะไปลดการสร้างเม็ดเลือดแดง ทําให้ความเม็ดเลือด
ขาวทําลายแบคทีเรียช้าลง และทําให้การแข็งตัวของเกล็ดเลือดช้าลงด้วย
4.ตับอ่อน แอลกอฮอล์จะทําให้เซลล์ของตับอ่อนระคายเคือง และบวมขึ้น สุราทําให้การไหลของนํ้าย่อยไม่
สามารถที่จะเข้าไปในลําไส้เล็กได้ทําให้นํ้าย่อยย่อยตัวตับอ่อนเอง ทําให้เกิดเลือดออกอย่าง
4
เฉียบพลันและการอักเสบของตับอ่อน พบว่า 1ใน5 จะเสียชีวิตไปในครั้งแรก เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับตับอ่อน
การสร้างอินซูลินขาดหายไป และทําให้เป็นเบาหวานในที่สุด
5. ตับ แอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อเซลล์ของตับ ทําให้เกิดการบวม ทําให้นํ้าดีซึมผ่านไปทั่วตับ เป็นเหตุให้ตัว
เหลืองรวมทั้งส่วนขอบตาและผิวหนังเป็นสีเหลืองด้วยทุกครั้งที่ดื่มสุรานั้น เซลล์ของตับจะถูก ทําลายเป็น
ผลให้ตับแข็ง การเสี่ยงต่อการเป็นโรคตับมีถึง 8 เท่า เมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่มสุรา
6.หัวใจแอลกอฮอล์ทําใหกล้ามเนื้อของหัวใจบวมทําให้เกิดเป็นพิษกับหัวใจมีการสะสมของไขมันมากขึ้น
และทําให้การเผาผลาญช้าลงไปด้วย
7. กระเพาะปัสสาวะและไต แอลกอฮอล์ทําให้เยื่อบุของกระเพาะปัสสาวะบวม ทําให้ไม่สามารถยืดได้
ตามปกติ การระคายเคืองของไตทําให้ร่างกายสูญเสียนํ้ามากขึ้น
8. ต่อมเพศ ต่อมอัณฑะจะบวม ทําให้ความสามารถทางเพศลดลง
9. สมอง เป็นอวัยวะที่ไวต่อฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ซึ่งเห็นได้ชัดเจน ก่อให้เกิดพิษแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
9.1 พิษแบบเฉียบพลันได้แก่ Alcoholic intoxication แบ่งออกเป็นพิษในระดับมากน้อยแตกต่างกันไปตาม
ระดับของแอลกอฮอล์ในเลือดดังนี้
ระดับแอลกอฮอล์(มิลลิกรัม/100มิลลิลิตร)
30 mg% - ทําให้เกิดการสนุกสนานร่าเริง
50 mg% - เสียการควบคุมการเคลื่อนไหว
100 mg% - แสดงอาการเมาให้เห็น เดินไม่ตรงทาง
200 mg% - เกิดอาการสับสน
300 mg% - เกิดอาการง่วงซึม
400 mg% - เกิดอาการสลบ และอาจถึงแก่ชีวิตได้
9.2 พิษเรื้อรัง
แอลกอฮอล์มีพิษโดยตรงต่อสมอง ทําให้เซลล์สมองเสื่อม ในผู้ติดสุราพบว่ามีการฝ่อลีบของสมองส่วนคอร์
เทกซ์ ซึ่งจะมีผลต่อการเสื่อมทางจิตด้วยหลายประการ เช่น ขาดความรับผิดชอบ ความจําเสื่อม เมื่อเป็นมาก
เกิดประสาทหลอน หูแว่ว หลงผิด หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง และแอลกอฮอล์มีฤทธิ์กดประสาท โดยกดศูนย์
ควบคุมระบบต่าง ๆเช่นกดศูนย์หายใจและศูนย์ควบคุมการไหลเวียนของโลหิตในสมอง ทําให้ถึงแก่ชีวิตได้
5
ภาพที่2.2ภาพขวดเหล้า
รู้ลึกเรื่องของแอลกอฮอล์ (สสส.)
แอลกอฮอล์เป็นของเหลวไม่มีสี แอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มมึนเมา คือ เอธิลแอลกอฮอล์เครื่องดื่มมึนเมา
ชนิดต่าง ๆ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้ บรั่นดี จะมีปริมาณของเอธิลแอลกอฮอล์แตกต่างกัน ฤทธิ์ในทางเสพติด จะ
ออกฤทธิ์กดประสาท มีการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
อาการผู้เสพ
ถ้าดื่มมาก ๆ จะกัดกระเพาะอาหารเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหาร ความรู้สึกนึกคิดผิดไป ควบคุม
ตนเองไม่ได้ไม่สามารถยับยั้งตนเองจึงอาจแสดงอาการบางอย่างออกมา เช่น ดุร้าย ทะเลาะวิวาท พูดมาก
นอกจากนี้ยังมีอาการหน้าแดง ตัวแดงความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นแรงปัสสาวะบ่อย ถ้าดื่มมากขึ้นอีกจะทํา
ให้การรับรส กลิ่น เสียง และสัมผัสลดลง คนที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือคนที่เป็น โรคพิษสุราเรื้อรัง จะมี
ใบหน้าบวมฉุ หน้าแดง ตาแดง ผิวหนังคลํ้า มือสั่น ลมหายใจมีกลิ่นแอลกอฮอล์
1.2โทษของแอลกอฮอล์
โทษที่ได้รับ
ถ้าดื่มเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทําให้เกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง ทําลายตับและสมอง สติปัญญาเสื่อม
ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตใจผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว ปลายมือปลายเท้าชา กระเพาะอาหาร
อักเสบ เบื่ออาหาร ร่างกายซูบผอมและอาจเกิดโรคตับแข็งถ้าเสพติดมาก และไม่ได้เสพจะมีอาการกระวน
กระวาย อ่อนเพลียนอนไม่หลับเหงื่อออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว อารมณ์ฉุนเฉียว อาจมีอาการ
6
ชักประสาทหลอน เป็นโรคจิต และถ้าดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับยาที่กดประสาท เช่น ยานอนหลับ ยากล่อม
ประสาทจะเสริมฤทธิ์กันทําให้มีอันตรายมากขึ้นได้
เบียร์และสุราต่างกันอย่างไร
ทั้งเบียร์และสุราเป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มีคุณค่าทางอาหารตํ่าแต่มีแคลอรี่สูง เบียร์แตกต่างจาก
สุราที่ปริมาณแอลกอฮอล์และกรรมวิธีในการผลิต เบียร์ทําโดยการหมักข้าวบาร์เลย์งอก(malted barly)โดย
ไม่ได้กลั่น มีปริมาณแอลกอฮอล์น้อย ประมาณ 4 - 6% โดยปริมาตร ส่วนสุราชนิดต่าง เช่น วิสกี้ บรั่นดี
วอดก้า แม่โขง เป็นเหล้าชนิดกลั่นมีปริมาณแอลกอฮอล์สูงกว่า ประมาณ 40 - 50% โดยปริมาตร
เหล้าดองมีโทษและประโยชน์อย่างไร
การดื่มเหล้าดองจะมีโทษจากการที่ดื่มแอลกอฮอล์นั่นเอง เหล้าที่ใช้ในการดองยา คือเหล้าขาว เหล้า
จีน ซึ่งมีปริมาณแอลกอฮอล์สูง ถ้าดื่มในปริมาณน้อย ๆ จะให้เจริญอาหารและช่วยให้ย่อยอาหารดีขึ้น ถ้าดื่ม
มากเกินไปจะระคายเคืองกระเพาะอาหาร และอาจเกิดกระเพาะอักเสบหรือเป็นแผลในกระเพาะ นอกจากนี้
หญิงหลังคลอดจะมีอัตราการเปลี่ยนสภาพแอลกอฮอล์ และขจัดแอลกอฮอล์ได้น้อย เพราะตับทํางานได้น้อย
กว่าคนปกติ อาจเกิดอันตรายจากระดับแอลกอฮอล์ในเลือดที่สูงเกินไป และอาจเกิดการเสพติดทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจ อาจเกิดเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง นอกจากนั้นการใช้เหล้าดองสมุนไพรนาน ๆ อาจสกัดเอา
สารที่ไม่มีประโยชน์หรืออาจเป็นพิษออกมาด้ว
1.3อาการเมาค้าง
เมาค้าง
ส่วนใหญ่มักจะพบอาการปวดหัว ตามด้วยจะรู้สึกหงุดหงิด วิงเวียน เมื่อยล้า มีการคายนํ้า ปวดเมื่อย
ร่างกาย อาเจียน เวียนหัว สูญเสียความอยากอาหาร และท้ายที่สุดจะเกิดโรคท้องร่วง
ในเมื่อแอลกอฮอล์มีโทษมากมายขนาดนี้ จะดื่มกันต่อไปเพื่ออะไรกัน เลิกซะเถอะก่อนจะสูญเสียใน
ครั้งต่อไป
นายมานิต นพอมรบดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ขณะนี้สาเหตุการบาดเจ็บของคนไทย
อันดับ 1 มาจากอุบัติเหตุจราจร ซึ่งร้อยละ 40 เกิดจากเมาสุรา โดยผลสํารวจล่าสุดในปี 2550พบคนไทย
อายุ 15 ปีขึ้นไป ดื่มสุราจํานวน 14 ล้าน 9 แสนคน หรือทุกๆ 4 คน จะมีคนดื่มเหล้า 1 คน ผู้ชายดื่มมากกว่า
ผู้หญิง 6 เท่าตัวและอยู่ในเขตนอกเทศบาลมากกว่าในเขตเทศบาล เครื่องดื่มมึนเมา 3 ประเภทแรกที่ดื่มมาก
7
ที่สุด ได้แก่ เบียร์ร้อยละ 46 รองลงมาคือเหล้าขาว ร้อยละ 39 และเหล้าสีร้อยละ 11 โดยคนในเขตเทศบาล
นิยมดื่มเบียร์มากที่สุด ส่วนคนนอกเขตเทศบาลนิยมดื่มเหล้าขาวกันมาก แนวโน้มในรอบ 11 ปีมานี้คนติด
เหล้ามากขึ้น จาก7 ล้านคน ในปี 2539 เพิ่มเป็น10 ล้านคนในปี2550 จึงเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงในสังคมไทย
โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้
นายมานิตกล่าวว่า ปีนี้กระทรวงสาธารณสุขมี นโยบายให้ทุกจังหวัด รณรงค์ควบคุมการดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์โดยห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในหรือบนยานพาหนะ ซึ่งในช่วงเทศกาลสงกรานต์มักจะ
พบว่าประชาชนนิยมนั่งดื่มเครื่องดื่มเหล่านี้บนยานพาหนะไม่ว่าจะเป็นคนขับหรือคนนั่งก็ตามเนื่องจากมี
ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอุบัติเหตุทั้งการขับรถเฉี่ยวชนคนอื่น หรือเมาแล้วพลัดตกรถ นอกจากนี้กระทรวง
สาธารณสุขยังควบคุมการจําหน่ายเหล้าเพียงวันละ 2 เวลาเท่านั้น คือ 11.00-14.00 น. และ 17.00-24.00 น.
ห้ามขายเหล้าให้คนเมา รวมทั้งห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดให้แก่เด็กอายุตํ่ากว่า20 ปี หากฝ่าฝืน
มีโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
นายแพทย์หม่อมหลวงสมชาย จักรพันธุ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะมีผลต่อการ
ควบคุมการทํางานของสมอง โดยหากมีแอลกอฮอล์ในเลือด 30 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์จะทําให้เกิดสนุกสนาน
ร่าเริง หากมีระดับ50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะเสียการควบคุมการเคลื่อนไหวโอกาสเกิดอุบัติเหตุเป็น 2 เท่า
ของคนไม่ดื่ม หากมีระดับ 100มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะทําให้เดินเซ ไม่ตรงทางโอกาสเกิดอุบัติเหตุจะเพิ่ม
เป็น 6 เท่า ถ้ามีระดับ 200 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะเกิดการสับสน พูดจาไม่รู้เรื่อง ความเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุจะ
มากกว่า 40 เท่า และหากมี 300 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์จะง่วงซึม และถ้ามากกว่า 400 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์อาจ
ทําให้สลบถึงขั้นเสียชีวิต
2.ประวัติของgoogle site
ประวัติ google site
จุดเริ่มต้นของเรื่องนี้อยู่ที่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) อีกหนึ่งสุดยอดแห่งมหาวิทยาลัย
ด้านไอที (จริงๆแล้ว Stanford ก็จัดว่าเป็นอันดับต้นๆของโลกในสาขาอื่นๆอีกมากมาย ด้วยเช่นกัน)
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากจะเป็นต้นกําเนิดของสุดยอด 2 ไอเดียออนไลน์ระดับโลกอย่าง Yahoo! และ
Google แล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นต้นกําเนิดของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ๆกันอยู่ด้วยซํ้าไป ที่นี่เป็นที่ที่
คุณ John von Neuman (จอห์น วอน นูแมน) คิดและประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มีสถาปัตยกรรมที่เหมือนกับที่
เราใช้อยู่นี่แหล่ะ เป็นคนแรกของโลก (แม้จะไม่ใช่คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกก็ตาม – สับสมัยครับ –
8
คืออย่างนี้ครับ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ENIAC ซึ่งเป็นเครื่องที่มีความซับซ้อนสูง ต่อมาคุณ
von Neumanซึ่งก็ช่วยงานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ENIAC อยู่ด้วย แกเสนอว่า เราน่าจะแยกส่วนของ
คอมพิวเตอร์ออกเป็น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยรับเข้าและส่งข้อมูล ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่
แตกต่างจากคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และเป็นสถาปัตยกรรมที่เรายังใช้มาอยู่จนในปัจจุบัน หลายสถาบันก็เลย
ยกย่องให้ von Neumanเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว) แหม! พูดถึงมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซะยืดยาว
เลย พักไว้แค่นี้ก่อน เดี๋ยวหาใครที่กําลังเรียนแถวนั้นมาบรรยายสรรพคุณของ Stanford ต่อ ตอนนี้เข้าเรื่องกู
เกิ้ลดีกว่าครับ เดี๋ยวกระดาษจะหมดซะก่อน เรื่ิิ
องก็เริ่มตอนปิดเทอมภาคฤดูร้อนปี 1995 ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้
แหละครับ ตอนนั้น 1ใน 2 ของผู้ก่อตั้งกูเกิ้ล เป็นแค่นักเรียนปริญญาเอก ที่กําลังจะขึ้นปี 2 ของภาควิชา
วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) ธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่อาสาเข้ามาเป็นนักศึกษาช่วยงาน Open
House โดยปกติทุกๆปีในช่วงก่อนเปิดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิดบ้านต้อนรับผู้มาเยือน เรา
เรียกว่า Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบ้างแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรียนในมหาิิ
วิทยาลัยไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นั่น ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนําสถานที่
แนะนําคณะ แนะนํา Lab แนะนําครูอาจารย์เป็นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือ
คุณ Larry Page ก็โผล่มาในงาน Open House ในปีนี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก
มหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มาหยกๆ
ทั้งสองเจอกันเพราะ Larry Page ไปอยู่ในกลุ่มทัวร์ ที่มี Sergey Brinเป็นหัวหน้ากลุ่มทัวร์พอดี ดูท่าว่างานนี้
ไม่ใช่รักแรกพบครับ เพราะระหว่างทางที่เดินทัวร์มหาวิทยาลัย และเมือง San Francisco อยู่ ทั้งสองคนนี้ก็มี
เรื่องให้ถกเถียงกันได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องของการจัดผังเมืองของ San Francisco (??!!??)
Page เล่าให้ฟังว่าตอนนั้นเค้าจําได้ว่า Sergey Brinเป็นคนที่มีความคิดที่ค่อนข้างจะติดยึด
เป็นคนที่ไม่ค่อยโสภาที่น่าจะอยู่ใกล้เท่าไหร่ ถ้าคิดว่าตัวเองถูกละก็จะเถียงหัวชนฝา ซึ่งบังเอิญว่า ตัวเอง
(Page) ก็เป็นคนแบบนั้น ส่วน Sergey ก็บอกว่าจริงๆแล้ว Larry ก็ออกจะแปลกๆอยู่เหมือนกันแหละ เถียง
หัวชนฝา ไม่ค่อยยอมใคร เอาเป็นว่า ทั้งคู่ถกเถียงกันเรื่องต่างๆทั้งวันที่เดินทัวร์ แม้จะไม่ลงรอยด้วยดี แต่ทั้ง
คู่ก็จํากันได้ดีก่อนจะแยกจากกันในตอนเย็น (แหม! พล็อตยังกับหนังไทยเลยครับ พระเอกกับนางเอกเจอกัน
ค รั้ ง แ ร ก จ ะ ต้อ ง มี ท ะ เ ล า ะ ต บ ตี ต่ า ง ค น ต่ า ง บ อ ก ว่ า เ ก ลี ย ด แ ต่ ใ น ใ จ คิ ด ถึ ง อ ยู่ )
อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd
ผู้เชี่ยวชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และก็เริ่มมองหาหัวข้อ
วิทยานิพนธ์ พ่อของ Larry Page (ขณะนั้นเป็นอาจารย์ด้าน Computer Science อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน)
บอกว่า Thesis ปริญญาเอก จะเป็นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกําหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต
ก่อนจะตัดสินใจเลือกทําให้ไตร่ตรองให้ดี ทําให้ Page ใช้เวลาอยู่นานในการเลือกหัวข้อทําวิทยานิพนธ์
9
หลังจากลองนึกๆดูสิบกว่าเรื่อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่อง World Wide Web นี่เอง
และแล้วจุดเริ่มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็นไอเดียที่เปลี่ยนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกําเนิดของยักษ์ใหญ่
ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่มขึ้นที่นี่ …Remark1
ชื่อ SurgeyBrinอ่านออกเสียง ว่า เซอร์เก บริน โดย
Assoc. Prof. StanislavMakanov (อาจารย์ชาวรัสเซีย ประจําสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) Page เริ่มหัวข้อวิจัยเกี่ยวกับเว็บก็จริง แต่ไม่ได้เริ่มมองหาวิธีที่จะค้นหาข้อมูลบน
เว็บ แต่สิ่งที่เค้ามองเห็นกลับเป็น มุมมองทางด้านคณิตศาสตร์ของเว็บไซท์มากกว่า คือ Page มองแบบนี้ครับ
...ถ้าหากมองว่า 1 เซอร์ฟเวอร์ หรือ 1 เว็บไซท์ เช่น วิชาการ.คอม หรือ 1 คอมพิวเตอร์ เป็นเพียง จุด (Node,
Vertex) จุดหนึ่งบนกราฟ (Graph) และ ลิ๊งค์ (link) เช่น www.ipst.ac.th ที่ วิชาการ.คอม เชื่อมต่อไปยังเว็บ
ไซท์อื่นๆ เหมือนกับเป็นทางเชื่อมต่อกัน หรือ ขอบ(Edge) ระหว่างจุดเหล่านั้น หรือ พูดง่ายๆว่า Page
มองเห็น อินเตอร์เน็ตเป็นกราฟ นั่นเอง (แฮ่ะๆ แบบนี้เรียกว่ามันอยู่ในสัญชาติญาณ มองอินเตอร์เน็ตเป็น
กราฟ ทําได้ไงเนี่ย) ซึ่งบ้านเรา นิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านทางสายวิทย์มักจะได้เรียนเรื่อง กราฟ
ประเภทนี้ในเรื่อง ทฤษฏีกราฟ (Graph Theory) แถวๆปีต้นๆ (ซึ่งน้องๆตัวเล็กๆอาจสับสนนิดนึง เพราะ
กราฟที่คุ้นเคยอาจจะหมายถึง กราฟที่เป็นตัวแทนของข้อมูล เช่น กราฟแท่ง กราฟเชิงเส้น ซะมากกว่า)
ถ้าไม่ใช่ในวิชาคณิตศาสตร์ ก็จะเป็นวิชา Algorithm โดยเฉพาะพวกที่เรียน วิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็น่าจะ
ผ่านหูผ่านตากันมาแล้วทุกคน (ถ้าไม่ใส่ไหคืนอาจารย์ไปหมดแล้วซะก่อน) (มีอาจารย์และนักคณิตศาสตร์
ในเมืองไทยหลายคน ที่เชี่ยวชาญเรื่อง Graph Theory เช่น ดร.จริยา อุ่ยยะเสถียร ภาควิชาคณิตศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จบปริญญาเอกเรื่องนี้มาโดยเฉพาะ เดี๋ยวจะลองเกี้ยวมาช่วยเขียน เรื่อง Graph
Theory อีกซักบทความ)แต่คราวนี้ลองใช้จินตนาการดูกันหน่อยนะครับ ว่าแน่นอนเว็บไซท์หนึ่งเว็บ ก็ลิงค์
ไปยังหลายร้อย หลายพันเว็บ และมีเว็บไซท์หลายๆเว็บ ที่ลิงค์มายังเว็บไซท์หนึ่งๆ และปัจจุบันเรามีกันเป็น
พันๆ ล้านเว็บ เพราะฉนั้น กราฟ ที่เราใช้แทน อินเตอร์เน็ต ก็จะเป็นกราฟขนาดมหึมา และมีความซับซ้อน มี
เส้นโยงกันไปโยงกันมาอย่างยุ่งเหยิง ซึ่งตรงนี้แหละที่ Page มองแล้วเห็นว่ามันช่างน่าตื่นเต้น น่าสนใจ น่า
ติดตาม เสียเหลือเกิน Page เคยบอกว่า Internet คือ กราฟที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้น และมันก็ยังจะ
เติบโต ใหญ่ขึ้น ใหญ่ขึ้น ทุกๆวัน ด้วยอัตราเร็วในการเติบโตสูงมาก โอ! มันช่างเป็นเรื่องที่น่าสนใจทํา
วิทยานิพนธ์เหลือเกิน (ถ้าเป็นคนสามัญชนคนไทยธรรมดา ก็อาจจะบอกว่า โอ! มันซับซ้อนเหลือเกิน ไม่มี
ทางทําได้หรอก ทําไปเดี๋ยวไม่จบ หนีดีกว่า) ซึ่ง Prof. Winogradอาจารย์ที่ปรึกษาของเค้าก็เห็นด้วย และเห็น
ว่าน่าจะศึกษาเรื่องของโครงสร้างของกราฟของเว็บ เป็นการเริ่มต้นวิทยานิพนธ์ Page ทําการศึกษาด้วย
ตัวเองอยู่ไม่นาน เค้าก็เจอปัญหาแรกเข้าให้
โอเคตรงนี้เราเข้าเรื่อง graph theory กันนิดนึง (เอาเป็นว่าผมพยายามวงเล็บภาษาอังกฤษของคําไทยไว้ด้วย
ครับ จะได้ช่วยให้คนทีคุ้นเคยกับคําอังกฤษในวิชานี้แล้ว ได้เห็นภาพง่ายขึ้นนะ) คืออย่างนี้ ในกราฟปกติ
ขอบของกราฟ (Edge) จะเป็นตัวบ่งถึงความสัมพันธ์กันระหว่าง จุด (Vertex) ซึ่งโดยปกติแล้ว เราจะรู้และ
10
นับจํานวนได้ว่า จากจุดจุดหนึ่ง มีขอบ หรือ เส้นลากไปยังจุดอื่นๆ อีกกี่จุด และมีกี่จุดที่ลากมาหาตัวเอง แต่
หน้าเว็บเพจกลับไม่เป็นแบบนั้นซะทีเดียว เพราะ ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆ (สมมติว่าเว็บ 1 หน้าเป็น 1 จุดใน
กราฟ) เรารู้ครับว่า จากจุดที่เราอยู่ปัจจุบัน มันลิงค์ไปยังหน้าไหนบ้าง คือ เรารู้ว่ามันมี จํานวนขอบที่วิ่ง
ออกไป (Out Degree) จากตัวเองกี่ขอบกี่เส้น และไปที่ไหนบ้าง แต่ที่เราไม่รู้นี่คือว่า มีเว็บเพจใดบ้าง กี่หน้า
ที่ลิงค์มาหาหน้าที่เราสนใจ โอยสับสนใช่มั้ยครับ ผมยกตัวอย่างเปรียบเทียบแบบนี้ก็แล้วกัน ถ้าผมถามคุณ
ว่าคุณรู้จักคนกี่คน คุณอาจจะต้องนั่งไล่นับนิ้วไปเรื่อยๆ แต่คุณก็บอกได้ว่าคุณรู้จักใครบ้าง และคล้ายๆกัน
ผมถามว่า "คุณรู้มั้ยว่ามีใครในโลกนี้รู้จักคุณบ้าง?" (เปรียบกับ "รู้มั้ยว่ามีเว็บไหนลิงค์มาที่เราบ้าง") คําตอบ
คือ ไม่รู้ จะไปรู้ได้ยังไงว่าใครรู้จักเราบ้างโอเค เริ่มเห็นภาพนะครับ ลองนึกตามแบบนี้นะครับ ว่าหน้าเว็บที่
คุณอ่านอยู่ตอนนี้เนี่ย ลิงค์มาจากหน้าไหน URL อะไรบ้าง ถ้าคุณไม่กด Back มีข้อมูลตรงไหนบอกมั้ยครับ?
หรือแม้แต่คุณจะกดBack คุณก็รู้แค่ลิงค์เดียวที่ลิ๊งค์มาหาหน้านี้ แต่ที่จริง อาจจะมีหน้าเว็บอื่นๆอีกเป็นร้อยๆ
ที่ มี ลิ๊ ง ค์ ม า ห า ห น้ า นี้ ที่ เ ร า ไ ม่ รู้ ค า ถ า ม คื อ แ ล้ ว เ ร า จ ะ รู้ ไ ด้ ยั ง ไ ง ?
ซึ่งตรงนี้หล่ะยาก เพราะอินเตอร์เน็ตไม่ได้ให้ข้อมูลนี้มา และตรงนี้เองที่ Page คิดว่า มันน่าจะดี ถ้าหากว่าเรา
รู้ (หรืออย่างน้อย มีวิธีการที่จะทําให้รู้) ว่าใครลิงค์หาใครบ้าง หรือ มีใครลิงค์มาหาหน้านี้บ้างกี่คน Page ก็
เลยเลือกเอาปัญหานี้ มาทําเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก และตั้งชื่อเล่นโปรเจ็คของเค้าว่า "BackRub
Project" (โครงการ "ถูหลัง" - แหม! ผมแปลตรงตัวไปหน่อยหรือเปล่าเนี่ย - สงสัยว่า Page คงอยากรู้ว่า
ตอนที่อาบนํ้านี่ ใครถูหลังให้เค้าบ้าง -! ว่าไปโน่น)โอเค งั้นกลับมาที่คําถามเดิม ถ้าเราอยากจะรู้ว่ามีใครรู้จัก
เราบ้างกี่คน เราจะทําอย่างไร จริงๆคําตอบนี้ง่ายมากครับ คุณก็ถามคนทุกๆคนทั่วทั้งโลกนี้เลยซิครับว่าเค้า
รู้จักใครบ้าง ด้วยวิธีนี้ พอคุณถามครบทุกคนทั้งโลก คุณก็จะรู้ว่าทั้งโลกนี้มีคนรู้จักคุณกี่คนใช่ป่าวครับ
แหม! คิดได้ไง ง่ายจังคล้ายๆกัน เพื่อจะรู้ว่าใครลิงค์มาที่หน้าเว็บนี้บ้าง Page ก็เริ่มจากการไล่ไปที่ละหน้าเว็บ
แล้วดูว่าหน้านั้นลิงค์ไปที่ไหนบ้าง (เหมือนว่าหน้านั้นรู้จักใครบ้าง) แล้วเก็บลิงค์ทั้งหมดในหน้านั้นมาเข้าคิว
ไว้เพื่อจะได้ไล่ถามไปเรื่อยๆ (ตรงนี้แหล่ะครับที่เรียกว่า Crawler - หน้าถัดไปจะอธิบายอีกที) Page คิดว่า
แหมไล่ไปเรื่อยๆแบบนี้ ซักอาทิตย์นึงก็เก็บเว็บหมดจากทั่วโลกแล้ว บ้าน. ก็เป็นจุดเริ่มต้นของ Backrub โปร
เจ็คนั่นเอง
จาก BackRub Project ที่ค่อยๆ เติบโตมา ด้วยนํ้ามือของนักศึกษา 2 คน ที่ใช้ห้องนอนที่หอพักนักศึกษา ทํา
เป็น ห้อง Server และ ห้องเขียนโปรแกรม ได้กลายเป็น Google Project โปรแกรม Search Engine ขนาดจิ๋ว
ที่ดูดทรัพยากร Network ของมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด ที่ได้ชื่อว่า Network ที่เร็วเป็นอันดับต้นๆของโลก
ได้อย่างไรPage เริ่มที่จะคิดว่า เราจะทําไงถึงจะรู้ว่า ลิงค์ใดบ้างที่ลิงค์มายังเว็บหนึ่งๆ หลังจากที่ศึกษา
11
เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ไม่นาน(ไม่กี่เดือน) Page ก็พบว่า จริงๆแล้ว เรื่องของการลิงค์ไปลิงค์มาของเอกสารนี่ มีกัน
มานานแล้วในวงการวิชาการ ก็คือเรื่องของ ผลงานวิชาการ นั่นเอง คือโดยปกติแล้ว หากนักวิชาการท่านใด
คิดทฤษฎีอะไรออกมาได้ใหม่ๆ หรือค้นพบอะไรใหม่ หรือต้องการจะแก้ไขสิ่งที่มีอยู่แล้ว ก็จะทําการตีพิมพ์
ผลงานของตนเองในวารสารวิชาการ (Journal) โดยจะต้องอ้างอิงถึงที่มาของความรู้ หรือ ผลงานที่มีมาก่อน
ของคนอื่น หรือที่ใกล้เคียง ก็เพื่อให้องค์ความรู้ใหม่ที่ตีพิมพ์ มีรากฐานจากองค์ความรู้ ที่ได้รับการพิสูจน์
แล้ว (ตีพิมพ์แล้ว) นั่นเอง ดังนั้น ผลงานวิชาการ ไหนที่ได้รับการอ้างถึง (Citation) บ่อยๆ จาก นักวิชาการ
คนอื่นๆ แสดงว่า ผลงานวิชาการชิ้นนั้นได้รับการยอมรับอย่างจริง ในวงการวิชาการเรามีตัวชี้วัดกันเลยว่า
ผลงานหนึ่งๆ มีการถูกอ้างถึงมากน้อยเพียงใด เราเรียกดัชนีตัวนี้ว่า Citation index ซึ่งการอ้างอิงด้าน
วิชาการถือเป็นเรื่องใหญ่ ใหญ่ขนาดไหนครับ ก็ใหญ่พอที่จะมิวิชาที่ว่าด้วยเรื่องนี้โดยเฉพาะเลย คือ
วิชา bibliometrics (ผมเองก็ไม่เคยเรียนครับ แต่เข้าใจว่าน่าจะเป็นทางกลุ่มนักศึกษา วารสาร หรือ
บรรณารักษ์หรือ สารสนเทศ - เดี๋ยวจะค้นมาให้ว่าที่ไหนสอนบ้างในเมืองไทย)
12
3. กฎหมายการดื่มแอลกอฮอล์
พระราชบัญญัติ
ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พ.ศ. ๒๕๕๑
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.
๒๕๕๑”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” หมายความว่า สุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ทั้งนี้ ไม่รวมถึงยาวัตถุ
ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
13
“ผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์” หมายความว่า บุคคลที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จนก่อให้เกิด
ผลเสียต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ โดยการดื่มนั้นมีลักษณะที่ต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้น และเมื่อหยุดดื่มจะมี
อาการแสดงของการขาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร่างกาย
“ขาย” หมายความรวมถึง จําหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน ให้ เพื่อประโยชน์ในทางการค้า
“โฆษณา” หมายความว่า การกระทําไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็น ได้ยินหรือทราบ
ข้อความเพื่อประโยชน์ในทางการค้า และให้หมายความรวมถึงการสื่อสารการตลาด
“การสื่อสารการตลาด” หมายความว่า การกระทํากิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อขายสินค้า บริการหรือภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ข่าวสาร การส่งเสริมการ
ขายการแสดงสินค้า การจัดหรือสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพิเศษ และการตลาดแบบตรง
“ข้อความ” หมายความรวมถึง การกระทําให้ปรากฏด้วยตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง
เสียง เครื่องหมายหรือการกระทําอย่างใด ๆ ที่ทําให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจความหมายได้
“ฉลาก” หมายความว่า รูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําให้ปรากฏข้อความ
เกี่ยวกับสินค้าซึ่งแสดงไว้ที่สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้า หรือสอดแทรก หรือรวมไว้กับ
สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้าและหมายความรวมถึงเอกสาร หรือคู่มือสําหรับใช้ประกอบ
กับสินค้า ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้านั้น
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ
“คณะกรรมการควบคุม” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ
นี้
“ผู้อํานวยการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมควบคุมโรค
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจแต่งตั้ง
พนักงานเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้
บังคับได้
หมวด ๑
คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ
14
มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์แห่งชาติ” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็น
ประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ท่องเที่ยวและกีฬา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงอุตสาหกรรม และปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เป็นกรรมการ
ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นเลขานุการ และให้อธิบดีและผู้อํานวยการสํานักงาน
เศรษฐกิจการคลังเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
มาตรา ๖ ให้คณะกรรมการมีที่ปรึกษาเพื่อให้คําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินงานตาม
อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ประกอบด้วย
(๑) ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทยผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
(๒) ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการรณรงค์เพื่อลดและเลิกการ
บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ
การคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน
(๓) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์
ด้านสังคมศาสตร์ ด้านกฎหมาย และด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านละหนึ่งคน
การเลือกและการแต่งตั้งที่ปรึกษาตาม (๒) และ (๓) ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ
กําหนด
ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ มาใช้บังคับกับการดํารง
ตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของที่ปรึกษาตาม (๒) และ (๓) โดยอนุโลม เว้นแต่อํานาจของรัฐมนตรี
ตามมาตรา ๑๓ (๓) ให้เป็นอํานาจของคณะกรรมการ
มาตรา ๗ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม
ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่มาประชุม
หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการคนที่หนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม หากรองประธาน
15
กรรมการคนที่หนึ่งไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการคนที่สองเป็นประธาน
ในที่ประชุม หากรองประธานกรรมการคนที่สองไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการซึ่งมา
ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนนถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา ๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) กําหนดนโยบาย แผนงาน และการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกี่ยวกับมาตรการด้าน
ภาษี รวมทั้งมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้
ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
(๒) ติดตามประเมินผลและตรวจสอบการดําเนินงานตาม (๑)
(๓) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นหรือตามที่
คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๙ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติการ
ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการหรือ
คณะทํางานโดยอนุโลม
หมวด ๒
คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์” ประกอบด้วย
(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ
(๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ ง ปลัด
กระทรวงการคลังเป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง และปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรองประธาน
กรรมการคนที่สาม
(๓) กรรมการโดยตําแหน่ง ได้แก่ ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ปลัดกระทรวงพาณิชย์ปลัดกระทรวง
16
ยุติธรรม ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการ
ตํารวจแห่งชาติ ปลัดกรุงเทพมหานคร และผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(๔) ผู้แทนองค์กรเอกชน จํานวนสามคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับการ
คัดเลือกจากองค์กรเอกชนที่มีวัตถุประสงค์มิใช่เป็นการแสวงหากําไร และดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับด้านการ
สนับสนุนและรณรงค์ให้มีการลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนหรือ
สตรี ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีผู้แทนองค์กรเอกชนในแต่ละด้านไม่เกินหนึ่งคน ทั้งนี้ ตามระเบียบที่
รัฐมนตรีกําหนด
(๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวนสามคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์ด้านการแพทย์ จิตวิทยาหรือการสาธารณสุข ด้านสังคมสงเคราะห์ สังคมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์หรือนิเทศศาสตร์ ด้านการศึกษา การศาสนาหรือวัฒนธรรมโดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้านไม่
เกินหนึ่งคน
ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ อธิบดีกรมสรรพสามิตเป็นกรรมการและ
ผู้ช่วยเลขานุการ และให้ผู้อํานวยการเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
มาตรา ๑๑ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ
ต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๓) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อย
กว่าสองปี หรือเป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๔) ไม่เคยต้องคําพิพากษาว่ามีความผิดในคดีที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เว้นแต่
พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
(๕) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งในทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
กรรมการหรือผู้ดํารงตําแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือ
เจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
(๖) ไม่เป็นผู้ประกอบกิจการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือมีส่วนได้เสียในกิจการเกี่ยวกับ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๗) ไม่เป็นผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
มาตรา ๑๒ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) มีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสามปี
กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
17
ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตําแหน่งตามวาระในวรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการแต่งตั้งกรรมการ
ขึ้นใหม่ภายในเก้าสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่ง
ตามวาระนั้นอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕)
พ้นจากตําแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีให้ออก
(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๑
ในกรณีที่กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระให้มีการแต่งตั้ง
กรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างลง เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันและในระหว่างที่ยังมิได้
แต่งตั้งกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้
มาตรา ๑๔ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ในระหว่างที่
กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตําแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้ง
เพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งนั้นอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ
กรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้วนั้น
มาตรา ๑๕ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมคณะกรรมการควบคุม
โดยอนุโลม
มาตรา ๑๖ คณะกรรมการควบคุมมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอนโยบาย แผนงาน และการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกี่ยวกับมาตรการด้าน
ภาษี รวมทั้งมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้
ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อคณะกรรมการ
(๒) กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ฉลาก พร้อมทั้งข้อความคํา
เตือนสําหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิต หรือนําเข้า
(๓) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกําหนดเวลาขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถานที่ห้าม
ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วิธีหรือลักษณะการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ต้องห้ามสถานที่หรือบริเวณห้าม
บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสิ่งอื่นใดที่ใช้เป็นการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
18
(๔) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการบําบัดรักษาหรือฟื้ นฟูสภาพผู้ติด
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๕) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการหรือรัฐมนตรีในการออกประกาศหรือระเบียบเพื่อ
ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้แล้วแต่กรณี
(๖) ให้คําปรึกษาแนะนํา และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนเกี่ยวกับการ
ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมทั้งการเสนอมาตรการในการป้ องกันผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๗) จัดให้มีหรือส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้แก่เยาวชนและ
ประชาชนโดยทั่วไปให้เข้าใจถึงโทษและพิษภัยของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๘) เชิญข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่ง
เอกสารหรือข้อมูล เพื่อประกอบการพิจารณาดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
(๙) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามมติคณะกรรมการ
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการควบคุมมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อ
ปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการควบคุมมอบหมาย
ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการหรือ
คณะทํางานโดยอนุโลม
มาตรา ๑๘ ให้มีคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานกรรมการ ปลัดกรุงเทพมหานครเป็นรองประธาน
กรรมการ ผู้แทนกองบัญชาการตํารวจนครบาล ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ ผู้แทนกรมสรรพสามิต หัวหน้า
สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม ผู้อํานวยการ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในกรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งหนึ่งคน
ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา ผู้อํานวยการสํานักการแพทย์ และผู้อํานวยการเป็นกรรมการ และกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คนซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถและ
ประสบการณ์ด้านสังคมสงเคราะห์ การแพทย์จิตวิทยา และกฎหมายด้านละหนึ่งคน
ให้ผู้อํานวยการสํานักอนามัยเป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์กรุงเทพมหานครจะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในสํานักอนามัยไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้
มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่า
ราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 

What's hot (20)

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 

Viewers also liked

โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์usaneepor
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนบล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
ชาเขียว
ชาเขียวชาเขียว
ชาเขียวfranceky
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่น
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่นโครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่น
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่นMeunfun Phitset
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
9789740331407
97897403314079789740331407
9789740331407CUPress
 

Viewers also liked (20)

โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงงานโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงานหน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนบล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน
บล็อคการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน
 
ชาเขียว
ชาเขียวชาเขียว
ชาเขียว
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่น
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่นโครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่น
โครงงานเรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวยรุ่น
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
9789740331407
97897403314079789740331407
9789740331407
 

Similar to โครงงานโทษแอลกอฮอล์

โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม BKM117
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอลโรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอล1234_
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 

Similar to โครงงานโทษแอลกอฮอล์ (9)

โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอลโรคคลอเรสเตอรอล
โรคคลอเรสเตอรอล
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
Xxx66666
Xxx66666Xxx66666
Xxx66666
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานโทษแอลกอฮอล์

  • 1. โครงงาน โทษของแอลกอฮอล์ ครูที่ปรึกษา นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สมาชิก นาย กิตตินันท์ หนูอินทร์ เลขที่ 25 ชั้น ม.5/3 นาย ศิวกร ทองนุ่ม เลขที่ 28 ชั้น ม.5/3 นาย สุรพร ละออ เลขที่ 29 ชั้น ม.5/3 นาย สุปรีดา มารักษ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.5/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. บดคัดย่อ โครงงานเรื่องโทษของแอลกอฮอล์จัดทาขึ้นเพื่อไห้ความรู้กับคนที่สนใจในเรื่องโทษของแอลกอฮอล์ และต้องการรณรงค์ให้คนดื่มแอลกอฮอล์ลดน้อยลง แล้วต้องการบอกไห้ทราบถึงโรคและผลกระทบต่างๆที่ เกิดจากแอลกอฮอล์ การดาเนินโครงงาน โทษของแอลกอฮอล์สามารถเผยแพร่ได้จริง โดยใช้อินเตอร์เน็ตในการเผยแพร่เพื่อ ประโยชน์แก่คนทั่วไปที่อยากทราบเนื้อหา โทษของแอลกอฮอล์เพิ่มเติมหรือยังไม่ทราบ
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานโทษของแอลกอฮอล์สาเร็จลงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบุคคลต่างๆ คณะผู้จัดทาขอกราบ ขอบพระคุณ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม และผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาที่ได้ช่วยเหลือในด้านต่างๆ และยัง ไห้การแนะนาในโครงงานเรื่องนี้ ทางผู้จักทาจึงขอ ขอบพระคุณ ทุกท่านที่ไห้การช่วยเหลือ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่1 บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน 1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 ประวัติของแอลกอฮอล์ ประวัติความเป็นมาของบุหรี่ 2 พิษเรื้อรัง 5 โทษของแอลกอฮอล์ โทษที่ได้รับ 6 เบียร์และสุราต่างกันอย่างไร 6 เหล้าดองมีโทษและประโยชน์อย่างไร 6 อาการเมาค้าง เมาค้าง 7 ประวัติของ google site
  • 5. สารบัญ(ต่อ) google site 8 กฎหมายการดื่มแอลกอฮอล์ 12 สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 26 อุบัติเหตุที่เกิดจากการดื่มสุรา 26 บทที่3 การดาเดินงาน วัสดุอุปกรณ์ 28 วิธีดาเนินงาน 28 การดาเนินงาน 28 รูปวิธีดาเนินงาน 29 จัดทา Google site 30 เว็ปไซต์ที่จัดทา 30 บทที่4 ผลการดาเนินงาน 31 บทที่5 สรุปการดาเนินการ สรุปผลการศึกษา 32 ปัญญาหาที่พบในการทาโครงงาน 32 ข้อเสนอแนะ 32 บรรณานุกรม 33 ภาคผนวก 34 ผู้จัดทา 38
  • 6. สารบัญภาพ เรื่อง หน้า บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 2.1 ภาพแอลกอฮอล์หรือเหล้า 2 ภาพที่2.2 ภาพขวดเหล้า 5 บทที่ 3 การดาเนินการ ภาพที่3.1 คอมพิวเตอร์ 29 ภาพที่3.2 เว็บไซต์นาเสนองาน 29 ภาพที่3.3 เว็บไซตาเสนองาน 30 บทที่4 ผลการดาเนินการ ภาพที่ 4.1 ตัวอย่างเว็บไซต์ 31 ภาพที่4.2 เว็บไซต์ที่จัดทา 31
  • 7. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาละความสาคัญ เนื่องด้วยปัจจุบันมีคนติดแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้น ทาให้ทางผู้จัดทาอยากจะนาเสนอถึงโทษของ แอลกอฮอล์ที่มีผลเสียต่อร่างกาย แอลกอฮอล์มีผลเสียต่อคนที่ดื่มทาให้ขาดสติ เกิดโรคต่างๆมากมายหรือ อาจนามาถึงการเสียชีวิตและสูญเสียทรัพย์สิน ทางผู้จัดทาเลยทาโคงงานเรื่องโทษของแอลกอฮอล์ขึ้นมาเพื่อ ไห้คนที่สนใจหรืออยากจะศึกษาเรื่องโทษของแอลกอฮอล์สาเหตุสาคัญที่ทาไห้โทษแอลกอฮอล์มีอยู่ มากมายมีอยู่ไม่กี่อย่างคือการที่ดื่มแอลกอฮอล์อย่างมากโดยไม่คิดถึงโทษของมันที่ตามมา การที่ไม่มีคนไห้ ความรู้ถึงโทษหรือผลเสียที่ตามมาของแอลกอฮอล์เด็กควรที่พ่อแม่ไห้คาปรึกษาแนะนากับลูกในทางที่ถูก วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน 1. เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้างโครงงานโทษของแอลกอฮอล์ 2. เพื่อไห้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของแอลกอฮอล์ 3. เพื่อรณรงค์ไห้การดื่มแอลกอฮอล์ในปัจจุบันลดน้อย 4. เพื่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ห่างไกลแอลกอฮอล์มากขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทางผู้จัดทาคาดว่าโครงงานนี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องโทษและพิษภัยของแอลกอฮอล์ หรือผู้ที่ศึกษาไม่มากก็น้อย โครงงานชิ้นนี้ได้รับการไห้คาปรึกษาจากอาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ทางผู้จัดทา เลยขอขอบคุณไว้ณ ที่นี้ด้วย
  • 8. 2 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1 ประวัติของแอลกอฮอล์ 1.1ประวัติความเป็นมาของแอลกอฮอล์ ภาพที่ 2.1 ภาพแอลกอฮอล์หรือเหล้า แอลกอฮอล์นั้น นักเคมีเรียก ethyl alcohol หรือ ethanol (CH3CH2OH) แอลกอฮอล์ธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์ ที่หลงเหลือจากการหมัก มนุษย์เรารู้จักแอลกอฮอล์มานานนับพันปีแล้ว ในรูปแบบของเหล้าองุ่น เบียร์ และนํ้าผึ้ง ในสมัยคริสต์ศตวรรษ ที่ 16 นักกายวิภาคศาสตร์ชื่อ Vesalius ได้ตรวจพบว่า คนที่ดื่มแอลกอฮอล์ มากมักจะเป็นโรคร้ายนานาชนิดที่สําคัญๆ ได้แก่ โรคตับวาย เป็นต้น คนติด สรุายาเมามักจะเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวาย มะเร็งกระเพาะ ตับแข็งและเส้นเลือดในสมองแตก คนขับรถที่เมามักจะขาดพลังควบคุมสติสัมปชัญญะ ทําให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน หญิงมีครรภ์ที่ดื่ม แอลกอฮอล์จะแท้งลูกในท้อง หรือหากไม่แท้งทารกที่คลอดออกมาจะมีร่างกายและสติปัญญาที่บกพร่อง
  • 9. 3 ภัยอันตรายทั้งหลายเหล่านี้ทําให้แพทย์สรุปได้ว่า แอลกอฮอล์เป็นสาเหตุสําคัญอันดับสองรองจากบุหรี่ที่ทํา ให้คนเราเสียชีวิตก่อนถึง เวลาอันควร งานวิจัยของ Pakhen Erg แห่ง Neurological Research Laboratory ที่เดนมาร์ก ฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร Lancet ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ได้ชี้ให้เห็นว่า แอลกอฮอล์มิได้ฆ่าหรือทําลายเซลล์ประสาทใน สมองแต่อย่างใด มันเพียงแต่ทําให้เนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทเหล่านั้นเสื่อมสมรรถภาพเท่า นั้นเอง เขาพบ ว่า จํานวนเซลล์เนื้อเยื่อในสมองของคนติดเหล้าจะน้อยกว่าจํานวนเซลล์เนื้อเยื่อในสมองของ คนไม่กินเหล้า 11% และในสมองส่วนที่ทําหน้าที่จํานั้น จํานวนเซลล์เนื้อเยื่อสมองของคนติดเหล้าน้อยกว่า ของคนที่ไม่ติดเหล้า80% กลไกการออกฤทธิ์ต่ออวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายการออกฤทธิ์ของสุรา คนส่วนมาก มักเข้าใจผิดว่าสุรานั้นจะออกฤทธิ์ต่อร่างกายเมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วมันออกฤทธ์ ทําลายตั้งแต่อวัยวะแรกที่สําผัสจนตลอดตามเส้นทางเดินของ สุราที่ผ่านเข้ามาในร่างกาย ซึ่งสามารถอธิบายตามลําดับขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้ 1.ปากและลําคอ เมื่อสุราเข้าปากและลําคอจะไปออกฤทธิ์ต่อผิวอวัยวะภายในช่องปากทําให้เกิดการระคาย เคืองชิ้นเยื่อบุที่ละเอียดอ่อนในปากและหลอดอาหาร มักมีอาการร้อนซู่เมื่อผ่านลงไป 2.กระเพาะอาหารและลําไส้ สุราเมื่อผ่านลงสู่กระเพาะจะมีผลกับผนังชั้นนอกสุดที่เป็นชั้นที่จะปกป้ อง กระเพาะอาหาร จะทําให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้เล็ก ถ้าอาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน เกิดอาการอักเสบของเยื่อบุชั้นในสุดของผนังหรือกระเพาะอาหารหรืออาจทะลุลําไส้เล็กได้นอกจากนั้นสุรา ยังเป็นอุปสรรคกับการดูดซึมอาหารบางชนิด เช่น วิตามินB1, กรดโฟลิก ,ไขมัน วิตามินบี6,วิตามินบี 12 และกรดอะมิโนต่าง ๆ 3.กระแสเลือด ร้อยละ95 ของสุราที่เข้าสู่ในร่างกาย จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด โดยผ่านเยื่อบุในกระเพาะ อาหาร และลําไส้ส่วนดูโอดีนั่มอย่างรวดเร็ว เมื่อถึงกระแสเลือดจะเข้าไปในเซลล์และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกายอย่างรวดเร็ว แอลกอฮอล์ทําให้เซลล์ของเลือดเกาะเป็นก้อนเหนียว การไหลเวียนจึงช้าลง และ ปริมาณออกซิเจนลดตํ่าลงด้วยสุราทําให้โลหิตจาง โดยจะไปลดการสร้างเม็ดเลือดแดง ทําให้ความเม็ดเลือด ขาวทําลายแบคทีเรียช้าลง และทําให้การแข็งตัวของเกล็ดเลือดช้าลงด้วย 4.ตับอ่อน แอลกอฮอล์จะทําให้เซลล์ของตับอ่อนระคายเคือง และบวมขึ้น สุราทําให้การไหลของนํ้าย่อยไม่ สามารถที่จะเข้าไปในลําไส้เล็กได้ทําให้นํ้าย่อยย่อยตัวตับอ่อนเอง ทําให้เกิดเลือดออกอย่าง
  • 10. 4 เฉียบพลันและการอักเสบของตับอ่อน พบว่า 1ใน5 จะเสียชีวิตไปในครั้งแรก เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับตับอ่อน การสร้างอินซูลินขาดหายไป และทําให้เป็นเบาหวานในที่สุด 5. ตับ แอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อเซลล์ของตับ ทําให้เกิดการบวม ทําให้นํ้าดีซึมผ่านไปทั่วตับ เป็นเหตุให้ตัว เหลืองรวมทั้งส่วนขอบตาและผิวหนังเป็นสีเหลืองด้วยทุกครั้งที่ดื่มสุรานั้น เซลล์ของตับจะถูก ทําลายเป็น ผลให้ตับแข็ง การเสี่ยงต่อการเป็นโรคตับมีถึง 8 เท่า เมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่มสุรา 6.หัวใจแอลกอฮอล์ทําใหกล้ามเนื้อของหัวใจบวมทําให้เกิดเป็นพิษกับหัวใจมีการสะสมของไขมันมากขึ้น และทําให้การเผาผลาญช้าลงไปด้วย 7. กระเพาะปัสสาวะและไต แอลกอฮอล์ทําให้เยื่อบุของกระเพาะปัสสาวะบวม ทําให้ไม่สามารถยืดได้ ตามปกติ การระคายเคืองของไตทําให้ร่างกายสูญเสียนํ้ามากขึ้น 8. ต่อมเพศ ต่อมอัณฑะจะบวม ทําให้ความสามารถทางเพศลดลง 9. สมอง เป็นอวัยวะที่ไวต่อฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ซึ่งเห็นได้ชัดเจน ก่อให้เกิดพิษแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง 9.1 พิษแบบเฉียบพลันได้แก่ Alcoholic intoxication แบ่งออกเป็นพิษในระดับมากน้อยแตกต่างกันไปตาม ระดับของแอลกอฮอล์ในเลือดดังนี้ ระดับแอลกอฮอล์(มิลลิกรัม/100มิลลิลิตร) 30 mg% - ทําให้เกิดการสนุกสนานร่าเริง 50 mg% - เสียการควบคุมการเคลื่อนไหว 100 mg% - แสดงอาการเมาให้เห็น เดินไม่ตรงทาง 200 mg% - เกิดอาการสับสน 300 mg% - เกิดอาการง่วงซึม 400 mg% - เกิดอาการสลบ และอาจถึงแก่ชีวิตได้ 9.2 พิษเรื้อรัง แอลกอฮอล์มีพิษโดยตรงต่อสมอง ทําให้เซลล์สมองเสื่อม ในผู้ติดสุราพบว่ามีการฝ่อลีบของสมองส่วนคอร์ เทกซ์ ซึ่งจะมีผลต่อการเสื่อมทางจิตด้วยหลายประการ เช่น ขาดความรับผิดชอบ ความจําเสื่อม เมื่อเป็นมาก เกิดประสาทหลอน หูแว่ว หลงผิด หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง และแอลกอฮอล์มีฤทธิ์กดประสาท โดยกดศูนย์ ควบคุมระบบต่าง ๆเช่นกดศูนย์หายใจและศูนย์ควบคุมการไหลเวียนของโลหิตในสมอง ทําให้ถึงแก่ชีวิตได้
  • 11. 5 ภาพที่2.2ภาพขวดเหล้า รู้ลึกเรื่องของแอลกอฮอล์ (สสส.) แอลกอฮอล์เป็นของเหลวไม่มีสี แอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มมึนเมา คือ เอธิลแอลกอฮอล์เครื่องดื่มมึนเมา ชนิดต่าง ๆ เช่น เหล้า เบียร์ วิสกี้ บรั่นดี จะมีปริมาณของเอธิลแอลกอฮอล์แตกต่างกัน ฤทธิ์ในทางเสพติด จะ ออกฤทธิ์กดประสาท มีการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ อาการผู้เสพ ถ้าดื่มมาก ๆ จะกัดกระเพาะอาหารเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหาร ความรู้สึกนึกคิดผิดไป ควบคุม ตนเองไม่ได้ไม่สามารถยับยั้งตนเองจึงอาจแสดงอาการบางอย่างออกมา เช่น ดุร้าย ทะเลาะวิวาท พูดมาก นอกจากนี้ยังมีอาการหน้าแดง ตัวแดงความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นแรงปัสสาวะบ่อย ถ้าดื่มมากขึ้นอีกจะทํา ให้การรับรส กลิ่น เสียง และสัมผัสลดลง คนที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือคนที่เป็น โรคพิษสุราเรื้อรัง จะมี ใบหน้าบวมฉุ หน้าแดง ตาแดง ผิวหนังคลํ้า มือสั่น ลมหายใจมีกลิ่นแอลกอฮอล์ 1.2โทษของแอลกอฮอล์ โทษที่ได้รับ ถ้าดื่มเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทําให้เกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง ทําลายตับและสมอง สติปัญญาเสื่อม ควบคุมตัวเองไม่ได้ จิตใจผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย เป็นตะคริว ปลายมือปลายเท้าชา กระเพาะอาหาร อักเสบ เบื่ออาหาร ร่างกายซูบผอมและอาจเกิดโรคตับแข็งถ้าเสพติดมาก และไม่ได้เสพจะมีอาการกระวน กระวาย อ่อนเพลียนอนไม่หลับเหงื่อออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว อารมณ์ฉุนเฉียว อาจมีอาการ
  • 12. 6 ชักประสาทหลอน เป็นโรคจิต และถ้าดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับยาที่กดประสาท เช่น ยานอนหลับ ยากล่อม ประสาทจะเสริมฤทธิ์กันทําให้มีอันตรายมากขึ้นได้ เบียร์และสุราต่างกันอย่างไร ทั้งเบียร์และสุราเป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มีคุณค่าทางอาหารตํ่าแต่มีแคลอรี่สูง เบียร์แตกต่างจาก สุราที่ปริมาณแอลกอฮอล์และกรรมวิธีในการผลิต เบียร์ทําโดยการหมักข้าวบาร์เลย์งอก(malted barly)โดย ไม่ได้กลั่น มีปริมาณแอลกอฮอล์น้อย ประมาณ 4 - 6% โดยปริมาตร ส่วนสุราชนิดต่าง เช่น วิสกี้ บรั่นดี วอดก้า แม่โขง เป็นเหล้าชนิดกลั่นมีปริมาณแอลกอฮอล์สูงกว่า ประมาณ 40 - 50% โดยปริมาตร เหล้าดองมีโทษและประโยชน์อย่างไร การดื่มเหล้าดองจะมีโทษจากการที่ดื่มแอลกอฮอล์นั่นเอง เหล้าที่ใช้ในการดองยา คือเหล้าขาว เหล้า จีน ซึ่งมีปริมาณแอลกอฮอล์สูง ถ้าดื่มในปริมาณน้อย ๆ จะให้เจริญอาหารและช่วยให้ย่อยอาหารดีขึ้น ถ้าดื่ม มากเกินไปจะระคายเคืองกระเพาะอาหาร และอาจเกิดกระเพาะอักเสบหรือเป็นแผลในกระเพาะ นอกจากนี้ หญิงหลังคลอดจะมีอัตราการเปลี่ยนสภาพแอลกอฮอล์ และขจัดแอลกอฮอล์ได้น้อย เพราะตับทํางานได้น้อย กว่าคนปกติ อาจเกิดอันตรายจากระดับแอลกอฮอล์ในเลือดที่สูงเกินไป และอาจเกิดการเสพติดทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ อาจเกิดเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง นอกจากนั้นการใช้เหล้าดองสมุนไพรนาน ๆ อาจสกัดเอา สารที่ไม่มีประโยชน์หรืออาจเป็นพิษออกมาด้ว 1.3อาการเมาค้าง เมาค้าง ส่วนใหญ่มักจะพบอาการปวดหัว ตามด้วยจะรู้สึกหงุดหงิด วิงเวียน เมื่อยล้า มีการคายนํ้า ปวดเมื่อย ร่างกาย อาเจียน เวียนหัว สูญเสียความอยากอาหาร และท้ายที่สุดจะเกิดโรคท้องร่วง ในเมื่อแอลกอฮอล์มีโทษมากมายขนาดนี้ จะดื่มกันต่อไปเพื่ออะไรกัน เลิกซะเถอะก่อนจะสูญเสียใน ครั้งต่อไป นายมานิต นพอมรบดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ขณะนี้สาเหตุการบาดเจ็บของคนไทย อันดับ 1 มาจากอุบัติเหตุจราจร ซึ่งร้อยละ 40 เกิดจากเมาสุรา โดยผลสํารวจล่าสุดในปี 2550พบคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ดื่มสุราจํานวน 14 ล้าน 9 แสนคน หรือทุกๆ 4 คน จะมีคนดื่มเหล้า 1 คน ผู้ชายดื่มมากกว่า ผู้หญิง 6 เท่าตัวและอยู่ในเขตนอกเทศบาลมากกว่าในเขตเทศบาล เครื่องดื่มมึนเมา 3 ประเภทแรกที่ดื่มมาก
  • 13. 7 ที่สุด ได้แก่ เบียร์ร้อยละ 46 รองลงมาคือเหล้าขาว ร้อยละ 39 และเหล้าสีร้อยละ 11 โดยคนในเขตเทศบาล นิยมดื่มเบียร์มากที่สุด ส่วนคนนอกเขตเทศบาลนิยมดื่มเหล้าขาวกันมาก แนวโน้มในรอบ 11 ปีมานี้คนติด เหล้ามากขึ้น จาก7 ล้านคน ในปี 2539 เพิ่มเป็น10 ล้านคนในปี2550 จึงเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงในสังคมไทย โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้ นายมานิตกล่าวว่า ปีนี้กระทรวงสาธารณสุขมี นโยบายให้ทุกจังหวัด รณรงค์ควบคุมการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์โดยห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในหรือบนยานพาหนะ ซึ่งในช่วงเทศกาลสงกรานต์มักจะ พบว่าประชาชนนิยมนั่งดื่มเครื่องดื่มเหล่านี้บนยานพาหนะไม่ว่าจะเป็นคนขับหรือคนนั่งก็ตามเนื่องจากมี ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอุบัติเหตุทั้งการขับรถเฉี่ยวชนคนอื่น หรือเมาแล้วพลัดตกรถ นอกจากนี้กระทรวง สาธารณสุขยังควบคุมการจําหน่ายเหล้าเพียงวันละ 2 เวลาเท่านั้น คือ 11.00-14.00 น. และ 17.00-24.00 น. ห้ามขายเหล้าให้คนเมา รวมทั้งห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดให้แก่เด็กอายุตํ่ากว่า20 ปี หากฝ่าฝืน มีโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ นายแพทย์หม่อมหลวงสมชาย จักรพันธุ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะมีผลต่อการ ควบคุมการทํางานของสมอง โดยหากมีแอลกอฮอล์ในเลือด 30 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์จะทําให้เกิดสนุกสนาน ร่าเริง หากมีระดับ50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะเสียการควบคุมการเคลื่อนไหวโอกาสเกิดอุบัติเหตุเป็น 2 เท่า ของคนไม่ดื่ม หากมีระดับ 100มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะทําให้เดินเซ ไม่ตรงทางโอกาสเกิดอุบัติเหตุจะเพิ่ม เป็น 6 เท่า ถ้ามีระดับ 200 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จะเกิดการสับสน พูดจาไม่รู้เรื่อง ความเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุจะ มากกว่า 40 เท่า และหากมี 300 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์จะง่วงซึม และถ้ามากกว่า 400 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์อาจ ทําให้สลบถึงขั้นเสียชีวิต 2.ประวัติของgoogle site ประวัติ google site จุดเริ่มต้นของเรื่องนี้อยู่ที่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) อีกหนึ่งสุดยอดแห่งมหาวิทยาลัย ด้านไอที (จริงๆแล้ว Stanford ก็จัดว่าเป็นอันดับต้นๆของโลกในสาขาอื่นๆอีกมากมาย ด้วยเช่นกัน) มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากจะเป็นต้นกําเนิดของสุดยอด 2 ไอเดียออนไลน์ระดับโลกอย่าง Yahoo! และ Google แล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นต้นกําเนิดของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ๆกันอยู่ด้วยซํ้าไป ที่นี่เป็นที่ที่ คุณ John von Neuman (จอห์น วอน นูแมน) คิดและประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มีสถาปัตยกรรมที่เหมือนกับที่ เราใช้อยู่นี่แหล่ะ เป็นคนแรกของโลก (แม้จะไม่ใช่คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกก็ตาม – สับสมัยครับ –
  • 14. 8 คืออย่างนี้ครับ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ENIAC ซึ่งเป็นเครื่องที่มีความซับซ้อนสูง ต่อมาคุณ von Neumanซึ่งก็ช่วยงานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ENIAC อยู่ด้วย แกเสนอว่า เราน่าจะแยกส่วนของ คอมพิวเตอร์ออกเป็น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยรับเข้าและส่งข้อมูล ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่ แตกต่างจากคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และเป็นสถาปัตยกรรมที่เรายังใช้มาอยู่จนในปัจจุบัน หลายสถาบันก็เลย ยกย่องให้ von Neumanเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว) แหม! พูดถึงมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซะยืดยาว เลย พักไว้แค่นี้ก่อน เดี๋ยวหาใครที่กําลังเรียนแถวนั้นมาบรรยายสรรพคุณของ Stanford ต่อ ตอนนี้เข้าเรื่องกู เกิ้ลดีกว่าครับ เดี๋ยวกระดาษจะหมดซะก่อน เรื่ิิ องก็เริ่มตอนปิดเทอมภาคฤดูร้อนปี 1995 ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้ แหละครับ ตอนนั้น 1ใน 2 ของผู้ก่อตั้งกูเกิ้ล เป็นแค่นักเรียนปริญญาเอก ที่กําลังจะขึ้นปี 2 ของภาควิชา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) ธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่อาสาเข้ามาเป็นนักศึกษาช่วยงาน Open House โดยปกติทุกๆปีในช่วงก่อนเปิดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิดบ้านต้อนรับผู้มาเยือน เรา เรียกว่า Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบ้างแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรียนในมหาิิ วิทยาลัยไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นั่น ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนําสถานที่ แนะนําคณะ แนะนํา Lab แนะนําครูอาจารย์เป็นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือ คุณ Larry Page ก็โผล่มาในงาน Open House ในปีนี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มาหยกๆ ทั้งสองเจอกันเพราะ Larry Page ไปอยู่ในกลุ่มทัวร์ ที่มี Sergey Brinเป็นหัวหน้ากลุ่มทัวร์พอดี ดูท่าว่างานนี้ ไม่ใช่รักแรกพบครับ เพราะระหว่างทางที่เดินทัวร์มหาวิทยาลัย และเมือง San Francisco อยู่ ทั้งสองคนนี้ก็มี เรื่องให้ถกเถียงกันได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องของการจัดผังเมืองของ San Francisco (??!!??) Page เล่าให้ฟังว่าตอนนั้นเค้าจําได้ว่า Sergey Brinเป็นคนที่มีความคิดที่ค่อนข้างจะติดยึด เป็นคนที่ไม่ค่อยโสภาที่น่าจะอยู่ใกล้เท่าไหร่ ถ้าคิดว่าตัวเองถูกละก็จะเถียงหัวชนฝา ซึ่งบังเอิญว่า ตัวเอง (Page) ก็เป็นคนแบบนั้น ส่วน Sergey ก็บอกว่าจริงๆแล้ว Larry ก็ออกจะแปลกๆอยู่เหมือนกันแหละ เถียง หัวชนฝา ไม่ค่อยยอมใคร เอาเป็นว่า ทั้งคู่ถกเถียงกันเรื่องต่างๆทั้งวันที่เดินทัวร์ แม้จะไม่ลงรอยด้วยดี แต่ทั้ง คู่ก็จํากันได้ดีก่อนจะแยกจากกันในตอนเย็น (แหม! พล็อตยังกับหนังไทยเลยครับ พระเอกกับนางเอกเจอกัน ค รั้ ง แ ร ก จ ะ ต้อ ง มี ท ะ เ ล า ะ ต บ ตี ต่ า ง ค น ต่ า ง บ อ ก ว่ า เ ก ลี ย ด แ ต่ ใ น ใ จ คิ ด ถึ ง อ ยู่ ) อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd ผู้เชี่ยวชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และก็เริ่มมองหาหัวข้อ วิทยานิพนธ์ พ่อของ Larry Page (ขณะนั้นเป็นอาจารย์ด้าน Computer Science อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน) บอกว่า Thesis ปริญญาเอก จะเป็นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกําหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต ก่อนจะตัดสินใจเลือกทําให้ไตร่ตรองให้ดี ทําให้ Page ใช้เวลาอยู่นานในการเลือกหัวข้อทําวิทยานิพนธ์
  • 15. 9 หลังจากลองนึกๆดูสิบกว่าเรื่อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่อง World Wide Web นี่เอง และแล้วจุดเริ่มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็นไอเดียที่เปลี่ยนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกําเนิดของยักษ์ใหญ่ ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่มขึ้นที่นี่ …Remark1 ชื่อ SurgeyBrinอ่านออกเสียง ว่า เซอร์เก บริน โดย Assoc. Prof. StanislavMakanov (อาจารย์ชาวรัสเซีย ประจําสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) Page เริ่มหัวข้อวิจัยเกี่ยวกับเว็บก็จริง แต่ไม่ได้เริ่มมองหาวิธีที่จะค้นหาข้อมูลบน เว็บ แต่สิ่งที่เค้ามองเห็นกลับเป็น มุมมองทางด้านคณิตศาสตร์ของเว็บไซท์มากกว่า คือ Page มองแบบนี้ครับ ...ถ้าหากมองว่า 1 เซอร์ฟเวอร์ หรือ 1 เว็บไซท์ เช่น วิชาการ.คอม หรือ 1 คอมพิวเตอร์ เป็นเพียง จุด (Node, Vertex) จุดหนึ่งบนกราฟ (Graph) และ ลิ๊งค์ (link) เช่น www.ipst.ac.th ที่ วิชาการ.คอม เชื่อมต่อไปยังเว็บ ไซท์อื่นๆ เหมือนกับเป็นทางเชื่อมต่อกัน หรือ ขอบ(Edge) ระหว่างจุดเหล่านั้น หรือ พูดง่ายๆว่า Page มองเห็น อินเตอร์เน็ตเป็นกราฟ นั่นเอง (แฮ่ะๆ แบบนี้เรียกว่ามันอยู่ในสัญชาติญาณ มองอินเตอร์เน็ตเป็น กราฟ ทําได้ไงเนี่ย) ซึ่งบ้านเรา นิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านทางสายวิทย์มักจะได้เรียนเรื่อง กราฟ ประเภทนี้ในเรื่อง ทฤษฏีกราฟ (Graph Theory) แถวๆปีต้นๆ (ซึ่งน้องๆตัวเล็กๆอาจสับสนนิดนึง เพราะ กราฟที่คุ้นเคยอาจจะหมายถึง กราฟที่เป็นตัวแทนของข้อมูล เช่น กราฟแท่ง กราฟเชิงเส้น ซะมากกว่า) ถ้าไม่ใช่ในวิชาคณิตศาสตร์ ก็จะเป็นวิชา Algorithm โดยเฉพาะพวกที่เรียน วิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็น่าจะ ผ่านหูผ่านตากันมาแล้วทุกคน (ถ้าไม่ใส่ไหคืนอาจารย์ไปหมดแล้วซะก่อน) (มีอาจารย์และนักคณิตศาสตร์ ในเมืองไทยหลายคน ที่เชี่ยวชาญเรื่อง Graph Theory เช่น ดร.จริยา อุ่ยยะเสถียร ภาควิชาคณิตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จบปริญญาเอกเรื่องนี้มาโดยเฉพาะ เดี๋ยวจะลองเกี้ยวมาช่วยเขียน เรื่อง Graph Theory อีกซักบทความ)แต่คราวนี้ลองใช้จินตนาการดูกันหน่อยนะครับ ว่าแน่นอนเว็บไซท์หนึ่งเว็บ ก็ลิงค์ ไปยังหลายร้อย หลายพันเว็บ และมีเว็บไซท์หลายๆเว็บ ที่ลิงค์มายังเว็บไซท์หนึ่งๆ และปัจจุบันเรามีกันเป็น พันๆ ล้านเว็บ เพราะฉนั้น กราฟ ที่เราใช้แทน อินเตอร์เน็ต ก็จะเป็นกราฟขนาดมหึมา และมีความซับซ้อน มี เส้นโยงกันไปโยงกันมาอย่างยุ่งเหยิง ซึ่งตรงนี้แหละที่ Page มองแล้วเห็นว่ามันช่างน่าตื่นเต้น น่าสนใจ น่า ติดตาม เสียเหลือเกิน Page เคยบอกว่า Internet คือ กราฟที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้น และมันก็ยังจะ เติบโต ใหญ่ขึ้น ใหญ่ขึ้น ทุกๆวัน ด้วยอัตราเร็วในการเติบโตสูงมาก โอ! มันช่างเป็นเรื่องที่น่าสนใจทํา วิทยานิพนธ์เหลือเกิน (ถ้าเป็นคนสามัญชนคนไทยธรรมดา ก็อาจจะบอกว่า โอ! มันซับซ้อนเหลือเกิน ไม่มี ทางทําได้หรอก ทําไปเดี๋ยวไม่จบ หนีดีกว่า) ซึ่ง Prof. Winogradอาจารย์ที่ปรึกษาของเค้าก็เห็นด้วย และเห็น ว่าน่าจะศึกษาเรื่องของโครงสร้างของกราฟของเว็บ เป็นการเริ่มต้นวิทยานิพนธ์ Page ทําการศึกษาด้วย ตัวเองอยู่ไม่นาน เค้าก็เจอปัญหาแรกเข้าให้ โอเคตรงนี้เราเข้าเรื่อง graph theory กันนิดนึง (เอาเป็นว่าผมพยายามวงเล็บภาษาอังกฤษของคําไทยไว้ด้วย ครับ จะได้ช่วยให้คนทีคุ้นเคยกับคําอังกฤษในวิชานี้แล้ว ได้เห็นภาพง่ายขึ้นนะ) คืออย่างนี้ ในกราฟปกติ ขอบของกราฟ (Edge) จะเป็นตัวบ่งถึงความสัมพันธ์กันระหว่าง จุด (Vertex) ซึ่งโดยปกติแล้ว เราจะรู้และ
  • 16. 10 นับจํานวนได้ว่า จากจุดจุดหนึ่ง มีขอบ หรือ เส้นลากไปยังจุดอื่นๆ อีกกี่จุด และมีกี่จุดที่ลากมาหาตัวเอง แต่ หน้าเว็บเพจกลับไม่เป็นแบบนั้นซะทีเดียว เพราะ ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆ (สมมติว่าเว็บ 1 หน้าเป็น 1 จุดใน กราฟ) เรารู้ครับว่า จากจุดที่เราอยู่ปัจจุบัน มันลิงค์ไปยังหน้าไหนบ้าง คือ เรารู้ว่ามันมี จํานวนขอบที่วิ่ง ออกไป (Out Degree) จากตัวเองกี่ขอบกี่เส้น และไปที่ไหนบ้าง แต่ที่เราไม่รู้นี่คือว่า มีเว็บเพจใดบ้าง กี่หน้า ที่ลิงค์มาหาหน้าที่เราสนใจ โอยสับสนใช่มั้ยครับ ผมยกตัวอย่างเปรียบเทียบแบบนี้ก็แล้วกัน ถ้าผมถามคุณ ว่าคุณรู้จักคนกี่คน คุณอาจจะต้องนั่งไล่นับนิ้วไปเรื่อยๆ แต่คุณก็บอกได้ว่าคุณรู้จักใครบ้าง และคล้ายๆกัน ผมถามว่า "คุณรู้มั้ยว่ามีใครในโลกนี้รู้จักคุณบ้าง?" (เปรียบกับ "รู้มั้ยว่ามีเว็บไหนลิงค์มาที่เราบ้าง") คําตอบ คือ ไม่รู้ จะไปรู้ได้ยังไงว่าใครรู้จักเราบ้างโอเค เริ่มเห็นภาพนะครับ ลองนึกตามแบบนี้นะครับ ว่าหน้าเว็บที่ คุณอ่านอยู่ตอนนี้เนี่ย ลิงค์มาจากหน้าไหน URL อะไรบ้าง ถ้าคุณไม่กด Back มีข้อมูลตรงไหนบอกมั้ยครับ? หรือแม้แต่คุณจะกดBack คุณก็รู้แค่ลิงค์เดียวที่ลิ๊งค์มาหาหน้านี้ แต่ที่จริง อาจจะมีหน้าเว็บอื่นๆอีกเป็นร้อยๆ ที่ มี ลิ๊ ง ค์ ม า ห า ห น้ า นี้ ที่ เ ร า ไ ม่ รู้ ค า ถ า ม คื อ แ ล้ ว เ ร า จ ะ รู้ ไ ด้ ยั ง ไ ง ? ซึ่งตรงนี้หล่ะยาก เพราะอินเตอร์เน็ตไม่ได้ให้ข้อมูลนี้มา และตรงนี้เองที่ Page คิดว่า มันน่าจะดี ถ้าหากว่าเรา รู้ (หรืออย่างน้อย มีวิธีการที่จะทําให้รู้) ว่าใครลิงค์หาใครบ้าง หรือ มีใครลิงค์มาหาหน้านี้บ้างกี่คน Page ก็ เลยเลือกเอาปัญหานี้ มาทําเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก และตั้งชื่อเล่นโปรเจ็คของเค้าว่า "BackRub Project" (โครงการ "ถูหลัง" - แหม! ผมแปลตรงตัวไปหน่อยหรือเปล่าเนี่ย - สงสัยว่า Page คงอยากรู้ว่า ตอนที่อาบนํ้านี่ ใครถูหลังให้เค้าบ้าง -! ว่าไปโน่น)โอเค งั้นกลับมาที่คําถามเดิม ถ้าเราอยากจะรู้ว่ามีใครรู้จัก เราบ้างกี่คน เราจะทําอย่างไร จริงๆคําตอบนี้ง่ายมากครับ คุณก็ถามคนทุกๆคนทั่วทั้งโลกนี้เลยซิครับว่าเค้า รู้จักใครบ้าง ด้วยวิธีนี้ พอคุณถามครบทุกคนทั้งโลก คุณก็จะรู้ว่าทั้งโลกนี้มีคนรู้จักคุณกี่คนใช่ป่าวครับ แหม! คิดได้ไง ง่ายจังคล้ายๆกัน เพื่อจะรู้ว่าใครลิงค์มาที่หน้าเว็บนี้บ้าง Page ก็เริ่มจากการไล่ไปที่ละหน้าเว็บ แล้วดูว่าหน้านั้นลิงค์ไปที่ไหนบ้าง (เหมือนว่าหน้านั้นรู้จักใครบ้าง) แล้วเก็บลิงค์ทั้งหมดในหน้านั้นมาเข้าคิว ไว้เพื่อจะได้ไล่ถามไปเรื่อยๆ (ตรงนี้แหล่ะครับที่เรียกว่า Crawler - หน้าถัดไปจะอธิบายอีกที) Page คิดว่า แหมไล่ไปเรื่อยๆแบบนี้ ซักอาทิตย์นึงก็เก็บเว็บหมดจากทั่วโลกแล้ว บ้าน. ก็เป็นจุดเริ่มต้นของ Backrub โปร เจ็คนั่นเอง จาก BackRub Project ที่ค่อยๆ เติบโตมา ด้วยนํ้ามือของนักศึกษา 2 คน ที่ใช้ห้องนอนที่หอพักนักศึกษา ทํา เป็น ห้อง Server และ ห้องเขียนโปรแกรม ได้กลายเป็น Google Project โปรแกรม Search Engine ขนาดจิ๋ว ที่ดูดทรัพยากร Network ของมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด ที่ได้ชื่อว่า Network ที่เร็วเป็นอันดับต้นๆของโลก ได้อย่างไรPage เริ่มที่จะคิดว่า เราจะทําไงถึงจะรู้ว่า ลิงค์ใดบ้างที่ลิงค์มายังเว็บหนึ่งๆ หลังจากที่ศึกษา
  • 17. 11 เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ไม่นาน(ไม่กี่เดือน) Page ก็พบว่า จริงๆแล้ว เรื่องของการลิงค์ไปลิงค์มาของเอกสารนี่ มีกัน มานานแล้วในวงการวิชาการ ก็คือเรื่องของ ผลงานวิชาการ นั่นเอง คือโดยปกติแล้ว หากนักวิชาการท่านใด คิดทฤษฎีอะไรออกมาได้ใหม่ๆ หรือค้นพบอะไรใหม่ หรือต้องการจะแก้ไขสิ่งที่มีอยู่แล้ว ก็จะทําการตีพิมพ์ ผลงานของตนเองในวารสารวิชาการ (Journal) โดยจะต้องอ้างอิงถึงที่มาของความรู้ หรือ ผลงานที่มีมาก่อน ของคนอื่น หรือที่ใกล้เคียง ก็เพื่อให้องค์ความรู้ใหม่ที่ตีพิมพ์ มีรากฐานจากองค์ความรู้ ที่ได้รับการพิสูจน์ แล้ว (ตีพิมพ์แล้ว) นั่นเอง ดังนั้น ผลงานวิชาการ ไหนที่ได้รับการอ้างถึง (Citation) บ่อยๆ จาก นักวิชาการ คนอื่นๆ แสดงว่า ผลงานวิชาการชิ้นนั้นได้รับการยอมรับอย่างจริง ในวงการวิชาการเรามีตัวชี้วัดกันเลยว่า ผลงานหนึ่งๆ มีการถูกอ้างถึงมากน้อยเพียงใด เราเรียกดัชนีตัวนี้ว่า Citation index ซึ่งการอ้างอิงด้าน วิชาการถือเป็นเรื่องใหญ่ ใหญ่ขนาดไหนครับ ก็ใหญ่พอที่จะมิวิชาที่ว่าด้วยเรื่องนี้โดยเฉพาะเลย คือ วิชา bibliometrics (ผมเองก็ไม่เคยเรียนครับ แต่เข้าใจว่าน่าจะเป็นทางกลุ่มนักศึกษา วารสาร หรือ บรรณารักษ์หรือ สารสนเทศ - เดี๋ยวจะค้นมาให้ว่าที่ไหนสอนบ้างในเมืองไทย)
  • 18. 12 3. กฎหมายการดื่มแอลกอฮอล์ พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” หมายความว่า สุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ทั้งนี้ ไม่รวมถึงยาวัตถุ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
  • 19. 13 “ผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์” หมายความว่า บุคคลที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จนก่อให้เกิด ผลเสียต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ โดยการดื่มนั้นมีลักษณะที่ต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้น และเมื่อหยุดดื่มจะมี อาการแสดงของการขาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร่างกาย “ขาย” หมายความรวมถึง จําหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน ให้ เพื่อประโยชน์ในทางการค้า “โฆษณา” หมายความว่า การกระทําไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็น ได้ยินหรือทราบ ข้อความเพื่อประโยชน์ในทางการค้า และให้หมายความรวมถึงการสื่อสารการตลาด “การสื่อสารการตลาด” หมายความว่า การกระทํากิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อขายสินค้า บริการหรือภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ข่าวสาร การส่งเสริมการ ขายการแสดงสินค้า การจัดหรือสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพิเศษ และการตลาดแบบตรง “ข้อความ” หมายความรวมถึง การกระทําให้ปรากฏด้วยตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง เสียง เครื่องหมายหรือการกระทําอย่างใด ๆ ที่ทําให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจความหมายได้ “ฉลาก” หมายความว่า รูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําให้ปรากฏข้อความ เกี่ยวกับสินค้าซึ่งแสดงไว้ที่สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้า หรือสอดแทรก หรือรวมไว้กับ สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้าและหมายความรวมถึงเอกสาร หรือคู่มือสําหรับใช้ประกอบ กับสินค้า ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่สินค้าหรือภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุสินค้านั้น “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ “คณะกรรมการควบคุม” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ นี้ “ผู้อํานวยการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมควบคุมโรค “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้ บังคับได้ หมวด ๑ คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ
  • 20. 14 มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์แห่งชาติ” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็น ประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรม และปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เป็นกรรมการ ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นเลขานุการ และให้อธิบดีและผู้อํานวยการสํานักงาน เศรษฐกิจการคลังเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๖ ให้คณะกรรมการมีที่ปรึกษาเพื่อให้คําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินงานตาม อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ประกอบด้วย (๑) ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย (๒) ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการรณรงค์เพื่อลดและเลิกการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรที่เป็นนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ การคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน (๓) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านกฎหมาย และด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านละหนึ่งคน การเลือกและการแต่งตั้งที่ปรึกษาตาม (๒) และ (๓) ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ กําหนด ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ มาใช้บังคับกับการดํารง ตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของที่ปรึกษาตาม (๒) และ (๓) โดยอนุโลม เว้นแต่อํานาจของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๓ (๓) ให้เป็นอํานาจของคณะกรรมการ มาตรา ๗ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่มาประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการคนที่หนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม หากรองประธาน
  • 21. 15 กรรมการคนที่หนึ่งไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานกรรมการคนที่สองเป็นประธาน ในที่ประชุม หากรองประธานกรรมการคนที่สองไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการซึ่งมา ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนนถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กําหนดนโยบาย แผนงาน และการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกี่ยวกับมาตรการด้าน ภาษี รวมทั้งมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (๒) ติดตามประเมินผลและตรวจสอบการดําเนินงานตาม (๑) (๓) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นหรือตามที่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๙ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติการ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการหรือ คณะทํางานโดยอนุโลม หมวด ๒ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์” ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ ง ปลัด กระทรวงการคลังเป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง และปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรองประธาน กรรมการคนที่สาม (๓) กรรมการโดยตําแหน่ง ได้แก่ ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ปลัดกระทรวงพาณิชย์ปลัดกระทรวง
  • 22. 16 ยุติธรรม ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการ ตํารวจแห่งชาติ ปลัดกรุงเทพมหานคร และผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (๔) ผู้แทนองค์กรเอกชน จํานวนสามคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับการ คัดเลือกจากองค์กรเอกชนที่มีวัตถุประสงค์มิใช่เป็นการแสวงหากําไร และดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับด้านการ สนับสนุนและรณรงค์ให้มีการลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนหรือ สตรี ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีผู้แทนองค์กรเอกชนในแต่ละด้านไม่เกินหนึ่งคน ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ รัฐมนตรีกําหนด (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวนสามคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ด้านการแพทย์ จิตวิทยาหรือการสาธารณสุข ด้านสังคมสงเคราะห์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์หรือนิเทศศาสตร์ ด้านการศึกษา การศาสนาหรือวัฒนธรรมโดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้านไม่ เกินหนึ่งคน ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ อธิบดีกรมสรรพสามิตเป็นกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ และให้ผู้อํานวยการเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๑๑ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อย กว่าสองปี หรือเป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) ไม่เคยต้องคําพิพากษาว่ามีความผิดในคดีที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เว้นแต่ พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี (๕) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งในทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ดํารงตําแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือ เจ้าหน้าที่พรรคการเมือง (๖) ไม่เป็นผู้ประกอบกิจการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือมีส่วนได้เสียในกิจการเกี่ยวกับ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (๗) ไม่เป็นผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรา ๑๒ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) มีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
  • 23. 17 ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตําแหน่งตามวาระในวรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการแต่งตั้งกรรมการ ขึ้นใหม่ภายในเก้าสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่ง ตามวาระนั้นอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีให้ออก (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๑ ในกรณีที่กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระให้มีการแต่งตั้ง กรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างลง เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันและในระหว่างที่ยังมิได้ แต่งตั้งกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ มาตรา ๑๔ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ในระหว่างที่ กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๔) และ (๕) ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตําแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้ง เพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งนั้นอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้วนั้น มาตรา ๑๕ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมคณะกรรมการควบคุม โดยอนุโลม มาตรา ๑๖ คณะกรรมการควบคุมมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอนโยบาย แผนงาน และการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกี่ยวกับมาตรการด้าน ภาษี รวมทั้งมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อคณะกรรมการ (๒) กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ฉลาก พร้อมทั้งข้อความคํา เตือนสําหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิต หรือนําเข้า (๓) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกําหนดเวลาขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถานที่ห้าม ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วิธีหรือลักษณะการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ต้องห้ามสถานที่หรือบริเวณห้าม บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสิ่งอื่นใดที่ใช้เป็นการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • 24. 18 (๔) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการบําบัดรักษาหรือฟื้ นฟูสภาพผู้ติด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (๕) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการหรือรัฐมนตรีในการออกประกาศหรือระเบียบเพื่อ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้แล้วแต่กรณี (๖) ให้คําปรึกษาแนะนํา และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนเกี่ยวกับการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมทั้งการเสนอมาตรการในการป้ องกันผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (๗) จัดให้มีหรือส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการให้แก่เยาวชนและ ประชาชนโดยทั่วไปให้เข้าใจถึงโทษและพิษภัยของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (๘) เชิญข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่ง เอกสารหรือข้อมูล เพื่อประกอบการพิจารณาดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ (๙) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามมติคณะกรรมการ มาตรา ๑๗ คณะกรรมการควบคุมมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อ ปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการควบคุมมอบหมาย ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการหรือ คณะทํางานโดยอนุโลม มาตรา ๑๘ ให้มีคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานกรรมการ ปลัดกรุงเทพมหานครเป็นรองประธาน กรรมการ ผู้แทนกองบัญชาการตํารวจนครบาล ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ ผู้แทนกรมสรรพสามิต หัวหน้า สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม ผู้อํานวยการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในกรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งหนึ่งคน ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา ผู้อํานวยการสํานักการแพทย์ และผู้อํานวยการเป็นกรรมการ และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คนซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ด้านสังคมสงเคราะห์ การแพทย์จิตวิทยา และกฎหมายด้านละหนึ่งคน ให้ผู้อํานวยการสํานักอนามัยเป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์กรุงเทพมหานครจะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในสํานักอนามัยไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้ มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่า ราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น