SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD
วิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ชุดที่ ๑
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
จัดทาโดย
นางบังอร ชินบุตร
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
โรงเรียนหนองม่วงวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๕
คานา
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยกระบวนการสอน
แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ชุดนี้ ข้าพเจ้าจัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อประกอบ
การเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ซึ่งมี
จุดมุ่งหมาย ที่สาคัคคือเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยกระบวนการสอน
แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ประกอบด้วย คาชี้แจง วัตถุประสงค์ ลักษณะของ
การพัฒนาทักษะ วิธีการพัฒนาทักษะ เนื้อหา แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบย่อย
และเฉลย
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วย
กระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD เล่มนี้ จะช่วยให้นักเรียนสามารถ
วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็น และสรุปประเด็นสาคัคจากเรื่องราวที่
นักเรียนประสบอยู่และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
นางบังอร ชินบุตร
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาคการพิเศษ
โรงเรียนหนองม่วงวิทยา
สารบัญ
หน้า
คาชี้แจง.........................................................................................๑
วัตถุประสงค์.................................................................................๑
ลักษณะการพัฒนา........................................................................๑
คาแนะนาในการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์.....................๒
ใบความรู้ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์..........................................๓
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์.......................๖
แบบทดสอบย่อย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์...............................๘
เฉลยแบบฝึกทักษะ....................................................................๑๒
เฉลยแบบทดสอบย่อย...............................................................๑๓
บรรณานุกรม...............................................................................๑๔
คาชี้แจง
วัตถุประสงค์
ลักษณะการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ
เทคนิค STAD วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ เล่มนี้ ใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชา
ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
๑. เพื่อใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
๒. เพื่อใช้เป็นแบบฝึกทักษะในการคิดและเขียนสื่อความ
๓. เพื่อตอบคาถามและวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่านได้
๔. แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้
เป็นการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑
ในขอบเขต เนื้อหา และ กิจกรรม ผู้สอนได้วิเคราะห์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ที่สอนอยู่พบว่า นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับต่า ทาคะแนนการอ่าน
เชิงวิเคราะห์ไม่ได้ คะแนนต่ามาก ซึ่งในการสอบวัดผลประเมินผลระดับชาติ
ข้อสอบจะเป็นแนวคิดวิเคราะห์ทั้งสิ้น จึงได้คิดแบบการพัฒนาทักษะการอ่าน
เชิงวิเคราะห์ ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD ชุดนี้ขึ้นมา และ
ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะ การอ่านเชิงวิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒
คาแนะนาในการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
๑. เอกสารการพัฒนาทักษะชุดนี้สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วย
กระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD นักเรียนควร
ตั้งใจเรียน และร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มของตนอย่างเต็มที่
เต็มความสามารถ
๒. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องให้เข้าใจและวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน
จับประเด็นสาคัค
๓. นักเรียนตอบคาถามใน แบบฝึกทักษะ โดยเขียนตอบใน
แบบฝึกทักษะตามที่กลุ่มเสนอมา
๔. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกทักษะเสร็จแล้ว ให้ทาแบบทดสอบย่อย
จานวน ๑๐ ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ
๕. เมื่อทาแบบทดสอบย่อยแล้วให้ตรวจสอบจากเฉลย รวมคะแนน
ของแต่ละคน และรวมคะแนนของกลุ่ม
๓
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่าน คือ การแปลความหมายของตัวอักษร
เครื่องหมาย สัคลักษณ์ เครื่องสื่อความหมายต่างๆ
ที่ปรากฏแก่ตาออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจเชิงสื่อสาร
แล้วผู้อ่านสามารถนาความคิดความเข้าใจนั้นไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้ต่อไป (ผจงวาด พูลแก้ว. ๒๕๔๗: ๗๙)
การวิเคราะห์ คือ การใคร่ครวค การแยกแยะออกเป็นส่วน ๆ
การอ่านเชิงวิเคราะห์ คือ การอ่านอย่างละเอียดแล้วแยกแยะให้ได้ว่า
ส่วนต่างๆ นั้นมีความหมายและความสาคัคอย่างไรการอ่านเชิงวิเคราะห์
ต้องรู้จักตั้งคาถาม และจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่าน เพื่อให้เข้าใจเรื่อง
พื้นฐานของการอ่านเชิงวิเคราะห์ คือ ต้องอ่านข้อความนั้นให้จบอย่างน้อย
๑ เที่ยวก่อน เพื่อให้เกิดความเข้าใจทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน จากนั้นควรอ่าน
อย่างพินิจพิเคราะห์ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
๑. พิจารณาวิธีการนาเสนอของผู้อ่านว่าใช้วิธีการนาเสนออย่าง
ตรงไปตรงมา หรือใช้วิธีเปรียบเทียบหรือยกตัวอย่าง
๒. สามารถจาแนกได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง และส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น
๓. เข้าใจถึงจุดประสงค์ของผู้เขียนว่าต้องการจะสื่อสาร ส่งสารใดมาถึง
ผู้อ่าน เช่น ต้องการโฆษณาชวนเชื่อ ชักจูงให้ปฏิบัติตามต้องการท้วงติง
เสนอปัคหา เสนอแนวคิด การปฏิบัติหรือบอกเล่า
๔
หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านที่ฝึกให้นักเรียนรู้จัก
อ่านหนังสืออย่างมีวิจารณญาณ รู้จักแยกแยะความเหมาะสม
ขององค์ประกอบในการเขียนทั้งเนื้อหา รูปแบบเข้าใจจุดประสงค์และทัศนะ
ของผู้เขียนรวมทั้งวินิจฉัยได้ว่า เรื่องนั้นควรอ่านหรือไม่ควรอ่านอย่างไร
การฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ทาให้นักเรียนอ่านหนังสือเป็น และอ่าน
อย่างมีประสิทธิภาพ มีหลักดังนี้
๑. แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสาคัญ และส่วนขยายความ การเขียน
หนังสือของผู้เขียนจะเขียนใน ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็น
สาระสาคัค และส่วนขยายความ ซึ่งอาจจะเป็นการขยาย
หรือยกตัวอย่างประกอบ การอ่านอย่างวิเคราะห์นั้น
ผู้อ่านจะต้องค้นหาส่วนที่เป็นสาระสาคัคที่ผู้เขียน
ต้องการนาเสนอ เพื่อจะได้เข้าใจจุดประสงค์ที่แท้จริงของผู้เขียน
๒. แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง เป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทา
อะไร อยู่ในสภาพอย่างไร ที่ไหน เมื่อไร มีปริมาณเท่าใด มีลักษณะอย่างไร
และมีหลักฐานอ้างอิงได้
ข้อคิดเห็น เป็นข้อความแสดงความเชื่อ
หรือ แนวคิดความรู้สึกส่วนตัวที่ผู้กล่าวมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ไม่ว่าจะเป็นบุคคล วัสดุ เหตุการณ์ หรือพฤติการณ์
ผู้อื่นอาจเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้
๕
- ตัวอย่าง ข้อเท็จจริง/ข้อคิดเห็น
ยิงโจ๋เมืองชลฯ หวิดม้วย
เมื่อเวลา ๐๒.๐๐ น. วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ รตอ. นิติภูมิ บุตรวงค์
ร้อยเวร สภ.บางละมุง ได้รับแจ้งว่ามีวัยรุ่นถูกยิงมารักษาตัว จึงรุดไป
ตรวจสอบพบ นายอนิวัฒน์ จ่ารัตน์ อายุ ๑๕ ปี ถูกยิงเข้าที่แผ่นหลัง ราวนม
และแขนขวา ตารวจคาดว่าเป็นการทะเลาะกันของแก๊งวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน
 ข้อเท็จจริง คือ นายอนิวัฒน์ จ่ารัตน์ ถูกยิงแผ่นหลัง ราวนม และ
แขนขวา (มีหลักฐานอ้างอิงได้,พิสูจน์ได้)
 ข้อคิดเห็น คือ คาดว่าเป็นการทะเลาะกันของแก๊งวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน
(เป็นข้อสันนิษฐานของตารวจ อาจจะจริงหรือไม่จริงก็ได้)
สรุปการอ่านเชิงวิเคราะห์ คือการอ่านข้อความอย่างละเอียดพินิจ
พิเคราะห์ ระมัดระวังทั้งความหมายตรง และความหมายแฝง และต้อง
พยายามสะสมประสบการณ์ต่าง ๆ ด้วยการอ่านหนังสือมาก ๆ ข้อที่ต้อง
ระมัดระวังเป็นพิเศษคือ การใช้ภาษาของผู้เขียนเมื่ออ่านเรื่องที่ผู้เขียนแสดง
ความคิดเห็นต่าง ๆ ควรแยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นออกจากกันเสียก่อน
ที่มา. ประพนธ์ เรืองณรงค์. ๒๕๔๕ : ๕๐-๕๑.
๖
แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยใช้กระบวนการสอนแบบร่วมมือ
เทคนิค STAD มีขั้นตอน ดังนี้ (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน)
๑. ทุกคนอ่านใบความรู้ที่แจกให้
๒. กลุ่มทากิจกรรมดังนี้
คนที่ ๑ อ่านคาถาม
คนที่ ๒ ตอบคาถาม
คนที่ ๓ ตรวจคาตอบ
คนที่ ๔ บันทึกลงในแบบฝึก
๓. ตัวแทนออกมานาเสนอผลงานกลุ่ม
๑. วิเคราะห์ หมายถึง.....................................................................................
..................................................................................................................
๒. การอ่าน หมายถึง......................................................................................
..................................................................................................................
๓. การอ่านเชิงวิเคราะห์ หมายถึง .................................................................
..................................................................................................................
๔. ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้
“ตรวจสภาพศพ นายสุนทร ขาประไพ โชเฟอร์รถทัวร์ที่ถูกยิงตายคารถ
ปิกอัพ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก”
๗
เกณฑ์การประเมิน
กลุ่มที่ได้คะแนน 9 – 10 ระดับดีมาก
กลุ่มที่ได้คะแนน 7 – 8 ระดับดี
กลุ่มที่ได้คะแนน 5 – 6 ระดับพอใช้
กลุ่มที่ได้คะแนน 1 – 4 ปรับปรุง
กลุ่มที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือกลุ่มที่ได้ระดับดีขึ้นไป
กลุ่มที่ไม่ผ่านการประเมินให้ศึกษาใหม่
ข้อเท็จจริง คือ...........................................................................................
ข้อคิดเห็น คือ ...........................................................................................
๕. เพราะเหตุใด คาว่า ตารวจสันนิษฐาน... / คาดว่า... / มุ่งประเด็นว่า...
จึงเป็นข้อคิดเห็น........................................................................................
กลุ่มที่...........รายชื่อสมาชิก
๑. ................................................................เลขที่............ประธานกลุ่ม
๒. ...............................................................เลขที่............
๓. ...............................................................เลขที่............
๔. ...............................................................เลขที่............เลขานุการกลุ่ม
๘
แบบทดสอบย่อย
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด โดยทาเครื่องหมาย  ลงใน
กระดาษคาตอบ (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน)
อ่านข้อความนี้ ตอบคาถามและวิเคราะห์เรื่อง ข้อ ๑ – ๓
“นมจัดเป็นอาหารที่ถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการสมบูรณ์ที่สุด
ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีโปรตีนที่มีคุณภาพ ไขมัน น้าตาล
เกลือแร่ และวิตามิน อย่างไรก็ตาม นมที่รีดมาจากฟาร์มมี
แบคทีเรียรวมอยู่ด้วย ถ้ามีระบบการจัดการไม่ถูก
สุขลักษณะ อาจจะทาให้แบคทีเรียเพิ่มจานวนขึ้น
อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงไม่ควรดื่มนมดิบ เพราะอาจเกิดโรคจากแบคทีเรีย
อาหารเป็นพิษได้”
๑. ข้อความนี้ผู้เขียนมีจุดประสงค์ในการเขียนอย่างไร
ก. บอกโรคที่เกิดจากการดื่มนม
ข. บอกวิธีการรีดนมวัวที่ถูกวิธี
ค. บอกประโยชน์และโทษของนม
ง. บอกเชื้อโรคที่อยู่ในนมดิบ
๒. จากข้อความที่ว่า “นมมีคุณค่าทางโภชนาการสมบูรณ์ที่สุด” หมายความ
ว่าอย่างไร
ก. ดื่มนมแล้วสุขภาพแข็งแรง เติบโตเร็วสูงสมวัย
ข. ดื่มนมแล้วระบายท้องได้ดีเพราะนมมีเส้นใยมาก
ค. ดื่มนมแล้วให้พลังงานดี เพราะนมมีแป้งและน้าตาล
ง. ดื่มนมแล้วทาให้ร่างกายอบอุ่นเพราะนมมีไขมันมาก
๙
๓. ถ้านักเรียนดื่มนมดิบ จะมีอันตรายอย่างไร
ก. ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ ตัวร้อน เป็นไข้
ข. ทาให้เกิดการอักเสบ เป็นแผลในกระเพาะได้
ค. ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และหลอดลม
ง. ทาให้ปวดท้อง ท้องเสีย เนื่องจากอาหารเป็นพิษได้
อ่านข้อความนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๖
“เด็กเฝ้ามองและเลียนแบบพ่อแม่ คนที่เด็กรักมากที่สุด
เด็กจะพยายามทาตามกฎเกณฑ์ที่พ่อแม่กาหนดไว้
เนื่องจากเด็กต้องการความรัก ความสนใจและ
การยอมรับจากพ่อแม่ เด็กจะพยายามเรียนรู้จากสีหน้า
ท่าทางของพ่อแม่ว่าเด็กทาสิ่งไหนแล้ว พ่อแม่ยิ้ม พ่อแม่ตบมือ พ่อแม่ชอบ
และเด็กก็จะพยายามทาสิ่งนั้นเพิ่มขึ้น”
๔. จากข้อความนี้ พ่อแม่ควรทาตัวอย่างไรให้ลูกเห็น
ก. ยอมรับการแสดงออกของเด็กในทุกเรื่อง
ข. ให้ความรักและทาสิ่งที่ถูกต้อง
ค. ไม่ควรดุเด็กเพราะยังไม่รู้เรื่อง
ง. อธิบายให้เด็กได้รับรู้เข้าใจ
๕. เด็กที่แกล้งพี่เลี้ยง และผู้ใหค่ว่าไม่ดีแต่กลับยิ้มด้วยความเอ็นดู จะทาให้
เด็กรู้สึกอย่างไร
ก. เด็กรู้สึกว่า ไม่ผิดเพราะพ่อแม่ยิ้มแย้มที่ลูกทา
ข. เด็กรู้สึกว่า มีความผิด แต่ผิดไม่มาก
ค. เด็กรู้สึกว่า เป็นเรื่องดี ที่แกล้งพี่เลี้ยงได้
ง. เด็กรู้สึกว่า เหตุการณ์นี้เป็นเรื่องปกติ
๑๐
๖. ถ้าเด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง พ่อแม่ควรทาอย่างไร
ก. ปล่อยไปก่อน เพราะเด็กยังไม่รู้เรื่อง
ข. ควรดุ และห้ามปรามสอนให้ชัดเจน
ค. ควรอธิบายให้ชัดเจนอย่างยิ้มแย้ม ไม่ดุ
ง. ควรยกตัวอย่างให้เด็กได้รับรู้หลาย ๆ ตัวอย่าง
อ่านข้อความนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๗ – ๑๐
“ยิงเด็กอู่ดิ้นคาตู้ฮัลโหล เมื่อเวลา ๐๐.๒๐ น.
วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ตารวจได้รับแจ้งว่า นาย
สมยศ รักอู่ อายุ ๑๙ ปี ถูกคนร้ายใช้อาวุธปืน
ลูกซองยิงใส่ที่กลางหลัง นอนเสียชีวิตบริเวณ
ตู้สาธารณะ สอบสวนทราบว่าผู้ตายทางานที่อู่ซ่อมรถยนต์ไพเลิศการช่าง
คาดว่าเป็นฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้านตามมาล้างแค้น”
๗. ข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. นายสมยศ ถูกยิงด้วยปืนลูกซอง
ข. ฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน
ค. ฝีมือคู่อริเก่าตามมาล้างแค้น
ง. สภาพศพนอนตายอย่างอนาถ
๘. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น
ก. เวลา ๐๐.๒๐ วันที่ ๑๑ พ.ย.
ข. นายสมยศ รักอู่ อายุ ๑๙ ปี
ค. ทางานอยู่อู่ซ่อมรถยนต์
ง. คาดว่าเป็นฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน
๑๑
เกณฑ์การประเมิน
คนที่ได้คะแนน 9 – 10 ระดับดีมาก
คนที่ได้คะแนน 7 – 8 ระดับดี
คนที่ได้คะแนน 5 – 6 ระดับพอใช้
คนที่ได้คะแนน 1 – 4 ปรับปรุง
คนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือคนที่ได้ระดับดีขึ้นไป
คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้ศึกษาใหม่
๙. ข่าวนี้ตรงกับสานวนไทยว่าอย่างไร
ก. อย่าริรัก ในวัยเรียน
ข. รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี
ค. ตนเป็นที่พึ่ง แห่งตน
ง. อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง
๑๐. ผู้ตายมีอาชีพใด
ก. ช่างซ่อมโทรศัพท์
ข. ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
ค. ช่างซ่อมรถยนต์
ง. ช่างซ่อมโทรทัศน์
๑๒
เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
๑. วิเคราะห์ หมายถึง ใคร่ครวญ แยกแยะออกเป็นส่วน ๆ
๒. การอ่าน หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษร เครื่องหมาย
สัญลักษณ์ เครื่องสื่อความหมายต่างๆ ที่ปรากฏแก่ตาออกมาเป็นความคิด
ความเข้าใจเชิงสื่อสาร แล้วผู้อ่านสามารถนาความคิดความเข้าใจนั้นไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ได้ต่อไป
๓. การอ่านเชิงวิเคราะห์ หมายถึง การใช้ความสามารถในการอ่านเพื่อ
ประเมินสิ่งที่อ่าน ตัดสินว่าถูกหรือผิด หรือหาคุณค่าในสิ่งที่อ่าน หาความ
แตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
๔. ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้
“ตรวจสภาพศพ นายสุนทร ขาประไพ โชเฟอร์รถทัวร์ที่ถูกยิงตายคารถ
ปิกอัพ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก”
ข้อเท็จจริง คือ สภาพศพนายสุนทร ขาประไพ ถูกยิงตายคารถปิดอัพ
ข้อคิดเห็น คือ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก
๕. เพราะเหตุใด คาว่า ตารวจสันนิษฐาน... / คาดว่า... / มุ่งประเด็นว่า...
จึงเป็นข้อคิดเห็น เพราะเป็นความเชื่อของตารวจที่มีต่อเหตุการณ์นั้น อาจจะ
จริง หรือ ไม่จริงก็ได้
๑๓
เฉลยแบบทดสอบย่อย
เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์
ข้อที่ สอง, ห้า, เจ็ด อย่าพึ่งเอ็ดข้อ ก ถูก
ข ไข่ไม่กระดูก มีข้อถูกคือ สี่, หก
ค ควายข้อ หนึ่ง, สิบ มองตาปริบไม่ตลก
ง งูไม่กล้าฉก ถูกทุกยก สาม, แปด, เก้า
ประพนธ์ เรืองณรงค์. ๒๕๔๕. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช่วงชั้นที่ ๓ (มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ผจงวาด พูลแก้ว. ๒๕๔๗. แบบฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน. กรุงเทพ :
ชมรมเด็ก
สุวิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา. ๒๕๕๐. ๑๙ วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนา
ความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 

What's hot (20)

สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 

Viewers also liked

ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อrainacid
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1Rung Kru
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 

Viewers also liked (11)

ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 

แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑

  • 1. การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD วิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ จัดทาโดย นางบังอร ชินบุตร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๕
  • 2. คานา การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยกระบวนการสอน แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ชุดนี้ ข้าพเจ้าจัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อประกอบ การเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ซึ่งมี จุดมุ่งหมาย ที่สาคัคคือเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยกระบวนการสอน แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ประกอบด้วย คาชี้แจง วัตถุประสงค์ ลักษณะของ การพัฒนาทักษะ วิธีการพัฒนาทักษะ เนื้อหา แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบย่อย และเฉลย ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วย กระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD เล่มนี้ จะช่วยให้นักเรียนสามารถ วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็น และสรุปประเด็นสาคัคจากเรื่องราวที่ นักเรียนประสบอยู่และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ นางบังอร ชินบุตร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาคการพิเศษ โรงเรียนหนองม่วงวิทยา
  • 3. สารบัญ หน้า คาชี้แจง.........................................................................................๑ วัตถุประสงค์.................................................................................๑ ลักษณะการพัฒนา........................................................................๑ คาแนะนาในการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์.....................๒ ใบความรู้ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์..........................................๓ แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์.......................๖ แบบทดสอบย่อย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์...............................๘ เฉลยแบบฝึกทักษะ....................................................................๑๒ เฉลยแบบทดสอบย่อย...............................................................๑๓ บรรณานุกรม...............................................................................๑๔
  • 4. คาชี้แจง วัตถุประสงค์ ลักษณะการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ การพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ เล่มนี้ ใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๑. เพื่อใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๒. เพื่อใช้เป็นแบบฝึกทักษะในการคิดและเขียนสื่อความ ๓. เพื่อตอบคาถามและวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่านได้ ๔. แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ เป็นการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์วิชาภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ในขอบเขต เนื้อหา และ กิจกรรม ผู้สอนได้วิเคราะห์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่สอนอยู่พบว่า นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับต่า ทาคะแนนการอ่าน เชิงวิเคราะห์ไม่ได้ คะแนนต่ามาก ซึ่งในการสอบวัดผลประเมินผลระดับชาติ ข้อสอบจะเป็นแนวคิดวิเคราะห์ทั้งสิ้น จึงได้คิดแบบการพัฒนาทักษะการอ่าน เชิงวิเคราะห์ ด้วยกระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD ชุดนี้ขึ้นมา และ ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะ การอ่านเชิงวิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 5. ๒ คาแนะนาในการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑. เอกสารการพัฒนาทักษะชุดนี้สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วย กระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD นักเรียนควร ตั้งใจเรียน และร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มของตนอย่างเต็มที่ เต็มความสามารถ ๒. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องให้เข้าใจและวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน จับประเด็นสาคัค ๓. นักเรียนตอบคาถามใน แบบฝึกทักษะ โดยเขียนตอบใน แบบฝึกทักษะตามที่กลุ่มเสนอมา ๔. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกทักษะเสร็จแล้ว ให้ทาแบบทดสอบย่อย จานวน ๑๐ ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ ๕. เมื่อทาแบบทดสอบย่อยแล้วให้ตรวจสอบจากเฉลย รวมคะแนน ของแต่ละคน และรวมคะแนนของกลุ่ม
  • 6. ๓ ใบความรู้ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ การอ่าน คือ การแปลความหมายของตัวอักษร เครื่องหมาย สัคลักษณ์ เครื่องสื่อความหมายต่างๆ ที่ปรากฏแก่ตาออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจเชิงสื่อสาร แล้วผู้อ่านสามารถนาความคิดความเข้าใจนั้นไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้ต่อไป (ผจงวาด พูลแก้ว. ๒๕๔๗: ๗๙) การวิเคราะห์ คือ การใคร่ครวค การแยกแยะออกเป็นส่วน ๆ การอ่านเชิงวิเคราะห์ คือ การอ่านอย่างละเอียดแล้วแยกแยะให้ได้ว่า ส่วนต่างๆ นั้นมีความหมายและความสาคัคอย่างไรการอ่านเชิงวิเคราะห์ ต้องรู้จักตั้งคาถาม และจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่าน เพื่อให้เข้าใจเรื่อง พื้นฐานของการอ่านเชิงวิเคราะห์ คือ ต้องอ่านข้อความนั้นให้จบอย่างน้อย ๑ เที่ยวก่อน เพื่อให้เกิดความเข้าใจทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน จากนั้นควรอ่าน อย่างพินิจพิเคราะห์ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ๑. พิจารณาวิธีการนาเสนอของผู้อ่านว่าใช้วิธีการนาเสนออย่าง ตรงไปตรงมา หรือใช้วิธีเปรียบเทียบหรือยกตัวอย่าง ๒. สามารถจาแนกได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง และส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น ๓. เข้าใจถึงจุดประสงค์ของผู้เขียนว่าต้องการจะสื่อสาร ส่งสารใดมาถึง ผู้อ่าน เช่น ต้องการโฆษณาชวนเชื่อ ชักจูงให้ปฏิบัติตามต้องการท้วงติง เสนอปัคหา เสนอแนวคิด การปฏิบัติหรือบอกเล่า
  • 7. ๔ หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์ การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านที่ฝึกให้นักเรียนรู้จัก อ่านหนังสืออย่างมีวิจารณญาณ รู้จักแยกแยะความเหมาะสม ขององค์ประกอบในการเขียนทั้งเนื้อหา รูปแบบเข้าใจจุดประสงค์และทัศนะ ของผู้เขียนรวมทั้งวินิจฉัยได้ว่า เรื่องนั้นควรอ่านหรือไม่ควรอ่านอย่างไร การฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ทาให้นักเรียนอ่านหนังสือเป็น และอ่าน อย่างมีประสิทธิภาพ มีหลักดังนี้ ๑. แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสาคัญ และส่วนขยายความ การเขียน หนังสือของผู้เขียนจะเขียนใน ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็น สาระสาคัค และส่วนขยายความ ซึ่งอาจจะเป็นการขยาย หรือยกตัวอย่างประกอบ การอ่านอย่างวิเคราะห์นั้น ผู้อ่านจะต้องค้นหาส่วนที่เป็นสาระสาคัคที่ผู้เขียน ต้องการนาเสนอ เพื่อจะได้เข้าใจจุดประสงค์ที่แท้จริงของผู้เขียน ๒. แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริง เป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทา อะไร อยู่ในสภาพอย่างไร ที่ไหน เมื่อไร มีปริมาณเท่าใด มีลักษณะอย่างไร และมีหลักฐานอ้างอิงได้ ข้อคิดเห็น เป็นข้อความแสดงความเชื่อ หรือ แนวคิดความรู้สึกส่วนตัวที่ผู้กล่าวมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นบุคคล วัสดุ เหตุการณ์ หรือพฤติการณ์ ผู้อื่นอาจเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้
  • 8. ๕ - ตัวอย่าง ข้อเท็จจริง/ข้อคิดเห็น ยิงโจ๋เมืองชลฯ หวิดม้วย เมื่อเวลา ๐๒.๐๐ น. วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ รตอ. นิติภูมิ บุตรวงค์ ร้อยเวร สภ.บางละมุง ได้รับแจ้งว่ามีวัยรุ่นถูกยิงมารักษาตัว จึงรุดไป ตรวจสอบพบ นายอนิวัฒน์ จ่ารัตน์ อายุ ๑๕ ปี ถูกยิงเข้าที่แผ่นหลัง ราวนม และแขนขวา ตารวจคาดว่าเป็นการทะเลาะกันของแก๊งวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน  ข้อเท็จจริง คือ นายอนิวัฒน์ จ่ารัตน์ ถูกยิงแผ่นหลัง ราวนม และ แขนขวา (มีหลักฐานอ้างอิงได้,พิสูจน์ได้)  ข้อคิดเห็น คือ คาดว่าเป็นการทะเลาะกันของแก๊งวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน (เป็นข้อสันนิษฐานของตารวจ อาจจะจริงหรือไม่จริงก็ได้) สรุปการอ่านเชิงวิเคราะห์ คือการอ่านข้อความอย่างละเอียดพินิจ พิเคราะห์ ระมัดระวังทั้งความหมายตรง และความหมายแฝง และต้อง พยายามสะสมประสบการณ์ต่าง ๆ ด้วยการอ่านหนังสือมาก ๆ ข้อที่ต้อง ระมัดระวังเป็นพิเศษคือ การใช้ภาษาของผู้เขียนเมื่ออ่านเรื่องที่ผู้เขียนแสดง ความคิดเห็นต่าง ๆ ควรแยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นออกจากกันเสียก่อน ที่มา. ประพนธ์ เรืองณรงค์. ๒๕๔๕ : ๕๐-๕๑.
  • 9. ๖ แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องโดยใช้กระบวนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD มีขั้นตอน ดังนี้ (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน) ๑. ทุกคนอ่านใบความรู้ที่แจกให้ ๒. กลุ่มทากิจกรรมดังนี้ คนที่ ๑ อ่านคาถาม คนที่ ๒ ตอบคาถาม คนที่ ๓ ตรวจคาตอบ คนที่ ๔ บันทึกลงในแบบฝึก ๓. ตัวแทนออกมานาเสนอผลงานกลุ่ม ๑. วิเคราะห์ หมายถึง..................................................................................... .................................................................................................................. ๒. การอ่าน หมายถึง...................................................................................... .................................................................................................................. ๓. การอ่านเชิงวิเคราะห์ หมายถึง ................................................................. .................................................................................................................. ๔. ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้ “ตรวจสภาพศพ นายสุนทร ขาประไพ โชเฟอร์รถทัวร์ที่ถูกยิงตายคารถ ปิกอัพ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก”
  • 10. ๗ เกณฑ์การประเมิน กลุ่มที่ได้คะแนน 9 – 10 ระดับดีมาก กลุ่มที่ได้คะแนน 7 – 8 ระดับดี กลุ่มที่ได้คะแนน 5 – 6 ระดับพอใช้ กลุ่มที่ได้คะแนน 1 – 4 ปรับปรุง กลุ่มที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือกลุ่มที่ได้ระดับดีขึ้นไป กลุ่มที่ไม่ผ่านการประเมินให้ศึกษาใหม่ ข้อเท็จจริง คือ........................................................................................... ข้อคิดเห็น คือ ........................................................................................... ๕. เพราะเหตุใด คาว่า ตารวจสันนิษฐาน... / คาดว่า... / มุ่งประเด็นว่า... จึงเป็นข้อคิดเห็น........................................................................................ กลุ่มที่...........รายชื่อสมาชิก ๑. ................................................................เลขที่............ประธานกลุ่ม ๒. ...............................................................เลขที่............ ๓. ...............................................................เลขที่............ ๔. ...............................................................เลขที่............เลขานุการกลุ่ม
  • 11. ๘ แบบทดสอบย่อย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด โดยทาเครื่องหมาย  ลงใน กระดาษคาตอบ (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน) อ่านข้อความนี้ ตอบคาถามและวิเคราะห์เรื่อง ข้อ ๑ – ๓ “นมจัดเป็นอาหารที่ถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการสมบูรณ์ที่สุด ชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีโปรตีนที่มีคุณภาพ ไขมัน น้าตาล เกลือแร่ และวิตามิน อย่างไรก็ตาม นมที่รีดมาจากฟาร์มมี แบคทีเรียรวมอยู่ด้วย ถ้ามีระบบการจัดการไม่ถูก สุขลักษณะ อาจจะทาให้แบคทีเรียเพิ่มจานวนขึ้น อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงไม่ควรดื่มนมดิบ เพราะอาจเกิดโรคจากแบคทีเรีย อาหารเป็นพิษได้” ๑. ข้อความนี้ผู้เขียนมีจุดประสงค์ในการเขียนอย่างไร ก. บอกโรคที่เกิดจากการดื่มนม ข. บอกวิธีการรีดนมวัวที่ถูกวิธี ค. บอกประโยชน์และโทษของนม ง. บอกเชื้อโรคที่อยู่ในนมดิบ ๒. จากข้อความที่ว่า “นมมีคุณค่าทางโภชนาการสมบูรณ์ที่สุด” หมายความ ว่าอย่างไร ก. ดื่มนมแล้วสุขภาพแข็งแรง เติบโตเร็วสูงสมวัย ข. ดื่มนมแล้วระบายท้องได้ดีเพราะนมมีเส้นใยมาก ค. ดื่มนมแล้วให้พลังงานดี เพราะนมมีแป้งและน้าตาล ง. ดื่มนมแล้วทาให้ร่างกายอบอุ่นเพราะนมมีไขมันมาก
  • 12. ๙ ๓. ถ้านักเรียนดื่มนมดิบ จะมีอันตรายอย่างไร ก. ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ ตัวร้อน เป็นไข้ ข. ทาให้เกิดการอักเสบ เป็นแผลในกระเพาะได้ ค. ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และหลอดลม ง. ทาให้ปวดท้อง ท้องเสีย เนื่องจากอาหารเป็นพิษได้ อ่านข้อความนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๖ “เด็กเฝ้ามองและเลียนแบบพ่อแม่ คนที่เด็กรักมากที่สุด เด็กจะพยายามทาตามกฎเกณฑ์ที่พ่อแม่กาหนดไว้ เนื่องจากเด็กต้องการความรัก ความสนใจและ การยอมรับจากพ่อแม่ เด็กจะพยายามเรียนรู้จากสีหน้า ท่าทางของพ่อแม่ว่าเด็กทาสิ่งไหนแล้ว พ่อแม่ยิ้ม พ่อแม่ตบมือ พ่อแม่ชอบ และเด็กก็จะพยายามทาสิ่งนั้นเพิ่มขึ้น” ๔. จากข้อความนี้ พ่อแม่ควรทาตัวอย่างไรให้ลูกเห็น ก. ยอมรับการแสดงออกของเด็กในทุกเรื่อง ข. ให้ความรักและทาสิ่งที่ถูกต้อง ค. ไม่ควรดุเด็กเพราะยังไม่รู้เรื่อง ง. อธิบายให้เด็กได้รับรู้เข้าใจ ๕. เด็กที่แกล้งพี่เลี้ยง และผู้ใหค่ว่าไม่ดีแต่กลับยิ้มด้วยความเอ็นดู จะทาให้ เด็กรู้สึกอย่างไร ก. เด็กรู้สึกว่า ไม่ผิดเพราะพ่อแม่ยิ้มแย้มที่ลูกทา ข. เด็กรู้สึกว่า มีความผิด แต่ผิดไม่มาก ค. เด็กรู้สึกว่า เป็นเรื่องดี ที่แกล้งพี่เลี้ยงได้ ง. เด็กรู้สึกว่า เหตุการณ์นี้เป็นเรื่องปกติ
  • 13. ๑๐ ๖. ถ้าเด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง พ่อแม่ควรทาอย่างไร ก. ปล่อยไปก่อน เพราะเด็กยังไม่รู้เรื่อง ข. ควรดุ และห้ามปรามสอนให้ชัดเจน ค. ควรอธิบายให้ชัดเจนอย่างยิ้มแย้ม ไม่ดุ ง. ควรยกตัวอย่างให้เด็กได้รับรู้หลาย ๆ ตัวอย่าง อ่านข้อความนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๗ – ๑๐ “ยิงเด็กอู่ดิ้นคาตู้ฮัลโหล เมื่อเวลา ๐๐.๒๐ น. วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ตารวจได้รับแจ้งว่า นาย สมยศ รักอู่ อายุ ๑๙ ปี ถูกคนร้ายใช้อาวุธปืน ลูกซองยิงใส่ที่กลางหลัง นอนเสียชีวิตบริเวณ ตู้สาธารณะ สอบสวนทราบว่าผู้ตายทางานที่อู่ซ่อมรถยนต์ไพเลิศการช่าง คาดว่าเป็นฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้านตามมาล้างแค้น” ๗. ข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง ก. นายสมยศ ถูกยิงด้วยปืนลูกซอง ข. ฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน ค. ฝีมือคู่อริเก่าตามมาล้างแค้น ง. สภาพศพนอนตายอย่างอนาถ ๘. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น ก. เวลา ๐๐.๒๐ วันที่ ๑๑ พ.ย. ข. นายสมยศ รักอู่ อายุ ๑๙ ปี ค. ทางานอยู่อู่ซ่อมรถยนต์ ง. คาดว่าเป็นฝีมือวัยรุ่นต่างหมู่บ้าน
  • 14. ๑๑ เกณฑ์การประเมิน คนที่ได้คะแนน 9 – 10 ระดับดีมาก คนที่ได้คะแนน 7 – 8 ระดับดี คนที่ได้คะแนน 5 – 6 ระดับพอใช้ คนที่ได้คะแนน 1 – 4 ปรับปรุง คนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคือคนที่ได้ระดับดีขึ้นไป คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้ศึกษาใหม่ ๙. ข่าวนี้ตรงกับสานวนไทยว่าอย่างไร ก. อย่าริรัก ในวัยเรียน ข. รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี ค. ตนเป็นที่พึ่ง แห่งตน ง. อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง ๑๐. ผู้ตายมีอาชีพใด ก. ช่างซ่อมโทรศัพท์ ข. ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ค. ช่างซ่อมรถยนต์ ง. ช่างซ่อมโทรทัศน์
  • 15. ๑๒ เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑. วิเคราะห์ หมายถึง ใคร่ครวญ แยกแยะออกเป็นส่วน ๆ ๒. การอ่าน หมายถึง การแปลความหมายของตัวอักษร เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เครื่องสื่อความหมายต่างๆ ที่ปรากฏแก่ตาออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจเชิงสื่อสาร แล้วผู้อ่านสามารถนาความคิดความเข้าใจนั้นไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้ต่อไป ๓. การอ่านเชิงวิเคราะห์ หมายถึง การใช้ความสามารถในการอ่านเพื่อ ประเมินสิ่งที่อ่าน ตัดสินว่าถูกหรือผิด หรือหาคุณค่าในสิ่งที่อ่าน หาความ แตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น ๔. ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้ “ตรวจสภาพศพ นายสุนทร ขาประไพ โชเฟอร์รถทัวร์ที่ถูกยิงตายคารถ ปิกอัพ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก” ข้อเท็จจริง คือ สภาพศพนายสุนทร ขาประไพ ถูกยิงตายคารถปิดอัพ ข้อคิดเห็น คือ ตารวจมุ่งขัดแย้งมรดก ๕. เพราะเหตุใด คาว่า ตารวจสันนิษฐาน... / คาดว่า... / มุ่งประเด็นว่า... จึงเป็นข้อคิดเห็น เพราะเป็นความเชื่อของตารวจที่มีต่อเหตุการณ์นั้น อาจจะ จริง หรือ ไม่จริงก็ได้
  • 16. ๑๓ เฉลยแบบทดสอบย่อย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ข้อที่ สอง, ห้า, เจ็ด อย่าพึ่งเอ็ดข้อ ก ถูก ข ไข่ไม่กระดูก มีข้อถูกคือ สี่, หก ค ควายข้อ หนึ่ง, สิบ มองตาปริบไม่ตลก ง งูไม่กล้าฉก ถูกทุกยก สาม, แปด, เก้า
  • 17. ประพนธ์ เรืองณรงค์. ๒๕๔๕. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๓ (มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ผจงวาด พูลแก้ว. ๒๕๔๗. แบบฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน. กรุงเทพ : ชมรมเด็ก สุวิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา. ๒๕๕๐. ๑๙ วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนา ความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. บรรณานุกรม