SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
คํานํา
         สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดีช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปาก
จะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้น เราจึงจําเป็นต้องดูแลสุขภาพในช่องปากให้สมบูรณ์ ซึ่งในปัจจุบัน
แนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกําจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่ม
และคงสภาพที่ดีไว้ นั่นคือ ให้ความสําคัญในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ซึ่งดีกว่าการรักษาเพราะ
กระทําในสภาพปกติ ไม่ก่อให้เ กิด ความเจ็บ ปวด ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานในการปวดฟัน ไม่ต้องยุ่งยาก ไม่
เสียเวลาในการรักษา ไม่ต้องเสียเงินค่ารักษาและที่สําคัญคือไม่ต้องสูญเสียฟัน
         การส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย
โดยเฉพาะพฤติกรรมการทําความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภคอันเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรค
ฟันผุ เหงือกอักเสบ การสํารวจทันตสุขภาพระดับจังหวัดปี 2554 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 56.6
เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปี ฟันผุร้อยละ 51.5 เฉลี่ยผุถอนอุด 1.5 ซี่ / คน เหงือกอักเสบร้อยละ 40.3 นับ
อยู่ในเกณฑ์ทดีขึ้น ซึ่งส่งผลต่อการสูญเสียฟันบางส่วนหรือทั้งปากในที่สุด ในขณะที่ผู้สูงอายุพบว่ามีฟันใช้เคี้ยว
               ี่
อาหาร (4คู่สบทั้งฟันแท้และฟันเทียม) ร้อยละ ๕๒ (ข้อมูลจากการสํารวจฯในปี ๒๕๕๓)
        การดําเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคของสํานักทันตสาธารณสุข ดําเนินตามวิสัยทัศน์
และยุทธศาสตร์กรมอนามัย โดยกําหนดวิสัยทัศน์ของสํานักทันตสาธารณสุขคือการเป็นองค์กรหลักในงาน
ทันตสาธารณสุขของประเทศ เน้นการทํางานแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีทุกช่วงวัยของชีวิต มีกลยุทธ์หลักการดําเนินงานคือเน้นการทํางานแบบมีส่วนร่วมของ
ภาคีเครือข่าย มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง สร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ลงทุนเพื่อการพัฒนา
โครงสร้ า งพื้ น ฐานและระบบงานให้ ไ ด้ ม าตรฐานและสอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ ก ร ตลอดจนพั ฒ นา
กระบวนการ กําหนด และบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมายเพื่อการพัฒนาทันตสุขภาพของประเทศ ทั้งนี้
ได้แบ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็น กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีทางทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยี
ทางทันตสุขภาพวัยทํางานและผู้สูงอายุ กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ กลุ่มพัฒนาระบบ
ทันตสาธารณสุข และกลุ่มพัฒนาความร่วมมือด้านทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ

                                                                                           มกราคม 2555
สารบัญ
                                                                               หน้า
คํานํา
การพัฒนาสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน                              ๑
การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริม   ๑๐
สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๕
คุ้มครองผู้บริโภค: มาตรฐานพื้นฐานของการดูแลสุขภาพ                              17
พัฒนาระบบทันตสาธารณสุข                                                         27
บริหารยุทธศาสตร์                                                               34
ภาคผนวก
โครงสร้างของสํานักทันตสาธารณสุข
ตารางตัวชี้วัดทันตสาธารณสุข
การพัฒนาสุขภาพช่องปาก
                               หญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน
                                                กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน

          การพัฒนาสุขภาพช่องปาก หญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน เพื่อส่งเสริมและป้องกันผลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นกับคุณภาพชีวิต ตลอดจนพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กและเยาวชน กุญแจสําคัญคือ
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ซึ่งการวิจัย และพัฒ นา
รูปแบบ/ต้นแบบ/เทคโนโลยี/นวัตกรรม รวมทั้งการจัดทําคู่มือ/แนวทาง/มาตรฐาน/มาตรการต่างๆ อันเป็น
ภารกิจที่สํานักทันตสาธารณสุขดําเนินการมาอย่างต่อเนื่อง แม้จะสามารถก่อให้เกิดสิ่งดีๆและความสําเร็จเล็กๆ
กระจัดกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ หากแต่ไม่สามารถนําพาผู้คนส่วนใหญ่ให้บรรลุเป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
โจทย์ห ลักคือ การใช้กลยุ ทธ์เ ครือข่า ยในทุกระดับ อย่า งมีป ระสิทธิภ าพ เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการ
จัดบริการทัน ตสุขภาพ(ทั้งทางตรงและทางอ้อม) หนุน เสริมให้เ กิด การเรียนรู้และพัฒ นาทักษะการทํา งาน
ร่วมกันของกลุ่มผู้รับ ผลประโยชน์ และการดูแลสุขภาพช่องปากของกลุ่มเป้าหมายสํา คัญ ภายใต้หลักการ
“คืนสุขภาพสู่มือเจ้าของ”

                              การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย
สถานการณ์สุขภาพช่องปากปี ๒๕๕๔
   ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปากและคําแนะนําร้อยละ ๘๖.๙ *
   ๒. เด็กอายุ ๓ ปีปราศจากฟันผุ ร้อยละ ๔๓.๔ **
   ๓. ผู้ปกครองเด็ก ๙-๑๒ เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟัน ร้อยละ ๕๘.๖ *
   ๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ ๙๖.๕ **
   ๕. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อย ๓ ใน ๕ วัน ร้อยละ ๘๔.๐ **
แหล่งข้อมูล * ท ๐๑ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔
            ** ท ๐๒ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔

แนวคิดและหลักการป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัย
          กรมอนามัย รับผิดชอบการพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ภายใต้โครงการ
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว โดยมีกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งในชุดบริการเพื่อ
การดูแลกลุ่มเป้าหมายนี้
          โรคในช่ อ งปากที่ มี โ อกาสพบมากในหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ คื อ เหงื อ กอั ก เสบ โรคปริ ทั น ต์ และโรคฟั น ผุ
การศึกษาในปี ๒๕๕๓ พบว่า หญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ยคนละ ๖.๖ ซี่ ร้อยละ ๙๐.๔ มีเหงือกอักเสบ การ
ตรวจและให้คําแนะนํา รวมถึงให้บริการขูดหินน้ําลาย ช่วยลดอัตราการเกิดเหงือกอักเสบในหญิงตั้งครรภ์ลงได้
กว่าครึ่ง (สํานักทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๓)
          สําหรับเด็กปฐมวัย ข้อมูลจากการสํารวจทันตสุขภาพแห่งชาติ และการสํารวจรายปีตามระบบเฝ้า
ระวังของสํานักทันตสาธารณสุข พบความชุกของโรคฟันผุ ในเด็กอายุ ๓ ปี ร้อยละ ๖๑.๔ ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด
๓.๒ ซี่ต่อคน (กองทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๐) แม้ว่าในภาพรวมของประเทศ เด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๓ และ ๕ ปี
จะมีความชุกของการเกิดโรคฟันผุลดลงเล็กน้อย แต่ชัดเจนเฉพาะในเขตเมืองเท่านั้น การแปรงฟันร่วมกับ
การใช้ยาสีฟัน ที่มีฟลูออไรด์ช่วยป้องกัน การก่อตัว ของเชื้อโรคที่เ ป็นปัจ จัย หลักของการเกิด โรคฟัน ผุ และ
สามารถหยุดยั้งหรือชะลอการเกิดโรคฟันผุในระยะเริ่มแรกได้ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจฟันและผู้ปกครอง
ได้รับคําแนะนําหรือฝึกแปรงฟัน จะได้รับการแปรงฟันมากกว่าเด็กที่ไม่ได้รับบริการอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
อย่างไรก็ต าม ผู้ปกครองมักเริ่มแปรงฟันให้เ ด็กค่อนข้างช้า พ่อแม่ที่เริ่มแปรงฟันให้เ ด็กตั้งแต่ฟัน เริ่มขึ้น
(๖ เดือน) มีเพียงร้อยละ ๒๘.๙ ขณะที่เริ่มแปรงฟันครั้งแรกเมื่อเด็กเดินได้ (๑ ขวบ) ร้อยละ ๓๒.๖, เมื่อเด็ก
ตักข้าวกินเองได้ (๒ ขวบ) ร้อยละ ๑๒.๗, เมื่อเด็กวิ่งได้ (๑ ขวบครึ่ง) ร้อยละ ๑๐.๙ (ABAC Poll ๒๕๕๔)
โดยภาพรวม อายุเฉลี่ยที่เด็กเริ่มได้รับการแปรงฟันคือ ๑๓.๘ เดือน (สํานักทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๓) ทั้งนี้ เด็ก
ปฐมวัยสามารถแปรงฟันเองได้สะอาดเมื่อมีอายุประมาณ ๗-๘ ปี เด็กกลุ่มนี้ยังต้องมีผู้ปกครองเป็นผู้ดูแล จึง
ต้องมีมาตรการทางสังคมเพื่อสนับสนุนทักษะของผู้ปกครอง และปรับทัศนคติของผู้ปกครองให้สามารถจัดการ
แปรงฟันให้เด็กได้อย่างสม่ําเสมอและมีคุณภาพ
          ด้านการบริโภค การรับประทานน้ําตาลมากกว่า ๒-๔ ครั้งต่อวัน จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ
ปัญหาเรื่องการบริโภค เป็นประเด็นองค์รวมที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน ฟันผุ และการสูญเสียทางเศรษฐกิจ การใช้
มาตรการทางสุขศึกษาเพื่อปรับพฤติกรรมบริโภคมักไม่ค่อยได้ผล แต่มาตรการด้านนโยบายและการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กจะได้ผลดีกว่า
          ด้านการเข้าถึงบริการ เด็กอายุต่ํากว่า ๕ ปี ได้รับบริการน้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ การสํารวจทันตสุขภาพ
แห่งชาติปี ๒๕๕๐ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีค่า เฉลี่ยฟันผุถอนอุด ๓.๒๑ ซี่ต่อคน ซึ่งร้อยละ ๙๘.๑ หรือ
๓.๑๕ ซี่ต่อคนเป็นฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา การสํารวจฯปี ๒๕๕๔ พบว่า ร้อยละ ๕๑.๗ ของเด็ก ๓-๔ ปี
ในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก เคยได้ รั บ บริ ก ารตรวจสุ ข ภาพช่ อ งปาก, ร้ อ ยละ ๓๔.๒ ได้ รั บ การทาฟลู อ อไรด์
เพื่อป้องกันฟันผุ, ร้อยละ ๔.๖ ได้รับการถอนฟัน และเพียงร้อยละ ๘.๖ เคยได้รับการบูรณะฟัน

สถานการณ์การทํางานปี ๒๕๕๔
        ในปี ๒๕๕๓-๕๔ สํานักทันตสาธารณสุข จัดการประกวดเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ดีเด่นด้าน
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็ก เพื่อกระตุ้นให้โรงพยาบาลและเครือข่ายมีความตื่นตัวในการดําเนินงาน
เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เป็นแนวทางการพัฒนางานและนําไปสู่เป้าหมายเด็กไทยฟันดีถ้วนหน้า ในปี ๒๕๕๔ มี
การจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CUP ดีเด่นที่ได้รับรางวัลในปี ๒๕๕๓ มีข้อสรุปคือ
    ๑) เกณฑ์การประเมินในการประกวด CUP ดีเด่น ช่วยเป็นแนวทางให้พื้นที่พัฒนางานได้อย่างเป็นระบบ
        และครบทุกด้าน ทั้งด้านการบริหารจัดการ การให้บริการ และการวัดผลงาน
    ๒) งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ มีการพัฒนาความร่วมมือกับฝ่ายอื่นๆมากขึ้น และมีการ
        จัดระบบเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมารับบริการมากขึ้น
    ๓) เกิดระบบการพัฒนาร่วมกันในระดับเขต (ศูนย์อนามัย)
    ๔) มีการพัฒนาชัดเจนเรื่องการจัดบริการ แต่ในด้านการวัดผลลัพธ์ที่เกิดกับกลุ่มเป้าหมาย ยังต้องมีการ
        พัฒนาต่อไป

         ในปี ๒๕๕๓-๕๔ จัดทําโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในชุมชน ร่วมกับพื้นที่ ๙
จังหวัด เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของ อสม. และชุมชนในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ๐-๒ ปี ผลการดําเนินงาน
พบว่า อสม.ที่ได้รับการอบรม สามารถตรวจความสะอาดช่องปากเด็ก ฝึกผู้ปกครองแปรงฟัน และให้คําแนะนํา
การบริโภคอาหาร และพื้นที่ที่มีการเฝ้าระวังต่อเนื่องทุก ๓ เดือน เด็กจะมีฟันสะอาดขึ้น มีพฤติกรรมบริโภคดี
ขึ้น และมีแนวโน้มฟันผุลดลง
ในปี ๒๕๕๔ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ร่วมกับกรมอนามัย และสํานักงานสนับสนุน
การสร้า งเสริมสุขภาพ จัด ให้มีการรณรงค์ส ร้า งกระแสภายใต้กองทุน ทัน ตกรรมเพื่อกระตุ้น ให้ผู้ป กครอง
ตระหนักถึงความสําคัญและแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ํานมซี่แรกขึ้น การรายงานจาก ๔๒ จังหวัด พบว่า
มี ส ถานบริ ก ารร่ ว มดํ า เนิ น การ ๑,๑๙๑ จุ ด เด็ ก และผู้ ป กครอง ได้ รั บ การฝึ ก แปรงฟั น ๑๐๗,๓๙๗ คน
เป็นที่คาดหวังว่าหากผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น จะช่วยป้องกันไม่ให้เด็กฟันผุ หรือช่วยชะลอ
การเกิดฟันผุให้ช้าลง
      วัตถุประสงค์
      ๑) สนับสนุนองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
      ๒) รณรงค์สร้างกระแสในสังคม เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสําคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลาน
           และเพื่อสนับสนุนการทํางานของพื้นที่
      ๓) สนับสนุนความเข้มแข็งของเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย
      ๔) สนับสนุนให้มีระบบบริการทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ ครอบคลุมในกลุ่มเด็กปฐมวัย

เป้าหมายการดําเนินงานปี ๒๕๕๕
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์
          เด็กอายุ ๓ ปี ปราศจากฟันผุไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๑
ตัวชี้วัด
      ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปากและคําแนะนํา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
      ๒. เด็กอายุ ๙-๑๒ เดือนได้รับการตรวจช่องปาก และผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก ไม่น้อยกว่า
          ร้อยละ ๘๕
      ๓. เด็กอายุ ๑๘ เดือน ปราศจากฟันผุ
      ๔. เด็กอายุ ๑๘ เดือน ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
      ๕. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ไม่น้อยกว่า
          ร้อยละ ๙๕
      ๖. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก ๓-๕ วัน/สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕

กิจกรรมสําคัญปี ๒๕๕๕
๑. พัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
   ในสถานบริการ
      ๑) ตรวจช่องปากหญิงตั้งครรภ์ ให้คําแนะนํา และให้บริการตามความจําเป็น
      ๒) ตรวจช่องปากเด็ก ๙-๑๒ เดือน ประเมินความเสี่ยงต่อฟันผุ ให้คําแนะนํา กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ
          ทาฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุและติดตามทุก ๖ เดือน และฝึกผู้ปกครองแปรงฟัน
      ๓) ตรวจช่องปากเด็ก ๑๘ เดือน และเก็บข้อมูลสภาวะปราศจากฟันผุ และการแปรงฟันก่อนนอนตาม
          ระบบเฝ้าระวัง
    ในชุมชน ทํางานร่วมกับชุมชนและ อสม. ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย
        ๑) ค้นหาเด็กที่มีความเสี่ยงสูง (หมายถึงเด็กที่มีฟันหน้าบนไม่สะอาด มีรอยขุ่นขาว หรือมีฟันผุ และ
           เด็กบริโภคหวาน)
        ๒) ให้คําแนะนําเรื่องการบริโภคหวาน และฝึกแปรงฟัน
        ๓) ติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสุขภาพช่องปาก
๔) นําเสนอข้อมูลต่อผูมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหา
                             ้
    ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
        ๑) ตรวจช่องปากเทอมละ ๑ ครั้ง
        ๒) จัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวันหลังอาหารกลางวัน
        ๓) ส่งเสริมให้มีการจัดผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อย ๓ ใน ๕ วันต่อสัปดาห์
๒. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย
   ๑) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนพื้นที่ที่ได้รับการคัดเลือกเป็น CUP ดีเด่นการทํางาน
      ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
   ๒) ปรับปรุงคู่มือการดําเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
๓. รณรงค์สร้างกระแส
    ๑) ประกวด CUP ดีเด่นด้านการดําเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็กปีที่ ๓ กิจกรรม
         ประกอบด้วย
         - ประชุมศูนย์อนามัยเพื่อปรับปรุงเกณฑ์การประกวดและจัดทําแผนการดําเนินงานปี ๒๕๕๕
         - ประชาสัมพันธ์การดําเนินงาน
         - ดําเนินการประกวด
                  - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดคัดเลือกและส่ง CUP ที่จะเข้าประกวดไปยังศูนย์อนามัย
                    ภายใน เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
                  - ศูนย์อนามัยส่งรายชื่อ CUP ดีเด่นระดับเขต ๓ รางวัล (รางวัลที่ ๑, ๒, ๓) ที่ชนะการ
                    ประกวดมายังสํานักทันตสาธารณสุข ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕
                  - สํานักทันตสาธารณสุขมอบรางวัล CUP ที่ชนะการประกวด
                  - ผู้ได้รับรางวัลที่ ๑ รับโล่ประทานจากพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในเดือนกุมภาพันธ์
                    ๒๕๕๖
    ๒) รณรงค์สร้างกระแสภายใต้กองทุนทันตกรรม “ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก”
         กลุ่มเป้าหมายของการรณรงค์ ในปี ๒๕๕๕ ได้แก่เด็กปฐมวัย โดยมีเป้าหมายให้ผู้ปกครองแปรงฟันให้
เด็กทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
         รายละเอียดของกิจกรรม อยู่ระหว่างการพัฒนาร่วมกับ สปสช.
๔. จัดทําฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย
   ๑) สํารวจฟันผุในเด็ก ๓ ปี ประจําปี และรายงานผลการดําเนินงานเพื่อการประเมินผล
   ๒) สํารวจสถานการณ์การแปรงฟันและพฤติกรรมบริโภคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
   ๓) รวบรวมข้อมูลผ่านทางระบบรายงาน (ท ๐๑) และระบบสํารวจ/เฝ้าระวัง (ท ๐๒)
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนและเยาวชน
สถานการณ์สุขภาพช่องปากปี ๒๕๕๔
   ๑. เด็กอายุ ๑๒ ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ ๔๘.๕
   ๒. ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด ของเด็กอายุ ๑๒ ปี ๑.๕ ซี/คน
                                                      ่
   ๓. เด็กอายุ ๑๒ ปี ไม่มีเหงือกอักเสบ ร้อยละ ๕๙.๗
   ๔. โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ร้อยละ ๙๕.๙
   ๕. โรงเรียนปลอดน้ําอัดลม ร้อยละ ๘๑.๗
   ๖. เด็กชั้น ป.๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ๑๗๖,๒๖๓ ราย เด็กชั้น ป. ๖ ๘๘,๔๑๒ ราย
แหล่งข้อมูล * ท ๐๑ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔
            **ท ๐๒ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔
           *** ค่าร้อยละคํานวณจากฐานประชากรปี ๒๕๕๓

แนวคิดและหลักการป้องกันฟันผุในเด็กวัยเรียน
        ปั ญ หาทั น ตสุ ข ภาพที่ เ ป็ น ปั ญ หาหลั ก ของเด็ ก วั ย เรี ย น คื อ โรคฟั น ผุ ข้ อ มู ล จากระบบเฝ้ า ระวั ง
ทันตสุขภาพของสํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งของเด็กวัยเรียน (ร้อยละ ๕๒)
มีโรคฟันผุ (เด็ก ป. ๖ เป็นกลุ่มอายุดัชนีที่ใช้ในการติดตามเฝ้าระวัง)1 เด็กประถมศึกษาเป็นช่วงวัยสําคัญ
ในการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพและพั ฒ นาพฤติ ก รรมที่ เ หมาะสม องค์ ก ารอนามั ย โลกออกข้ อ แนะนํ า ในเรื่ อ ง
การส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนเป็นกลยุทธ์สําคัญ ด้วยแนวคิด “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๐ และ
ประเทศไทยนําแนวคิดดังกล่าวมาดําเนินการตั้งแต่ ปี ๒๕๔๕ มีการกําหนดองค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริม
สุขภาพของประเทศไทย โดยใช้เงื่อนไขบริบทในประเทศและกําหนดไว้ ๑๐ องค์ประกอบ ซึ่งแม้ว่าจะไม่มี
องค์ประกอบเฉพาะด้านทันตสุขภาพ หากแต่ปัจจัยเสี่ยงสําคัญได้รับการกําหนดเป็นตัวชี้วัดใน ๓ องค์ประกอบ
ได้แก่
    - องค์ประกอบที่ ๕ บริการอนามัยโรงเรียน ประกอบด้วย ๔ ตัวชี้วัด คือ
       - นักเรียนชั้น ป.๕ ขึ้นไป ตรวจสุขภาพด้วยตนเองภาคเรียนละ ๑ครั้ง
       - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดย บุคลากรสาธารณสุขหรือครู อย่างน้อยปี
             ละ ๑ ครั้ง
       - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ไม่มีฟันแท้ผุ (ฟันที่ได้รับการอุดหรือแก้ไขแล้ว ถือว่าไม่ผ)ุ
       - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ไม่มีภาวะเหงือกอักเสบ
    - องค์ประกอบที่ ๖ สุขศึกษาในโรงเรียน ตัวชี้วัดคือ นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
       ทุกวัน ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
    - องค์ประกอบที่ ๗ โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัดคือ ไม่มีการจําหน่ายอาหารที่มีผลเสียต่อ
       สุขภาพ
        เพื่อทําให้การดําเนินงานประสบความสําเร็จตามเป้าหมายทันตสุขภาพของเด็ก การปรับแนวคิดและ
แนวทางการดํ า เนิ น งานให้ เ ป็ น ระบบ โดยผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยเข้ า มี ส่ ว นร่ ว มในการคิ ด และทํ า
โดยระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนจึงจะสามารถจัดการกับปัญหาฟันผุในเด็กวัยเรียนอย่างได้ผล และยั่งยืน

1
 เด็ก ป.๖ จะมีอายุประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีฟันแท้ขึ้นครบ ๒๘ ซี่ และเป็นช่วงอายุสดท้ายขงการศึกษาภาคบังคับ ซึ่ง
                                                                                        ุ
จะสะท้อนถึงผลกระทบที่เกิดจากการทํางานส่งเสริมป้องกันในโรงเรียนตลอดระยะ ๖ ปีของการศึกษาภาคบังคับ
จากการทบทวนและสรุ ป บทเรี ย นการทํ า งานที่ ผ่ า นมา กลยุ ท ธ์ สํ า คั ญ คื อ การปรั บ ให้ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม
ทัน ตสุ ข ภาพเป็ น ส่ ว นหนึ่ง ของวิ ถีชี วิต ครูแ ละนั กเรี ย น โดยช่ อ งทางสํ า คั ญ ได้แ ก่ การบูร ณาการเข้า กั บ
การจั ด การเรี ย นรู้ ห รื อ ระบบการเรี ย นการสอนในโรงเรี ย น ในขณะเดี ย วกั น จะต้ อ งบู ร ณาการเข้ า กั บ
การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของเด็ก
ในโรงเรียนโดยใช้แนวทางของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทั้งนี้ ไม่เพียงแต่ดําเนินการในลักษณะที่ครอบคลุม
ทั่ว ประเทศเท่ า นั้ น หากแต่ จ ะต้ อ งศึก ษาและพั ฒ นาเพื่ อให้ เ กิด ความชั ด เจนในรู ป แบบและแนวทางที่ จ ะ
ดําเนินการต่อไปในภายภาคหน้า เพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์ที่แปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว พร้อมกันนี้ ยังต้อง
จัดการให้เกิดการดูแลทันตสุขภาพอย่างครบวงจร ตั้งแต่การส่งเสริมทันตสุขภาพ การป้องกันโรคในช่องปาก
และการให้บริการทันตสุขภาพที่มีคุณภาพครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความจําเป็นของ
นักเรียนได้โดยสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และระบบบริการสุขภาพโดยรวม ทั้งนี้ สํานักทันตสาธารณสุข
ได้พัฒนางาน/โครงการเพื่อให้สามารถจัดการกับปัจจัยสําคัญทางทันตสุขภาพ ดังแสดงในภาพที่ ๑




                  ภาพที่ ๑ กรอบแนวคิดการพัฒนาทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน
        กระบวนการทํางานหลักของการพัฒนา ใช้แนวคิดการดําเนินงานการขยายผลด้วยหลักการจาก
โรงเรียนแต่ละโรงเรียน ไปสู่การพัฒนาเป็น node และเครือข่าย ซึ่งจะทําให้โรงเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้
และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้มาตรฐานและครอบคลุม (individual, node, network)


                                                                            ภาพที่ ๒ แนวคิด INN model
                                                                         (ภาพจาก http://www.wasi.or.th )
ตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ เป็นต้นมา มีการจัดประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านทันตสุขภาพโดยกําหนดเป็นหมวด
ประเด็นสําคัญที่นําสู่ทันตสุขภาพของเด็ก ๓ หมวดหลัก คือ กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟัน
ผสมฟลูออไรด์ กิจกรรมการบูรณาการการเรียนรู้ทันตสุขภาพในหลักสูตรและกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อม
ที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ โดยสนับสนุนให้โรงเรียนดําเนินการตามหลักการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งในแต่ละปี
ศูนย์อนามัยเขตและกองทันตสาธารณสุข กทม.จะคัดเลือกโรงเรียนที่ชนะการประกวด เพื่อเป็นโรงเรียนดีเด่น
ระดับประเทศปีละ ๓๙ โรงเรียน การให้ศูนย์อนามัยเขตคัดเลือกเพื่อให้มีการกระจายโรงเรียนที่มีศักยภาพเป็น
แกนนํา กระจายทั่ว ทุกภูมิ ภ าค การประกวดเป็น โรงเรีย นเดี่ย วดํา เนิน การต่อเนื่ อง ๓ ปี และเริ่มเข้า สู่
กระบวนการพัฒนา node โดยเริ่มให้มีการประกวดเป็น “คู่หูโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพ” ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐
เป็นระยะ ๓ ปี ในขณะเดียวกัน ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๐ สํานักทันตฯได้พัฒนาโครงการ “เรียนรู้คู่วิจัย” ที่คาดหวังให้
เกิดการพัฒนาทันตสุขภาพด้วยเด็กนักเรียนเอง ทําให้เกิดโรงเรียนที่สามารถเป็นแกนนําเพื่อพัฒนาต่อเนื่องจาก
การประกวดทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ รวมกับโครงการเรียนรู้คู่วิจัย กว่า ๑,๐๐๐ โรงเรียน ในช่วงปี
๒๕๕๑ จึงเริ่มพัฒนาก่อรูปให้เกิดเครือข่าย(network)โรงเรียนเด็กไทยฟันดี โดยมีกระบวนการพัฒนาสนับสนุน
เพื่อให้เกิดเครือข่ายฯตัวอย่างกระจายทั่วประเทศ การประกวดคู่หูโรงเรียนทันตสุขภาพดําเนินการคู่ขนานกับ
การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนฯ และเข้าสู่ระยะการขยายผลในปี ๒๕๕๔

สถานการณ์การทํางานปี ๒๕๕๔
          ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ การพัฒ นาการส่งเสริมสุขภาพในเด็กประถมศึกษามีการพัฒ นาต่อภายใต้
โครงการหลัก คือ เครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพ โดยตั้งเป้าหมายให้เกิดเครือข่ายในทุกจังหวัดอย่าง
น้อยจังหวัดละ ๑ เครือข่าย และจัดทําให้เกิดเกณฑ์การพัฒนาเครือข่ายขึ้น เพื่อให้เป็นเกณฑ์สําหรับการ
ดํา เนิน งานภายในเครือข่า ยฯ ซึ่งมีเ ป้า หมายเพื่อให้บ รรลุทั น ตสุขภาพของเด็กนักเรีย นโดยใช้ตัว ชี้วัด การ
ดําเนินงานเป็นเป้าหมายรายทางในการดําเนินงาน ซึ่งพบว่า แต่ละจังหวัดได้ร่วมพัฒนาให้เกิดเครือข่ายขึ้น
ในทุกจังหวัดและจะได้มีการขยายผลในระดับ CUP ต่อไป
          ความสําเร็จประการสําคัญอีกประเด็น คือ ในปี ๒๕๕๔ มีการเสนอให้ สภาวะโรคฟันผุของเด็กนักเรียน
เป็นเกณฑ์บังคับในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยข้อกําหนดเกณฑ์ คือ ร้อยละเด็กไม่มีฟันผุ (กําหนด
เด็กประถมศึกษาปีท๖ ร้อยละ ๔๕ และเด็กมัธยมศึกษาปีท๓ ร้อยละ ๓๕) โดยจะต้องไม่มีเด็กที่มีฟันแท้ถูก
                       ี่                                     ี่
ถอน และมีการตกลงให้ปรับเปลี่ยนเกณฑ์เป็นร้อยละเด็กปราศจากโรคฟันผุ (caries free) ในปี ๒๕๕๖
          งานวิจัยที่สําคัญชิ้นหนึ่งที่ดําเนินการและจะนําไปใช้เพื่อการขยายผลในปี ๒๕๕๕ คือ พัฒนาระบบ
จัดการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากและปัจจัยเสี่ยงสําคัญของประชาชนไทยในระดับจังหวัด (เป็น
การวิจัยซึ่งผ่านการพิจารณาจากสภาวิจัย) ซึ่งดําเนินการร่วมกับพื้นที่วิจัย ๗ จังหวัด ได้ข้อสรุปอายุดัชนีในการ
เฝ้าระวัง ๔ กลุ่มอายุ ด้วยกัน คือ การเกิดโรคฟันผุใน กลุ่มเด็กปฐมวัยกําหนดกลุ่มอายุดัชนีที่อายุ ๑๘ เดือน
กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มอายุ ๓ ปี กลุ่มวัยเรียน กลุ่มอายุ ๑๒ ปี และการเฝ้าระวังจํานวนฟันที่เหลืออยู่ใน
ช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งคู่มือ แบบฟอร์ม แนวทางและโปรแกรมประมวลผลข้อมูลเผยแพร่บน website
สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
          การสนับสนุนนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกลุ่มเด็กนักเรียน คือ นโยบายโรงเรียนปลอด
น้ําอัดลม ซึ่งกําหนดให้เป็นตัวชี้วัดสําคัญที่นําสู่ผลลัพธ์ด้านสุขภาพช่องปากของเด็ก และขับเคลื่อนในกลุ่มผู้
กํา หนดนโยบายของกระทรวงศึ กษาธิก าร ภายใต้ ชื่อ “สพป.อ่อ นหวาน” ผลการดํา เนิน งานในปี ๒๕๕๔
มี สพป. สมัครขอรับการประเมินทั้งสิ้น ๗๕ แห่งและผ่านการประเมิน ๒๒ แห่ง รวมทั่วประเทศระยะ ๓ ปี
จํานวน ๖๐ เขตพื้นที่การศึกษา
นอกจากนี้ เพื่อขยายความครอบคลุมในการดูแลทันตสุขภาพของเด็กในโรงเรียน ปี ๒๕๕๔ เริ่มให้มี
การประกวดเกมทันตสุขภาพ ที่ช่วยพัฒนาศักยภาพในการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ของเด็กประถมศึกษา
และเกิดสื่อเพือการเรียนรู้ให้กับเด็กอนุบาลเป็นจุดเริ่มต้นในการดําเนินงานในเด็กอนุบาล มีผู้ส่งประกวดทั้งสิ้น
              ่
๒๒ ทีม และมีการคัดเลือกผู้ได้รับรางวัล ๘ ทีม

เป้าหมายการดําเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๕๕
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์
          เด็กอายุ ๑๒ ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ ๔๕ (สําหรับจังหวัดที่ร้อยละปราศจากฟันผุถึงร้อยละ ๔๕ แล้ว
ให้เพิ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑)
ตัวชี้วัด
      1. โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน(ร้อยละ ๙๒)
      2. โรงเรียนประถมศึกษาไม่มีการจําหน่ายหรือจัดน้ําอัดลมให้แก่เด็ก (ร้อยละ ๘๐)
      3. เด็ก ป.๑ ได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากและบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (ร้อยละ ๗๐)
      4. เด็ก ป.๑ ได้รับการบริการเคลือบหลุมร่องฟัน (ร้อยละ ๕๐)
      5. เด็ก ป.๖ ได้รับการบริการเคลือบหลุมร่องฟัน (ร้อยละ ๒๐)
      6. เด็ก ป.๑ ได้รับการบริการผสมผสานอย่างสมบูรณ์ (Comprehensive care) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐
          ของเด็ก ป.๑ ที่ได้รับการตรวจฟัน
กิจกรรมสําคัญปี ๒๕๕๕
๑. พัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน
      ในสถานบริการ
          ๑) จัดระบบ (งานตั้งรับและการจัดหน่วยเคลื่อนที่) เพื่อให้บริการทันตกรรมป้องกันและการบริการ
              อย่างสมบูรณ์แก่เด็กประถมศึกษา (ป.๑) ตามตัวชี้วัดกองทุนทันตกรรม
          ๒) จัดระบบการบริการเพื่อตอบสนองการดูแลสุขภาพช่องปากวัยเรียนอย่างเหมาะสม (จัดสรรเวลา
              สําหรับกลุ่มอายุสําคัญและเด็กกลุ่มอื่นๆ)
    ในชุมชน
        ๑) สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน/อปท. รวมทั้งผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมใน
            โรงเรียน
        ๒) สร้างกระแสให้ชุมชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อทันตสุขภาพ
        ๓) ขับเคลื่อนกระแสให้ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กต่อเนื่องที่บ้าน
    ในโรงเรียน
        ๑) สนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนผ่านกระบวนการเครือข่ายฯ
        ๒) ช่วยพัฒนาและเผยแพร่นวัตกรรมที่เกิดขึ้นในโรงเรียนเพื่อให้เกิดการขยายผล
๒. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย
   ๑) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อสรุปการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทํางานในทุกระดับ (ภายใน
      เครือข่ายโรงเรียน, ระดับภาค และระดับประเทศ)
   ๒) จัด การอบรมและประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒ นาความรู้พื้นฐานและเทคโนโลยี ในการทํา งานแก่
      เครือข่าย
๓. รณรงค์สร้างกระแส
   ๑) มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับประเทศ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมมากกว่า ๕๐๐ คนทั่วประเทศ
   ๒) ประกวดเกมทันตสุขภาพ
๔. การจัดทําฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน
   ๑) ติดตามข้อมูลผ่านระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ
   ๒) รวบรวมข้อมูลจากระบบรายงานปกติ (๑๘ แฟ้ม+๑๒ แฟ้ม) ที่เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน
   ๓) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องในประเด็นที่เป็นปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลสาธารณะ
   ๔) update ฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในวัยเรียน

รายชื่อบุคลากรในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน
โทร : ๐-๒๕๙๐-๔๒๐๔, ๐-๒๕๙๐-๔๒๐๘, ๐-๒๕๙๐๔๒๐๙
www.yimsodsai.com, www.sweetenough.in.th
หัวหน้ากลุ่ม : ทพญ.วราภรณ์ จิระพงษา           warajira@gmail.com
งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย
ผู้ประสานงาน : ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์        uchantana@gmail.com
                ทพญ. ศรีสุดา ลีละศิธร         srisuda.l@anamai.mail.go.th
                ทพญ.เมธินี      คุปพิทยานันท์ kupitanant@yahoo.com
                ทพญ.สุพรรณี ศรีวิริยะกุล      ssreviriyakul@yahoo.com
                นางสุรางค์      เชษฐพฤนธ์     ccsurang@gmail.com
                นางสุภาวดี      พรหมมา        psupawade@gmail.com
                นางเขมณัฐ       เชื้อชัยทัศน์ kcmanat48@gmail.com
งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผู้ประสานงาน : ทพญ. ปิยะดา ประเสริฐสม pprasertsom@gmail.com
                ทพญ. กันยา บุญธรรม            Kanya_bt@yahoo.com
                ทพญ.สุวรรณา เอื้ออรรถการุณ suwannadt@yahoo.com
                นางผุสดี        จันทร์บาง     pussadec@gmail.com
                นางปราณี        เหลืองวรา     pnevara@gmail.com
                นางขนิษฐ์       รัตนรังสิมา   khanitrat@gmail.com
                นางอังศณา       ฤทธิ์อยู่     sana1406@gmail.com

เจ้าหน้าที่เครือข่ายรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานและโครงการอื่น
                   นางสาวณัฐยา ชัยชาญ             kobb03@hotmail.com
                   นางสาวศิริวรรณ คงสมบูรณ์       siriwan_ko@hotmail.com
                   นางสาวกาญจนา เกิดอุบล          keraubol-som@hotmail.com
                   นางสาวบุญนภัส มีรัตน์          boonapat7@hotmail.com
การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
       ในโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผูสูงอายุ
                                                                ้
              เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๕
                                          กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพวัยทํางานและสูงอายุ

หลักการและเหตุผล
           ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน และประชาชน
มีอายุขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้น ส่วนใหญ่มีโรคทางระบบร่วมกับความเสื่อมของสภาพร่างกาย ส่งผลให้งบประมาณด้าน
การรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ดังนั้น ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจึงควรเตรียมการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ
รวมไปถึงการดูแลสุขภาพช่องปาก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบโดยการมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน และมีความสัมพันธ์
กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทําให้การดูแลสุขภาพช่องปากมีความยากและซับซ้อนกว่ากลุ่มอายุอื่น ๆ
           การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและผู้สูงอายุ มีจุดเริ่มต้นจากกระแสพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๔๗ ความว่า “เวลาไม่มีฟัน กินอะไรก็ไม่อร่อย ทําให้ไม่มี
ความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง” กรมอนามัยจึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพือแก้ปัญหาการสูญเสียฟัน
                                                                                      ่
ของผู้สูงอายุ อาทิเช่น ฟันเทียมพระราชทานเพื่อทดแทนฟันที่สูญเสียไป ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ช่องปาก และบริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อลดการสูญเสียฟัน การประกวด “๑๐ ยอด-
ฟันดี วัย ๘๐ ปี” เพื่อสนับสนุนยกย่องให้เป็นแบบอย่างของผู้ที่ดูแลสุขภาพช่องปากดีตลอดชีวิต การรณรงค์
สร้างกระแส เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทั้งทางสื่อสาธารณะและในพื้นที่ต่าง ๆ ให้ประชาชนเห็นความสําคัญของ
สุขภาพช่องปากต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ขณะเดียวกัน ก็มีการประชุม/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน
ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน รวมทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ด้วยความร่วมมือของทุกภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชมรมผู้สูงอายุ
โดยมุ่งหวังว่า ผู้สูงอายุจะสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเอง เข้าถึงบริการทันตสุขภาพจากภาครัฐตาม
ความจําเป็น ทําให้มีฟันใช้เคี้ยวอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ รวมทั้งมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และ
ผู้สูงอายุรุ่นต่อ ๆ ไปจะเก็บรักษาฟันแท้เอาไว้ได้จนถึงบั้นปลายชีวิต โดยไม่ต้องใส่ฟันเทียม
           แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาสุขภาพช่องปากของผูสูงอายุที่สําคัญมี ๖ ประเด็น ได้แก่ ๑) การสูญเสียฟันและ
                                                  ้
ปัญหาจากการใส่ฟัน ๒) ฟันผุและรากฟันผุ ๓) โรคปริทันต์ ๔) แผล/มะเร็งช่องปาก ๕) น้ําลายแห้ง ๖) ฟันสึก
ดังนั้น เป้าหมายการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดีขึ้น นอกจากจะดูแลสุขภาพในช่องปากผู้สูงอายุ
ให้คงสภาพการใช้งานให้นานที่สุดแล้ว ยังต้องพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่ม
ผู้สูงอายุ หรือก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุต่อไป
แนวคิดการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและสูงอายุในปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙
      . พัฒนาระบบบริการผสมผสานทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพช่องปาก
                  )            F                    ˂           F           F        F                    / F

                )                ˂
              -risk group, early detection & prevention

                  .                                                                               .   .
              -       ˆ                         ˆ

                  .
              -                    F /-                              ˆ /-                F   /   ./       ./    ./   .
              -                           F F

               .          ˀˊ                            F
              - ˆ                     /-                    ˆ       / - Prostheses




    ๒.   บูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น เช่น การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
    ๓.   สร้างและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านบริการ การผลิต/พัฒนาทันตบุคลากร
    ๔.   การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
    ๕.   พัฒนาเทคโนโลยี รูปแบบ แนวทาง เกณฑ์ มาตรฐาน รวมทั้ง Excellent Center
    ๖.   การรณรงค์สร้างกระแส เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ
ผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ ๒๕๕๔
          ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโครงการ
ฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ที่ดําเนินงานมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ มีการพัฒนาเป็น
ลําดับจนถึงปัจจุบัน มีผลการดําเนินงานในปี ๒๕๕๔ โดยสรุปดังนี้
          ๑. หน่วยบริการทั่วประเทศร่วมกันจัดบริการใส่ฟันเทียมทั้งปากให้ผู้สูงอายุทุกสิทธิ์แล้วกว่า ๒๓๐,๐๐๐
ราย เฉพาะปี ๒๕๕๔ จัดบริการได้ ๓๗,๕๐๒ ราย
          ๒. ร่วมกับศูนย์อนามัยเขตทั้ง ๑๒ เขต จัดการประชุมขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพ
ชมรมผู้สูงอายุ รวม ๑,๐๗๓ ชมรม ให้มีกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากตนเองอย่างน้อย ๑ อําเภอ ๑ ชมรม
ในปี ๒๕๕๔ ซึ่งถ้ารวมตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ ครอบคลุม ๗๑๒ อําเภอ ๑,๗๒๘ ชมรม มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม
ทั้งสิ้น ๓๕๕,๔๓๖ คน
          ๓. ร่ ว มกั บ หน่ ว ยบริ ก ารในจั ง หวั ด พั ฒ นาต้ น แบบการจั ด บริ ก ารส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น โรคในช่ อ งปาก
๒๑ จังหวัด ๒๑๙ แห่ง
          นอกจากนี้ ในปี ๒๕๕๔ ยังร่วมกับ หน่วยทันตกรรมพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว
รณรงค์จัดบริการใส่ฟันเทียมพระราชทานแก่ประชาชนในจังหวัดพิจิตร ร่วมกับมูลนิธิโอสถสภารณรงค์จัดบริการ
และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการที่จังหวัดแพร่ นครราชสีมา และมุกดาหาร ร่วมกับภาคเอกชนรณรงค์
จัด บริการใส่ฟัน เทีย มในมหกรรมการประชุมวิช าการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม กรมอนามัย
ประจํา ปี ๒๕๕๔ ศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิผ ลการใช้ฟลูออไรด์ว านิช ป้องกันรากฟัน ผุ ร่ว มกับ จังหวัด สตูล
เชียงใหม่ ตราด และ นครปฐม ร่วมกับศูนย์อนามัยเขตค้นหาผู้สูงวัยฟันดีวัย ๘๐ และ ๙๐ ปีระดับเขต และ
จัดทําเกณฑ์คัดเลือกหน่วยงานดีเด่นด้านการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุทุกระดับ
โครงการ / กิจกรรมสําคัญ /เป้าหมายปี ๒๕๕๕
          ๑. ฟันเทียมพระราชทาน ๓๐,๐๐๐ ราย และการประเมินความพึงพอใจร้อยละ ๑๐
วัตถุประสงค์ : แก้ปัญหาการสูญเสียฟันด้วยการใส่ฟนเทียมทดแทน โดยรพ.มหาราช/รพศ./รพท./รพช.
                                                        ั
               ๑) กลุ่มเป้าหมาย : ให้ความสําคัญกับผู้ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปเป็นลําดับแรก หากจังหวัดใด
จัดบริการให้กับผู้สูงอายุที่จําเป็นต้องใส่ฟันเทียมทั้งปากหรือ ๑๖ ซี่ขึ้นไปเต็มพื้นที่แล้ว กลุ่มเป้าหมายรองเป็นผู้ที่
มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป
               ๒) (ร่าง) เป้าหมายเบื้องต้นรายจังหวัดในปี ๒๕๕๕ จํานวน ๓๐,๐๐๐ ราย รายละเอียดใน
websiteฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php
               ๓) การเบิกจ่ายงบฯ บริการ
                    - กรณีผู้รับบริการใช้สิทธิ์บัตรทอง งบฯ ชดเชยค่าบริการทําฟันเทียมสําหรับหน่วยบริการ
จะรวมอยู่ในกองทุนทันตกรรม ซึ่งหน่วยบริการสามารถเบิกจ่ายเงินชดเชยค่าบริการคืนให้กับโรงพยาบาลรายละ
๔,๔๐๐ บาท ผ่านงานประกันสุขภาพ โดยใช้โปรแกรม e- claim รหัส ๙๒๐๓
                    - ผู้รับบริการที่ใช้สิทธิ์สวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ หรือประกันสังคม หน่วย
บริการเก็บค่าบริการ (ขอความอนุเคราะห์ไม่เกิน ๔,๔๐๐ บาท/ราย) ซึ่งผู้รับบริการสามารถนําใบเสร็จรับเงิน
ไปเบิกเงินคืนได้จากกรมบัญชีกลาง หรือสํานักงานประกันสังคม ตามสิทธิ์ของผู้รับบริการ
               หมายเหตุ :
               งบฯ บริการทําฟันเทียมสําหรับหน่วยบริการทีรวมอยู่ในกองทุนทันตกรรม จะนับเฉพาะผู้ที่ใช้สิทธิ์
                                                              ่
บัตรทอง ซึ่งในปี ๒๕๕๕ สปสช.ได้จัดเตรียมสนับสนุนงบฯ ๔๕,๐๐๐ ราย กลุ่มเป้าหมายจึงมี ๒ กลุ่มได้แก่
               - ผู้รับบริการในโครงการฟันเทียมพระราชทานร้อยละ ๘๕ ของเป้าหมายรายจังหวัด
(กรมอนามัยได้กําหนดเป้าหมายเบื้องต้นเท่ากับทุกปีที่ผ่านมา และแยกเป็น ๒ กลุ่มตามรายงานของจังหวัด
ในปีที่ผ่านมา บัตรทองร้อยละ ๘๕ สิทธิ์อื่น ๆ ร้อยละ ๑๕)
               - ที่เหลือเป็นผู้รับบริการใส่ฟันฐานพลาสติกอื่น ๆ ทุกกลุ่มอายุ ซึ่งสปสช.ได้กําหนดเป้าหมาย
เบื้องต้นรายจังหวัดไว้แล้ว
ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.สุปราณี ดาโลดม โทร ๐๘๐-๕๙๔๑๕๐๐ supranee.d@anamai.mail.go.th

         ๒. ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๒๕๐ ชมรม
วัตถุประสงค์ : ลดการสูญเสียฟันด้วยการดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเองและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
              โดยชมรมผู้สูงอายุ
             ๑) ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ ๒๕๐ ชมรม โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมกับศูนย์อนามัยเป็น
                                                                                  ่
รายภาค ๔ ภาค (กําหนดวัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย จํานวนผู้เข้าประชุม ศูนย์อนามัยหรือ
สํานักทันตสาธารณสุขจะแจ้งให้จังหวัดทราบ)
             ๒) งบฯ ดําเนินการสําหรับจังหวัด : จากกองทุนทันตกรรม (งบฯ พัฒนางานส่งเสริมสุขภาพช่อง
ปากและกระตุ้นการจัดบริการระดับจังหวัด) หรือจากกองทุนสุขภาพตําบล หรืองบ ฯ จากแหล่งอื่น ๆ กรณีที่
ชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็งและจัดหางบฯดําเนินงานเอง
         หมายเหตุ :
         รายละเอียดกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก Download ได้จากเว็บไซต์
ฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php
ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.นนทลี วีรชัย โทร ๐๘๐-๙๐๓๓๓๓๙ nontalee.v@anamai.mail.go.th
๓. การจัดบริการส่งเสริมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ๑๐๐ แห่ง
วัตถุประสงค์ : ลดการสูญเสียฟัน ด้วยการจัดบริการส่งเสริมป้องกันในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก
               เป็นรายบุคคล และดูแลเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เน้นการรับบริการใกล้บ้าน โดยโรงพยาบาล
               PCU หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล
             ๑) กลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกสิทธิ์
             ๒) การขยายเครือข่ายบริการ ๑๐๐ แห่ง โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับศูนย์อนามัยเป็นราย
ภาค ๔ ภาค (พร้อมกับขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ ๒๕๐ ชมรม ในข้อ ๒ หัวข้อ ๑) )
             ๓) งบ ฯ ดําเนินการสําหรับจังหวัด : จากกองทุนทันตกรรม (งบฯ การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
และการจัดบริการระดับจังหวัด)
        หมายเหตุ :
        - บริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ประกอบด้วย ๑) การตรวจสุขภาพช่องปาก
๒) การให้คําแนะนํา และ/หรือ การปรับพฤติกรรมเพื่อควบคุมคราบจุลินทรีย์ ๓) การใช้ฟลูออไรด์วานิช
ป้องกันรากฟันผุ ๔) การขูดหินน้ําลายป้องกันเหงือก / ปริทันต์อักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute Periodontitis)
        - กิจกรรมที่ ๑) และ ๒) ดําเนินการได้ทั้งในหน่วยบริการที่มีและไม่มีทันตบุคลากร
        - กิจกรรมที่ ๓) และ ๔) กรณีไม่มีทันตบุคลากร ดําเนินการโดยส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
        (รายละเอียดในคู่มือการดําเนินงานโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์
ทางทันตกรรม Download ได้จากเว็บไซต์ฟันเทียมพระราชทาน
        http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php
ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.วรางคนา เวชวิธี โทร ๐๘๑-๔๐๒๓๐๘๘ warangkana.v@anamai.mail.go.th

        ๔. การบูรณาการในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต และบริบท
ของพื้นที่ โดยครอบคลุมด้านสุขภาพ ทันตสาธารณสุข จิตวิทยา สังคม การดูแลช่วยเหลือในการดํารงชีวิต
และกิจวัตรประจําวัน ซึ่งเป็นการดูแลอย่างต่อเนื่องตามศักยภาพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุแต่ละกลุ่ม
        กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวทั้งในสถานบริการและในชุมชน ได้แก่
                   ๑) มีข้อมูลผู้สูงอายุตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน (Activities of Daily
                      Living : ADL)
                   ๒) มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
                   ๓) มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
                   ๔) มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) โดยบุคลากร
                      สาธารณสุข
                   ๕) มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตําบล ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุด้านการ
                        ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และ/ หรือ บริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์
                   ๖) มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๒ (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๓ (ติดเตียง)
        หมายเหตุ :
           ตําบลเป้าหมายเป็นตําบลที่อยู่ในแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวของสํานักส่งเสริมสุขภาพ
           กรมอนามัย จังหวัดละ ๒ ตําบล
            รายละเอียดการประเมินคุณภาพกิจกรรม “บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตําบล” ในการ
            ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) Download ได้จากเว็บไซต์ฟันเทียมพระราชทาน
          http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php
ข้อมูลเพิ่มเติม
ทพญ.สุปราณี ดาโลดม โทร ๐๘๐-๕๙๔๑๕๐๐ supranee.d@anamai.mail.go.th
ทพญ.นนทลี วีรชัย โทร ๐๘๐-๙๐๓๓๓๓๙ nontalee.v@anamai.mail.go.th
ทพญ.วรางคนา เวชวิธี โทร ๐๘๑-๔๐๒๓๐๘๘ warangkana.v@anamai.mail.go.th

        ๕. การรณรงค์ สร้างกระแส
           - ร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
             วันที่ ๑๙-๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ที่จังหวัดสตูล
           - ร่วมกับมูลนิธิโอสถสภาที่ จ.กําแพงเพชร พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ
           - ร่วมกับจังหวัดและหน่วยงานอื่น ๆ

         ๖. มหกรรมการประชุมวิชาการ เฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา
ครบ ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔
          ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จัดมหกรรมการประชุมวิชาการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
วันที่ ๑๑-๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ ที่โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี กิจกรรมประกอบด้วย
          - การถวายราชสักการะ สดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
         - การบรรยายและการนําเสนอผลงานทางวิชาการ เพื่อเสนอองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์และความจําเป็นด้านสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ แก่ผู้ปฏิบัติงาน นักวิชาการ และแกนนํา
ชมรมผู้สูงอายุ
         - การจัดนิทรรศการด้านการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ โดยภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน
ดีเด่นระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ และระดับตําบล รวมทั้งชมรมผู้สูงอายุดีเด่น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
นวัตกรรม รูปแบบ แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

           ๗. การประกวด “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ และ ๙๐ปี”
           - ระดับประเทศ จัดการประกวดปี ๒๕๕๔ โดยกรมอนามัย ในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕
          - ระดับเขต ค้นหา “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ ปี และ ๙๐ ปี ” โดยศูนย์อนามัยเขตร่วมกับจังหวัดค้นหา
ผู้สูงอายุ ๘๐-๘๙ ปี ๑-๒ ท่าน และอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ๑ ท่าน เข้าร่วมประกวดปี ๒๕๕๕ ในเดือนตุลาคม ๒๕๕๕
        ๘. การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและสูงอายุ
        - ร่วมกับหน่วยงาน/ มูลนิธิ/ ศูนย์อนามัยเขตและจังหวัดที่เกี่ยวข้อง
        ๙. การนิเทศ ติดตาม กํากับและประเมินผล
        - สุ่มนิเทศ ติดตาม ทั้งโดยศูนย์อนามัยเขต และสํานักทันตสาธารณสุข
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555

More Related Content

What's hot

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
กระท่อม
กระท่อมกระท่อม
กระท่อมPattie Pattie
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียPannipa Saetan
 
9789740335597
97897403355979789740335597
9789740335597CUPress
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
ประเทศลาว
ประเทศลาวประเทศลาว
ประเทศลาวAyoDear
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 

What's hot (20)

เตาฮีด(กลาง).Pdf
เตาฮีด(กลาง).Pdfเตาฮีด(กลาง).Pdf
เตาฮีด(กลาง).Pdf
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
กระท่อม
กระท่อมกระท่อม
กระท่อม
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
9789740335597
97897403355979789740335597
9789740335597
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
ประเทศลาว
ประเทศลาวประเทศลาว
ประเทศลาว
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 

Viewers also liked

สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขTee Dent
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะหลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะกระทรวงศึกษาธิการ
 
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...Numfon Jongwilaikasam
 
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กKamolchanok Thocharee
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003charinruarn
 
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพเกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพKraisee PS
 
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, NakhonchaiburinAutonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, NakhonchaiburinSurasit Chitpitaklert
 
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Rattikan Kanankaew
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" Asina Pornwasin
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากBallista Pg
 

Viewers also liked (20)

สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุข
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คค
 
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะหลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
 
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
 
คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003
 
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพเกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
 
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, NakhonchaiburinAutonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
 
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
1. ______-__p_22
1.  ______-__p_221.  ______-__p_22
1. ______-__p_22
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to การดำเนินงานทันตปี2555

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔weskaew yodmongkol
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53Yumisnow Manoratch
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...cmucraniofacial
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูsupraneemahasaen
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูsupraneemahasaen
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 

Similar to การดำเนินงานทันตปี2555 (20)

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 

More from dentalfund

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕dentalfund
 
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554dentalfund
 
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยdentalfund
 
แนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจแนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจdentalfund
 
แนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตแนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตdentalfund
 
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีแนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีdentalfund
 
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกแนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกdentalfund
 
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากการประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากdentalfund
 
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.dentalfund
 
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตองค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตdentalfund
 
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศdentalfund
 

More from dentalfund (11)

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
 
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
 
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
 
แนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจแนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจ
 
แนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตแนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสต
 
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีแนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
 
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกแนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
 
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากการประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
 
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
 
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตองค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
 
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
 

การดำเนินงานทันตปี2555

  • 1. คํานํา สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดีช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปาก จะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้น เราจึงจําเป็นต้องดูแลสุขภาพในช่องปากให้สมบูรณ์ ซึ่งในปัจจุบัน แนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกําจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่ม และคงสภาพที่ดีไว้ นั่นคือ ให้ความสําคัญในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ซึ่งดีกว่าการรักษาเพราะ กระทําในสภาพปกติ ไม่ก่อให้เ กิด ความเจ็บ ปวด ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานในการปวดฟัน ไม่ต้องยุ่งยาก ไม่ เสียเวลาในการรักษา ไม่ต้องเสียเงินค่ารักษาและที่สําคัญคือไม่ต้องสูญเสียฟัน การส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย โดยเฉพาะพฤติกรรมการทําความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภคอันเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรค ฟันผุ เหงือกอักเสบ การสํารวจทันตสุขภาพระดับจังหวัดปี 2554 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 56.6 เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปี ฟันผุร้อยละ 51.5 เฉลี่ยผุถอนอุด 1.5 ซี่ / คน เหงือกอักเสบร้อยละ 40.3 นับ อยู่ในเกณฑ์ทดีขึ้น ซึ่งส่งผลต่อการสูญเสียฟันบางส่วนหรือทั้งปากในที่สุด ในขณะที่ผู้สูงอายุพบว่ามีฟันใช้เคี้ยว ี่ อาหาร (4คู่สบทั้งฟันแท้และฟันเทียม) ร้อยละ ๕๒ (ข้อมูลจากการสํารวจฯในปี ๒๕๕๓) การดําเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคของสํานักทันตสาธารณสุข ดําเนินตามวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์กรมอนามัย โดยกําหนดวิสัยทัศน์ของสํานักทันตสาธารณสุขคือการเป็นองค์กรหลักในงาน ทันตสาธารณสุขของประเทศ เน้นการทํางานแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีทุกช่วงวัยของชีวิต มีกลยุทธ์หลักการดําเนินงานคือเน้นการทํางานแบบมีส่วนร่วมของ ภาคีเครือข่าย มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการ เปลี่ยนแปลง สร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ลงทุนเพื่อการพัฒนา โครงสร้ า งพื้ น ฐานและระบบงานให้ ไ ด้ ม าตรฐานและสอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ ก ร ตลอดจนพั ฒ นา กระบวนการ กําหนด และบริหารนโยบายสาธารณะและกฎหมายเพื่อการพัฒนาทันตสุขภาพของประเทศ ทั้งนี้ ได้แบ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็น กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีทางทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยี ทางทันตสุขภาพวัยทํางานและผู้สูงอายุ กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ กลุ่มพัฒนาระบบ ทันตสาธารณสุข และกลุ่มพัฒนาความร่วมมือด้านทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ มกราคม 2555
  • 2. สารบัญ หน้า คํานํา การพัฒนาสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน ๑ การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริม ๑๐ สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๕ คุ้มครองผู้บริโภค: มาตรฐานพื้นฐานของการดูแลสุขภาพ 17 พัฒนาระบบทันตสาธารณสุข 27 บริหารยุทธศาสตร์ 34 ภาคผนวก โครงสร้างของสํานักทันตสาธารณสุข ตารางตัวชี้วัดทันตสาธารณสุข
  • 3. การพัฒนาสุขภาพช่องปาก หญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน การพัฒนาสุขภาพช่องปาก หญิงตั้งครรภ์ เด็ก และเยาวชน เพื่อส่งเสริมและป้องกันผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นกับคุณภาพชีวิต ตลอดจนพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กและเยาวชน กุญแจสําคัญคือ การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ซึ่งการวิจัย และพัฒ นา รูปแบบ/ต้นแบบ/เทคโนโลยี/นวัตกรรม รวมทั้งการจัดทําคู่มือ/แนวทาง/มาตรฐาน/มาตรการต่างๆ อันเป็น ภารกิจที่สํานักทันตสาธารณสุขดําเนินการมาอย่างต่อเนื่อง แม้จะสามารถก่อให้เกิดสิ่งดีๆและความสําเร็จเล็กๆ กระจัดกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ หากแต่ไม่สามารถนําพาผู้คนส่วนใหญ่ให้บรรลุเป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่คาดหวัง โจทย์ห ลักคือ การใช้กลยุ ทธ์เ ครือข่า ยในทุกระดับ อย่า งมีป ระสิทธิภ าพ เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการ จัดบริการทัน ตสุขภาพ(ทั้งทางตรงและทางอ้อม) หนุน เสริมให้เ กิด การเรียนรู้และพัฒ นาทักษะการทํา งาน ร่วมกันของกลุ่มผู้รับ ผลประโยชน์ และการดูแลสุขภาพช่องปากของกลุ่มเป้าหมายสํา คัญ ภายใต้หลักการ “คืนสุขภาพสู่มือเจ้าของ” การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย สถานการณ์สุขภาพช่องปากปี ๒๕๕๔ ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปากและคําแนะนําร้อยละ ๘๖.๙ * ๒. เด็กอายุ ๓ ปีปราศจากฟันผุ ร้อยละ ๔๓.๔ ** ๓. ผู้ปกครองเด็ก ๙-๑๒ เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟัน ร้อยละ ๕๘.๖ * ๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ ๙๖.๕ ** ๕. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อย ๓ ใน ๕ วัน ร้อยละ ๘๔.๐ ** แหล่งข้อมูล * ท ๐๑ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔ ** ท ๐๒ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔ แนวคิดและหลักการป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัย กรมอนามัย รับผิดชอบการพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ภายใต้โครงการ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว โดยมีกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งในชุดบริการเพื่อ การดูแลกลุ่มเป้าหมายนี้ โรคในช่ อ งปากที่ มี โ อกาสพบมากในหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ คื อ เหงื อ กอั ก เสบ โรคปริ ทั น ต์ และโรคฟั น ผุ การศึกษาในปี ๒๕๕๓ พบว่า หญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ยคนละ ๖.๖ ซี่ ร้อยละ ๙๐.๔ มีเหงือกอักเสบ การ ตรวจและให้คําแนะนํา รวมถึงให้บริการขูดหินน้ําลาย ช่วยลดอัตราการเกิดเหงือกอักเสบในหญิงตั้งครรภ์ลงได้ กว่าครึ่ง (สํานักทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๓) สําหรับเด็กปฐมวัย ข้อมูลจากการสํารวจทันตสุขภาพแห่งชาติ และการสํารวจรายปีตามระบบเฝ้า ระวังของสํานักทันตสาธารณสุข พบความชุกของโรคฟันผุ ในเด็กอายุ ๓ ปี ร้อยละ ๖๑.๔ ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด ๓.๒ ซี่ต่อคน (กองทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๐) แม้ว่าในภาพรวมของประเทศ เด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๓ และ ๕ ปี จะมีความชุกของการเกิดโรคฟันผุลดลงเล็กน้อย แต่ชัดเจนเฉพาะในเขตเมืองเท่านั้น การแปรงฟันร่วมกับ
  • 4. การใช้ยาสีฟัน ที่มีฟลูออไรด์ช่วยป้องกัน การก่อตัว ของเชื้อโรคที่เ ป็นปัจ จัย หลักของการเกิด โรคฟัน ผุ และ สามารถหยุดยั้งหรือชะลอการเกิดโรคฟันผุในระยะเริ่มแรกได้ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจฟันและผู้ปกครอง ได้รับคําแนะนําหรือฝึกแปรงฟัน จะได้รับการแปรงฟันมากกว่าเด็กที่ไม่ได้รับบริการอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ อย่างไรก็ต าม ผู้ปกครองมักเริ่มแปรงฟันให้เ ด็กค่อนข้างช้า พ่อแม่ที่เริ่มแปรงฟันให้เ ด็กตั้งแต่ฟัน เริ่มขึ้น (๖ เดือน) มีเพียงร้อยละ ๒๘.๙ ขณะที่เริ่มแปรงฟันครั้งแรกเมื่อเด็กเดินได้ (๑ ขวบ) ร้อยละ ๓๒.๖, เมื่อเด็ก ตักข้าวกินเองได้ (๒ ขวบ) ร้อยละ ๑๒.๗, เมื่อเด็กวิ่งได้ (๑ ขวบครึ่ง) ร้อยละ ๑๐.๙ (ABAC Poll ๒๕๕๔) โดยภาพรวม อายุเฉลี่ยที่เด็กเริ่มได้รับการแปรงฟันคือ ๑๓.๘ เดือน (สํานักทันตสาธารณสุข, ๒๕๕๓) ทั้งนี้ เด็ก ปฐมวัยสามารถแปรงฟันเองได้สะอาดเมื่อมีอายุประมาณ ๗-๘ ปี เด็กกลุ่มนี้ยังต้องมีผู้ปกครองเป็นผู้ดูแล จึง ต้องมีมาตรการทางสังคมเพื่อสนับสนุนทักษะของผู้ปกครอง และปรับทัศนคติของผู้ปกครองให้สามารถจัดการ แปรงฟันให้เด็กได้อย่างสม่ําเสมอและมีคุณภาพ ด้านการบริโภค การรับประทานน้ําตาลมากกว่า ๒-๔ ครั้งต่อวัน จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ ปัญหาเรื่องการบริโภค เป็นประเด็นองค์รวมที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน ฟันผุ และการสูญเสียทางเศรษฐกิจ การใช้ มาตรการทางสุขศึกษาเพื่อปรับพฤติกรรมบริโภคมักไม่ค่อยได้ผล แต่มาตรการด้านนโยบายและการจัดการ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กจะได้ผลดีกว่า ด้านการเข้าถึงบริการ เด็กอายุต่ํากว่า ๕ ปี ได้รับบริการน้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ การสํารวจทันตสุขภาพ แห่งชาติปี ๒๕๕๐ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีค่า เฉลี่ยฟันผุถอนอุด ๓.๒๑ ซี่ต่อคน ซึ่งร้อยละ ๙๘.๑ หรือ ๓.๑๕ ซี่ต่อคนเป็นฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา การสํารวจฯปี ๒๕๕๔ พบว่า ร้อยละ ๕๑.๗ ของเด็ก ๓-๔ ปี ในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก เคยได้ รั บ บริ ก ารตรวจสุ ข ภาพช่ อ งปาก, ร้ อ ยละ ๓๔.๒ ได้ รั บ การทาฟลู อ อไรด์ เพื่อป้องกันฟันผุ, ร้อยละ ๔.๖ ได้รับการถอนฟัน และเพียงร้อยละ ๘.๖ เคยได้รับการบูรณะฟัน สถานการณ์การทํางานปี ๒๕๕๔ ในปี ๒๕๕๓-๕๔ สํานักทันตสาธารณสุข จัดการประกวดเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ดีเด่นด้าน การส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็ก เพื่อกระตุ้นให้โรงพยาบาลและเครือข่ายมีความตื่นตัวในการดําเนินงาน เกิดแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เป็นแนวทางการพัฒนางานและนําไปสู่เป้าหมายเด็กไทยฟันดีถ้วนหน้า ในปี ๒๕๕๔ มี การจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CUP ดีเด่นที่ได้รับรางวัลในปี ๒๕๕๓ มีข้อสรุปคือ ๑) เกณฑ์การประเมินในการประกวด CUP ดีเด่น ช่วยเป็นแนวทางให้พื้นที่พัฒนางานได้อย่างเป็นระบบ และครบทุกด้าน ทั้งด้านการบริหารจัดการ การให้บริการ และการวัดผลงาน ๒) งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ มีการพัฒนาความร่วมมือกับฝ่ายอื่นๆมากขึ้น และมีการ จัดระบบเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมารับบริการมากขึ้น ๓) เกิดระบบการพัฒนาร่วมกันในระดับเขต (ศูนย์อนามัย) ๔) มีการพัฒนาชัดเจนเรื่องการจัดบริการ แต่ในด้านการวัดผลลัพธ์ที่เกิดกับกลุ่มเป้าหมาย ยังต้องมีการ พัฒนาต่อไป ในปี ๒๕๕๓-๕๔ จัดทําโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในชุมชน ร่วมกับพื้นที่ ๙ จังหวัด เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของ อสม. และชุมชนในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ๐-๒ ปี ผลการดําเนินงาน พบว่า อสม.ที่ได้รับการอบรม สามารถตรวจความสะอาดช่องปากเด็ก ฝึกผู้ปกครองแปรงฟัน และให้คําแนะนํา การบริโภคอาหาร และพื้นที่ที่มีการเฝ้าระวังต่อเนื่องทุก ๓ เดือน เด็กจะมีฟันสะอาดขึ้น มีพฤติกรรมบริโภคดี ขึ้น และมีแนวโน้มฟันผุลดลง
  • 5. ในปี ๒๕๕๔ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ร่วมกับกรมอนามัย และสํานักงานสนับสนุน การสร้า งเสริมสุขภาพ จัด ให้มีการรณรงค์ส ร้า งกระแสภายใต้กองทุน ทัน ตกรรมเพื่อกระตุ้น ให้ผู้ป กครอง ตระหนักถึงความสําคัญและแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ํานมซี่แรกขึ้น การรายงานจาก ๔๒ จังหวัด พบว่า มี ส ถานบริ ก ารร่ ว มดํ า เนิ น การ ๑,๑๙๑ จุ ด เด็ ก และผู้ ป กครอง ได้ รั บ การฝึ ก แปรงฟั น ๑๐๗,๓๙๗ คน เป็นที่คาดหวังว่าหากผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น จะช่วยป้องกันไม่ให้เด็กฟันผุ หรือช่วยชะลอ การเกิดฟันผุให้ช้าลง วัตถุประสงค์ ๑) สนับสนุนองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ๒) รณรงค์สร้างกระแสในสังคม เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสําคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลาน และเพื่อสนับสนุนการทํางานของพื้นที่ ๓) สนับสนุนความเข้มแข็งของเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ๔) สนับสนุนให้มีระบบบริการทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ ครอบคลุมในกลุ่มเด็กปฐมวัย เป้าหมายการดําเนินงานปี ๒๕๕๕ เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ เด็กอายุ ๓ ปี ปราศจากฟันผุไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๑ ตัวชี้วัด ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปากและคําแนะนํา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ๒. เด็กอายุ ๙-๑๒ เดือนได้รับการตรวจช่องปาก และผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๕ ๓. เด็กอายุ ๑๘ เดือน ปราศจากฟันผุ ๔. เด็กอายุ ๑๘ เดือน ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๕. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๙๕ ๖. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก ๓-๕ วัน/สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ กิจกรรมสําคัญปี ๒๕๕๕ ๑. พัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ในสถานบริการ ๑) ตรวจช่องปากหญิงตั้งครรภ์ ให้คําแนะนํา และให้บริการตามความจําเป็น ๒) ตรวจช่องปากเด็ก ๙-๑๒ เดือน ประเมินความเสี่ยงต่อฟันผุ ให้คําแนะนํา กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ทาฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุและติดตามทุก ๖ เดือน และฝึกผู้ปกครองแปรงฟัน ๓) ตรวจช่องปากเด็ก ๑๘ เดือน และเก็บข้อมูลสภาวะปราศจากฟันผุ และการแปรงฟันก่อนนอนตาม ระบบเฝ้าระวัง ในชุมชน ทํางานร่วมกับชุมชนและ อสม. ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย ๑) ค้นหาเด็กที่มีความเสี่ยงสูง (หมายถึงเด็กที่มีฟันหน้าบนไม่สะอาด มีรอยขุ่นขาว หรือมีฟันผุ และ เด็กบริโภคหวาน) ๒) ให้คําแนะนําเรื่องการบริโภคหวาน และฝึกแปรงฟัน ๓) ติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสุขภาพช่องปาก
  • 6. ๔) นําเสนอข้อมูลต่อผูมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหา ้ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑) ตรวจช่องปากเทอมละ ๑ ครั้ง ๒) จัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวันหลังอาหารกลางวัน ๓) ส่งเสริมให้มีการจัดผลไม้เป็นอาหารว่างอย่างน้อย ๓ ใน ๕ วันต่อสัปดาห์ ๒. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ๑) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนพื้นที่ที่ได้รับการคัดเลือกเป็น CUP ดีเด่นการทํางาน ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ๒) ปรับปรุงคู่มือการดําเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ๓. รณรงค์สร้างกระแส ๑) ประกวด CUP ดีเด่นด้านการดําเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็กปีที่ ๓ กิจกรรม ประกอบด้วย - ประชุมศูนย์อนามัยเพื่อปรับปรุงเกณฑ์การประกวดและจัดทําแผนการดําเนินงานปี ๒๕๕๕ - ประชาสัมพันธ์การดําเนินงาน - ดําเนินการประกวด - สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดคัดเลือกและส่ง CUP ที่จะเข้าประกวดไปยังศูนย์อนามัย ภายใน เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ - ศูนย์อนามัยส่งรายชื่อ CUP ดีเด่นระดับเขต ๓ รางวัล (รางวัลที่ ๑, ๒, ๓) ที่ชนะการ ประกวดมายังสํานักทันตสาธารณสุข ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ - สํานักทันตสาธารณสุขมอบรางวัล CUP ที่ชนะการประกวด - ผู้ได้รับรางวัลที่ ๑ รับโล่ประทานจากพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ๒) รณรงค์สร้างกระแสภายใต้กองทุนทันตกรรม “ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก” กลุ่มเป้าหมายของการรณรงค์ ในปี ๒๕๕๕ ได้แก่เด็กปฐมวัย โดยมีเป้าหมายให้ผู้ปกครองแปรงฟันให้ เด็กทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ รายละเอียดของกิจกรรม อยู่ระหว่างการพัฒนาร่วมกับ สปสช. ๔. จัดทําฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย ๑) สํารวจฟันผุในเด็ก ๓ ปี ประจําปี และรายงานผลการดําเนินงานเพื่อการประเมินผล ๒) สํารวจสถานการณ์การแปรงฟันและพฤติกรรมบริโภคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓) รวบรวมข้อมูลผ่านทางระบบรายงาน (ท ๐๑) และระบบสํารวจ/เฝ้าระวัง (ท ๐๒)
  • 7. การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนและเยาวชน สถานการณ์สุขภาพช่องปากปี ๒๕๕๔ ๑. เด็กอายุ ๑๒ ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ ๔๘.๕ ๒. ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด ของเด็กอายุ ๑๒ ปี ๑.๕ ซี/คน ่ ๓. เด็กอายุ ๑๒ ปี ไม่มีเหงือกอักเสบ ร้อยละ ๕๙.๗ ๔. โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ร้อยละ ๙๕.๙ ๕. โรงเรียนปลอดน้ําอัดลม ร้อยละ ๘๑.๗ ๖. เด็กชั้น ป.๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ๑๗๖,๒๖๓ ราย เด็กชั้น ป. ๖ ๘๘,๔๑๒ ราย แหล่งข้อมูล * ท ๐๑ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔ **ท ๐๒ สํานักทันตสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔ *** ค่าร้อยละคํานวณจากฐานประชากรปี ๒๕๕๓ แนวคิดและหลักการป้องกันฟันผุในเด็กวัยเรียน ปั ญ หาทั น ตสุ ข ภาพที่ เ ป็ น ปั ญ หาหลั ก ของเด็ ก วั ย เรี ย น คื อ โรคฟั น ผุ ข้ อ มู ล จากระบบเฝ้ า ระวั ง ทันตสุขภาพของสํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งของเด็กวัยเรียน (ร้อยละ ๕๒) มีโรคฟันผุ (เด็ก ป. ๖ เป็นกลุ่มอายุดัชนีที่ใช้ในการติดตามเฝ้าระวัง)1 เด็กประถมศึกษาเป็นช่วงวัยสําคัญ ในการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพและพั ฒ นาพฤติ ก รรมที่ เ หมาะสม องค์ ก ารอนามั ย โลกออกข้ อ แนะนํ า ในเรื่ อ ง การส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนเป็นกลยุทธ์สําคัญ ด้วยแนวคิด “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๐ และ ประเทศไทยนําแนวคิดดังกล่าวมาดําเนินการตั้งแต่ ปี ๒๕๔๕ มีการกําหนดองค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพของประเทศไทย โดยใช้เงื่อนไขบริบทในประเทศและกําหนดไว้ ๑๐ องค์ประกอบ ซึ่งแม้ว่าจะไม่มี องค์ประกอบเฉพาะด้านทันตสุขภาพ หากแต่ปัจจัยเสี่ยงสําคัญได้รับการกําหนดเป็นตัวชี้วัดใน ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ - องค์ประกอบที่ ๕ บริการอนามัยโรงเรียน ประกอบด้วย ๔ ตัวชี้วัด คือ - นักเรียนชั้น ป.๕ ขึ้นไป ตรวจสุขภาพด้วยตนเองภาคเรียนละ ๑ครั้ง - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดย บุคลากรสาธารณสุขหรือครู อย่างน้อยปี ละ ๑ ครั้ง - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ไม่มีฟันแท้ผุ (ฟันที่ได้รับการอุดหรือแก้ไขแล้ว ถือว่าไม่ผ)ุ - นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ ไม่มีภาวะเหงือกอักเสบ - องค์ประกอบที่ ๖ สุขศึกษาในโรงเรียน ตัวชี้วัดคือ นักเรียนชั้น ป.๑-ป.๖ แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ทุกวัน ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ - องค์ประกอบที่ ๗ โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัดคือ ไม่มีการจําหน่ายอาหารที่มีผลเสียต่อ สุขภาพ เพื่อทําให้การดําเนินงานประสบความสําเร็จตามเป้าหมายทันตสุขภาพของเด็ก การปรับแนวคิดและ แนวทางการดํ า เนิ น งานให้ เ ป็ น ระบบ โดยผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยเข้ า มี ส่ ว นร่ ว มในการคิ ด และทํ า โดยระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนจึงจะสามารถจัดการกับปัญหาฟันผุในเด็กวัยเรียนอย่างได้ผล และยั่งยืน 1 เด็ก ป.๖ จะมีอายุประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีฟันแท้ขึ้นครบ ๒๘ ซี่ และเป็นช่วงอายุสดท้ายขงการศึกษาภาคบังคับ ซึ่ง ุ จะสะท้อนถึงผลกระทบที่เกิดจากการทํางานส่งเสริมป้องกันในโรงเรียนตลอดระยะ ๖ ปีของการศึกษาภาคบังคับ
  • 8. จากการทบทวนและสรุ ป บทเรี ย นการทํ า งานที่ ผ่ า นมา กลยุ ท ธ์ สํ า คั ญ คื อ การปรั บ ให้ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ทัน ตสุ ข ภาพเป็ น ส่ ว นหนึ่ง ของวิ ถีชี วิต ครูแ ละนั กเรี ย น โดยช่ อ งทางสํ า คั ญ ได้แ ก่ การบูร ณาการเข้า กั บ การจั ด การเรี ย นรู้ ห รื อ ระบบการเรี ย นการสอนในโรงเรี ย น ในขณะเดี ย วกั น จะต้ อ งบู ร ณาการเข้ า กั บ การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของเด็ก ในโรงเรียนโดยใช้แนวทางของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทั้งนี้ ไม่เพียงแต่ดําเนินการในลักษณะที่ครอบคลุม ทั่ว ประเทศเท่ า นั้ น หากแต่ จ ะต้ อ งศึก ษาและพั ฒ นาเพื่ อให้ เ กิด ความชั ด เจนในรู ป แบบและแนวทางที่ จ ะ ดําเนินการต่อไปในภายภาคหน้า เพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์ที่แปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว พร้อมกันนี้ ยังต้อง จัดการให้เกิดการดูแลทันตสุขภาพอย่างครบวงจร ตั้งแต่การส่งเสริมทันตสุขภาพ การป้องกันโรคในช่องปาก และการให้บริการทันตสุขภาพที่มีคุณภาพครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความจําเป็นของ นักเรียนได้โดยสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และระบบบริการสุขภาพโดยรวม ทั้งนี้ สํานักทันตสาธารณสุข ได้พัฒนางาน/โครงการเพื่อให้สามารถจัดการกับปัจจัยสําคัญทางทันตสุขภาพ ดังแสดงในภาพที่ ๑ ภาพที่ ๑ กรอบแนวคิดการพัฒนาทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน กระบวนการทํางานหลักของการพัฒนา ใช้แนวคิดการดําเนินงานการขยายผลด้วยหลักการจาก โรงเรียนแต่ละโรงเรียน ไปสู่การพัฒนาเป็น node และเครือข่าย ซึ่งจะทําให้โรงเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้มาตรฐานและครอบคลุม (individual, node, network) ภาพที่ ๒ แนวคิด INN model (ภาพจาก http://www.wasi.or.th )
  • 9. ตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ เป็นต้นมา มีการจัดประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านทันตสุขภาพโดยกําหนดเป็นหมวด ประเด็นสําคัญที่นําสู่ทันตสุขภาพของเด็ก ๓ หมวดหลัก คือ กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟัน ผสมฟลูออไรด์ กิจกรรมการบูรณาการการเรียนรู้ทันตสุขภาพในหลักสูตรและกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ โดยสนับสนุนให้โรงเรียนดําเนินการตามหลักการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งในแต่ละปี ศูนย์อนามัยเขตและกองทันตสาธารณสุข กทม.จะคัดเลือกโรงเรียนที่ชนะการประกวด เพื่อเป็นโรงเรียนดีเด่น ระดับประเทศปีละ ๓๙ โรงเรียน การให้ศูนย์อนามัยเขตคัดเลือกเพื่อให้มีการกระจายโรงเรียนที่มีศักยภาพเป็น แกนนํา กระจายทั่ว ทุกภูมิ ภ าค การประกวดเป็น โรงเรีย นเดี่ย วดํา เนิน การต่อเนื่ อง ๓ ปี และเริ่มเข้า สู่ กระบวนการพัฒนา node โดยเริ่มให้มีการประกวดเป็น “คู่หูโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพ” ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ เป็นระยะ ๓ ปี ในขณะเดียวกัน ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๐ สํานักทันตฯได้พัฒนาโครงการ “เรียนรู้คู่วิจัย” ที่คาดหวังให้ เกิดการพัฒนาทันตสุขภาพด้วยเด็กนักเรียนเอง ทําให้เกิดโรงเรียนที่สามารถเป็นแกนนําเพื่อพัฒนาต่อเนื่องจาก การประกวดทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ รวมกับโครงการเรียนรู้คู่วิจัย กว่า ๑,๐๐๐ โรงเรียน ในช่วงปี ๒๕๕๑ จึงเริ่มพัฒนาก่อรูปให้เกิดเครือข่าย(network)โรงเรียนเด็กไทยฟันดี โดยมีกระบวนการพัฒนาสนับสนุน เพื่อให้เกิดเครือข่ายฯตัวอย่างกระจายทั่วประเทศ การประกวดคู่หูโรงเรียนทันตสุขภาพดําเนินการคู่ขนานกับ การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนฯ และเข้าสู่ระยะการขยายผลในปี ๒๕๕๔ สถานการณ์การทํางานปี ๒๕๕๔ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ การพัฒ นาการส่งเสริมสุขภาพในเด็กประถมศึกษามีการพัฒ นาต่อภายใต้ โครงการหลัก คือ เครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพ โดยตั้งเป้าหมายให้เกิดเครือข่ายในทุกจังหวัดอย่าง น้อยจังหวัดละ ๑ เครือข่าย และจัดทําให้เกิดเกณฑ์การพัฒนาเครือข่ายขึ้น เพื่อให้เป็นเกณฑ์สําหรับการ ดํา เนิน งานภายในเครือข่า ยฯ ซึ่งมีเ ป้า หมายเพื่อให้บ รรลุทั น ตสุขภาพของเด็กนักเรีย นโดยใช้ตัว ชี้วัด การ ดําเนินงานเป็นเป้าหมายรายทางในการดําเนินงาน ซึ่งพบว่า แต่ละจังหวัดได้ร่วมพัฒนาให้เกิดเครือข่ายขึ้น ในทุกจังหวัดและจะได้มีการขยายผลในระดับ CUP ต่อไป ความสําเร็จประการสําคัญอีกประเด็น คือ ในปี ๒๕๕๔ มีการเสนอให้ สภาวะโรคฟันผุของเด็กนักเรียน เป็นเกณฑ์บังคับในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยข้อกําหนดเกณฑ์ คือ ร้อยละเด็กไม่มีฟันผุ (กําหนด เด็กประถมศึกษาปีท๖ ร้อยละ ๔๕ และเด็กมัธยมศึกษาปีท๓ ร้อยละ ๓๕) โดยจะต้องไม่มีเด็กที่มีฟันแท้ถูก ี่ ี่ ถอน และมีการตกลงให้ปรับเปลี่ยนเกณฑ์เป็นร้อยละเด็กปราศจากโรคฟันผุ (caries free) ในปี ๒๕๕๖ งานวิจัยที่สําคัญชิ้นหนึ่งที่ดําเนินการและจะนําไปใช้เพื่อการขยายผลในปี ๒๕๕๕ คือ พัฒนาระบบ จัดการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากและปัจจัยเสี่ยงสําคัญของประชาชนไทยในระดับจังหวัด (เป็น การวิจัยซึ่งผ่านการพิจารณาจากสภาวิจัย) ซึ่งดําเนินการร่วมกับพื้นที่วิจัย ๗ จังหวัด ได้ข้อสรุปอายุดัชนีในการ เฝ้าระวัง ๔ กลุ่มอายุ ด้วยกัน คือ การเกิดโรคฟันผุใน กลุ่มเด็กปฐมวัยกําหนดกลุ่มอายุดัชนีที่อายุ ๑๘ เดือน กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มอายุ ๓ ปี กลุ่มวัยเรียน กลุ่มอายุ ๑๒ ปี และการเฝ้าระวังจํานวนฟันที่เหลืออยู่ใน ช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งคู่มือ แบบฟอร์ม แนวทางและโปรแกรมประมวลผลข้อมูลเผยแพร่บน website สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย การสนับสนุนนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกลุ่มเด็กนักเรียน คือ นโยบายโรงเรียนปลอด น้ําอัดลม ซึ่งกําหนดให้เป็นตัวชี้วัดสําคัญที่นําสู่ผลลัพธ์ด้านสุขภาพช่องปากของเด็ก และขับเคลื่อนในกลุ่มผู้ กํา หนดนโยบายของกระทรวงศึ กษาธิก าร ภายใต้ ชื่อ “สพป.อ่อ นหวาน” ผลการดํา เนิน งานในปี ๒๕๕๔ มี สพป. สมัครขอรับการประเมินทั้งสิ้น ๗๕ แห่งและผ่านการประเมิน ๒๒ แห่ง รวมทั่วประเทศระยะ ๓ ปี จํานวน ๖๐ เขตพื้นที่การศึกษา
  • 10. นอกจากนี้ เพื่อขยายความครอบคลุมในการดูแลทันตสุขภาพของเด็กในโรงเรียน ปี ๒๕๕๔ เริ่มให้มี การประกวดเกมทันตสุขภาพ ที่ช่วยพัฒนาศักยภาพในการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ของเด็กประถมศึกษา และเกิดสื่อเพือการเรียนรู้ให้กับเด็กอนุบาลเป็นจุดเริ่มต้นในการดําเนินงานในเด็กอนุบาล มีผู้ส่งประกวดทั้งสิ้น ่ ๒๒ ทีม และมีการคัดเลือกผู้ได้รับรางวัล ๘ ทีม เป้าหมายการดําเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๕๕ เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ เด็กอายุ ๑๒ ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ ๔๕ (สําหรับจังหวัดที่ร้อยละปราศจากฟันผุถึงร้อยละ ๔๕ แล้ว ให้เพิ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑) ตัวชี้วัด 1. โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน(ร้อยละ ๙๒) 2. โรงเรียนประถมศึกษาไม่มีการจําหน่ายหรือจัดน้ําอัดลมให้แก่เด็ก (ร้อยละ ๘๐) 3. เด็ก ป.๑ ได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากและบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (ร้อยละ ๗๐) 4. เด็ก ป.๑ ได้รับการบริการเคลือบหลุมร่องฟัน (ร้อยละ ๕๐) 5. เด็ก ป.๖ ได้รับการบริการเคลือบหลุมร่องฟัน (ร้อยละ ๒๐) 6. เด็ก ป.๑ ได้รับการบริการผสมผสานอย่างสมบูรณ์ (Comprehensive care) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของเด็ก ป.๑ ที่ได้รับการตรวจฟัน กิจกรรมสําคัญปี ๒๕๕๕ ๑. พัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน ในสถานบริการ ๑) จัดระบบ (งานตั้งรับและการจัดหน่วยเคลื่อนที่) เพื่อให้บริการทันตกรรมป้องกันและการบริการ อย่างสมบูรณ์แก่เด็กประถมศึกษา (ป.๑) ตามตัวชี้วัดกองทุนทันตกรรม ๒) จัดระบบการบริการเพื่อตอบสนองการดูแลสุขภาพช่องปากวัยเรียนอย่างเหมาะสม (จัดสรรเวลา สําหรับกลุ่มอายุสําคัญและเด็กกลุ่มอื่นๆ) ในชุมชน ๑) สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน/อปท. รวมทั้งผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมใน โรงเรียน ๒) สร้างกระแสให้ชุมชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อทันตสุขภาพ ๓) ขับเคลื่อนกระแสให้ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กต่อเนื่องที่บ้าน ในโรงเรียน ๑) สนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนผ่านกระบวนการเครือข่ายฯ ๒) ช่วยพัฒนาและเผยแพร่นวัตกรรมที่เกิดขึ้นในโรงเรียนเพื่อให้เกิดการขยายผล ๒. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ๑) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อสรุปการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทํางานในทุกระดับ (ภายใน เครือข่ายโรงเรียน, ระดับภาค และระดับประเทศ) ๒) จัด การอบรมและประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒ นาความรู้พื้นฐานและเทคโนโลยี ในการทํา งานแก่ เครือข่าย
  • 11. ๓. รณรงค์สร้างกระแส ๑) มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับประเทศ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมมากกว่า ๕๐๐ คนทั่วประเทศ ๒) ประกวดเกมทันตสุขภาพ ๔. การจัดทําฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ๑) ติดตามข้อมูลผ่านระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ ๒) รวบรวมข้อมูลจากระบบรายงานปกติ (๑๘ แฟ้ม+๑๒ แฟ้ม) ที่เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน ๓) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องในประเด็นที่เป็นปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลสาธารณะ ๔) update ฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในวัยเรียน รายชื่อบุคลากรในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพเด็กและเยาวชน โทร : ๐-๒๕๙๐-๔๒๐๔, ๐-๒๕๙๐-๔๒๐๘, ๐-๒๕๙๐๔๒๐๙ www.yimsodsai.com, www.sweetenough.in.th หัวหน้ากลุ่ม : ทพญ.วราภรณ์ จิระพงษา warajira@gmail.com งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ผู้ประสานงาน : ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ uchantana@gmail.com ทพญ. ศรีสุดา ลีละศิธร srisuda.l@anamai.mail.go.th ทพญ.เมธินี คุปพิทยานันท์ kupitanant@yahoo.com ทพญ.สุพรรณี ศรีวิริยะกุล ssreviriyakul@yahoo.com นางสุรางค์ เชษฐพฤนธ์ ccsurang@gmail.com นางสุภาวดี พรหมมา psupawade@gmail.com นางเขมณัฐ เชื้อชัยทัศน์ kcmanat48@gmail.com งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนและเยาวชน ผู้ประสานงาน : ทพญ. ปิยะดา ประเสริฐสม pprasertsom@gmail.com ทพญ. กันยา บุญธรรม Kanya_bt@yahoo.com ทพญ.สุวรรณา เอื้ออรรถการุณ suwannadt@yahoo.com นางผุสดี จันทร์บาง pussadec@gmail.com นางปราณี เหลืองวรา pnevara@gmail.com นางขนิษฐ์ รัตนรังสิมา khanitrat@gmail.com นางอังศณา ฤทธิ์อยู่ sana1406@gmail.com เจ้าหน้าที่เครือข่ายรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานและโครงการอื่น นางสาวณัฐยา ชัยชาญ kobb03@hotmail.com นางสาวศิริวรรณ คงสมบูรณ์ siriwan_ko@hotmail.com นางสาวกาญจนา เกิดอุบล keraubol-som@hotmail.com นางสาวบุญนภัส มีรัตน์ boonapat7@hotmail.com
  • 12. การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ในโครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผูสูงอายุ ้ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๕ กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมทันตสุขภาพวัยทํางานและสูงอายุ หลักการและเหตุผล ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน และประชาชน มีอายุขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้น ส่วนใหญ่มีโรคทางระบบร่วมกับความเสื่อมของสภาพร่างกาย ส่งผลให้งบประมาณด้าน การรักษาพยาบาลของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ดังนั้น ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจึงควรเตรียมการดูแลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ รวมไปถึงการดูแลสุขภาพช่องปาก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบโดยการมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน และมีความสัมพันธ์ กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทําให้การดูแลสุขภาพช่องปากมีความยากและซับซ้อนกว่ากลุ่มอายุอื่น ๆ การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและผู้สูงอายุ มีจุดเริ่มต้นจากกระแสพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๔๗ ความว่า “เวลาไม่มีฟัน กินอะไรก็ไม่อร่อย ทําให้ไม่มี ความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง” กรมอนามัยจึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพือแก้ปัญหาการสูญเสียฟัน ่ ของผู้สูงอายุ อาทิเช่น ฟันเทียมพระราชทานเพื่อทดแทนฟันที่สูญเสียไป ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพ ช่องปาก และบริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อลดการสูญเสียฟัน การประกวด “๑๐ ยอด- ฟันดี วัย ๘๐ ปี” เพื่อสนับสนุนยกย่องให้เป็นแบบอย่างของผู้ที่ดูแลสุขภาพช่องปากดีตลอดชีวิต การรณรงค์ สร้างกระแส เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทั้งทางสื่อสาธารณะและในพื้นที่ต่าง ๆ ให้ประชาชนเห็นความสําคัญของ สุขภาพช่องปากต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ขณะเดียวกัน ก็มีการประชุม/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน รวมทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ด้วยความร่วมมือของทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชมรมผู้สูงอายุ โดยมุ่งหวังว่า ผู้สูงอายุจะสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเอง เข้าถึงบริการทันตสุขภาพจากภาครัฐตาม ความจําเป็น ทําให้มีฟันใช้เคี้ยวอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ รวมทั้งมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และ ผู้สูงอายุรุ่นต่อ ๆ ไปจะเก็บรักษาฟันแท้เอาไว้ได้จนถึงบั้นปลายชีวิต โดยไม่ต้องใส่ฟันเทียม แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาสุขภาพช่องปากของผูสูงอายุที่สําคัญมี ๖ ประเด็น ได้แก่ ๑) การสูญเสียฟันและ ้ ปัญหาจากการใส่ฟัน ๒) ฟันผุและรากฟันผุ ๓) โรคปริทันต์ ๔) แผล/มะเร็งช่องปาก ๕) น้ําลายแห้ง ๖) ฟันสึก ดังนั้น เป้าหมายการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดีขึ้น นอกจากจะดูแลสุขภาพในช่องปากผู้สูงอายุ ให้คงสภาพการใช้งานให้นานที่สุดแล้ว ยังต้องพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่ม ผู้สูงอายุ หรือก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุต่อไป
  • 13. แนวคิดการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและสูงอายุในปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ . พัฒนาระบบบริการผสมผสานทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพช่องปาก ) F ˂ F F F / F ) ˂ -risk group, early detection & prevention . . . - ˆ ˆ . - F /- ˆ /- F / ./ ./ ./ . - F F . ˀˊ F - ˆ /- ˆ / - Prostheses ๒. บูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพด้านอื่น เช่น การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ๓. สร้างและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านบริการ การผลิต/พัฒนาทันตบุคลากร ๔. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ๕. พัฒนาเทคโนโลยี รูปแบบ แนวทาง เกณฑ์ มาตรฐาน รวมทั้ง Excellent Center ๖. การรณรงค์สร้างกระแส เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ ผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโครงการ ฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ที่ดําเนินงานมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ มีการพัฒนาเป็น ลําดับจนถึงปัจจุบัน มีผลการดําเนินงานในปี ๒๕๕๔ โดยสรุปดังนี้ ๑. หน่วยบริการทั่วประเทศร่วมกันจัดบริการใส่ฟันเทียมทั้งปากให้ผู้สูงอายุทุกสิทธิ์แล้วกว่า ๒๓๐,๐๐๐ ราย เฉพาะปี ๒๕๕๔ จัดบริการได้ ๓๗,๕๐๒ ราย ๒. ร่วมกับศูนย์อนามัยเขตทั้ง ๑๒ เขต จัดการประชุมขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพ ชมรมผู้สูงอายุ รวม ๑,๐๗๓ ชมรม ให้มีกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากตนเองอย่างน้อย ๑ อําเภอ ๑ ชมรม ในปี ๒๕๕๔ ซึ่งถ้ารวมตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ ครอบคลุม ๗๑๒ อําเภอ ๑,๗๒๘ ชมรม มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น ๓๕๕,๔๓๖ คน ๓. ร่ ว มกั บ หน่ ว ยบริ ก ารในจั ง หวั ด พั ฒ นาต้ น แบบการจั ด บริ ก ารส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น โรคในช่ อ งปาก ๒๑ จังหวัด ๒๑๙ แห่ง นอกจากนี้ ในปี ๒๕๕๔ ยังร่วมกับ หน่วยทันตกรรมพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว รณรงค์จัดบริการใส่ฟันเทียมพระราชทานแก่ประชาชนในจังหวัดพิจิตร ร่วมกับมูลนิธิโอสถสภารณรงค์จัดบริการ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการที่จังหวัดแพร่ นครราชสีมา และมุกดาหาร ร่วมกับภาคเอกชนรณรงค์ จัด บริการใส่ฟัน เทีย มในมหกรรมการประชุมวิช าการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ประจํา ปี ๒๕๕๔ ศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิผ ลการใช้ฟลูออไรด์ว านิช ป้องกันรากฟัน ผุ ร่ว มกับ จังหวัด สตูล เชียงใหม่ ตราด และ นครปฐม ร่วมกับศูนย์อนามัยเขตค้นหาผู้สูงวัยฟันดีวัย ๘๐ และ ๙๐ ปีระดับเขต และ จัดทําเกณฑ์คัดเลือกหน่วยงานดีเด่นด้านการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุทุกระดับ
  • 14. โครงการ / กิจกรรมสําคัญ /เป้าหมายปี ๒๕๕๕ ๑. ฟันเทียมพระราชทาน ๓๐,๐๐๐ ราย และการประเมินความพึงพอใจร้อยละ ๑๐ วัตถุประสงค์ : แก้ปัญหาการสูญเสียฟันด้วยการใส่ฟนเทียมทดแทน โดยรพ.มหาราช/รพศ./รพท./รพช. ั ๑) กลุ่มเป้าหมาย : ให้ความสําคัญกับผู้ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปเป็นลําดับแรก หากจังหวัดใด จัดบริการให้กับผู้สูงอายุที่จําเป็นต้องใส่ฟันเทียมทั้งปากหรือ ๑๖ ซี่ขึ้นไปเต็มพื้นที่แล้ว กลุ่มเป้าหมายรองเป็นผู้ที่ มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป ๒) (ร่าง) เป้าหมายเบื้องต้นรายจังหวัดในปี ๒๕๕๕ จํานวน ๓๐,๐๐๐ ราย รายละเอียดใน websiteฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php ๓) การเบิกจ่ายงบฯ บริการ - กรณีผู้รับบริการใช้สิทธิ์บัตรทอง งบฯ ชดเชยค่าบริการทําฟันเทียมสําหรับหน่วยบริการ จะรวมอยู่ในกองทุนทันตกรรม ซึ่งหน่วยบริการสามารถเบิกจ่ายเงินชดเชยค่าบริการคืนให้กับโรงพยาบาลรายละ ๔,๔๐๐ บาท ผ่านงานประกันสุขภาพ โดยใช้โปรแกรม e- claim รหัส ๙๒๐๓ - ผู้รับบริการที่ใช้สิทธิ์สวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ หรือประกันสังคม หน่วย บริการเก็บค่าบริการ (ขอความอนุเคราะห์ไม่เกิน ๔,๔๐๐ บาท/ราย) ซึ่งผู้รับบริการสามารถนําใบเสร็จรับเงิน ไปเบิกเงินคืนได้จากกรมบัญชีกลาง หรือสํานักงานประกันสังคม ตามสิทธิ์ของผู้รับบริการ หมายเหตุ : งบฯ บริการทําฟันเทียมสําหรับหน่วยบริการทีรวมอยู่ในกองทุนทันตกรรม จะนับเฉพาะผู้ที่ใช้สิทธิ์ ่ บัตรทอง ซึ่งในปี ๒๕๕๕ สปสช.ได้จัดเตรียมสนับสนุนงบฯ ๔๕,๐๐๐ ราย กลุ่มเป้าหมายจึงมี ๒ กลุ่มได้แก่ - ผู้รับบริการในโครงการฟันเทียมพระราชทานร้อยละ ๘๕ ของเป้าหมายรายจังหวัด (กรมอนามัยได้กําหนดเป้าหมายเบื้องต้นเท่ากับทุกปีที่ผ่านมา และแยกเป็น ๒ กลุ่มตามรายงานของจังหวัด ในปีที่ผ่านมา บัตรทองร้อยละ ๘๕ สิทธิ์อื่น ๆ ร้อยละ ๑๕) - ที่เหลือเป็นผู้รับบริการใส่ฟันฐานพลาสติกอื่น ๆ ทุกกลุ่มอายุ ซึ่งสปสช.ได้กําหนดเป้าหมาย เบื้องต้นรายจังหวัดไว้แล้ว ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.สุปราณี ดาโลดม โทร ๐๘๐-๕๙๔๑๕๐๐ supranee.d@anamai.mail.go.th ๒. ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๒๕๐ ชมรม วัตถุประสงค์ : ลดการสูญเสียฟันด้วยการดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเองและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม โดยชมรมผู้สูงอายุ ๑) ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ ๒๕๐ ชมรม โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมกับศูนย์อนามัยเป็น ่ รายภาค ๔ ภาค (กําหนดวัน เวลา สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย จํานวนผู้เข้าประชุม ศูนย์อนามัยหรือ สํานักทันตสาธารณสุขจะแจ้งให้จังหวัดทราบ) ๒) งบฯ ดําเนินการสําหรับจังหวัด : จากกองทุนทันตกรรม (งบฯ พัฒนางานส่งเสริมสุขภาพช่อง ปากและกระตุ้นการจัดบริการระดับจังหวัด) หรือจากกองทุนสุขภาพตําบล หรืองบ ฯ จากแหล่งอื่น ๆ กรณีที่ ชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็งและจัดหางบฯดําเนินงานเอง หมายเหตุ : รายละเอียดกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก Download ได้จากเว็บไซต์ ฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.นนทลี วีรชัย โทร ๐๘๐-๙๐๓๓๓๓๙ nontalee.v@anamai.mail.go.th
  • 15. ๓. การจัดบริการส่งเสริมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ๑๐๐ แห่ง วัตถุประสงค์ : ลดการสูญเสียฟัน ด้วยการจัดบริการส่งเสริมป้องกันในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก เป็นรายบุคคล และดูแลเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เน้นการรับบริการใกล้บ้าน โดยโรงพยาบาล PCU หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ๑) กลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกสิทธิ์ ๒) การขยายเครือข่ายบริการ ๑๐๐ แห่ง โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับศูนย์อนามัยเป็นราย ภาค ๔ ภาค (พร้อมกับขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ ๒๕๐ ชมรม ในข้อ ๒ หัวข้อ ๑) ) ๓) งบ ฯ ดําเนินการสําหรับจังหวัด : จากกองทุนทันตกรรม (งบฯ การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการจัดบริการระดับจังหวัด) หมายเหตุ : - บริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ประกอบด้วย ๑) การตรวจสุขภาพช่องปาก ๒) การให้คําแนะนํา และ/หรือ การปรับพฤติกรรมเพื่อควบคุมคราบจุลินทรีย์ ๓) การใช้ฟลูออไรด์วานิช ป้องกันรากฟันผุ ๔) การขูดหินน้ําลายป้องกันเหงือก / ปริทันต์อักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute Periodontitis) - กิจกรรมที่ ๑) และ ๒) ดําเนินการได้ทั้งในหน่วยบริการที่มีและไม่มีทันตบุคลากร - กิจกรรมที่ ๓) และ ๔) กรณีไม่มีทันตบุคลากร ดําเนินการโดยส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง (รายละเอียดในคู่มือการดําเนินงานโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ ทางทันตกรรม Download ได้จากเว็บไซต์ฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php ข้อมูลเพิ่มเติม : ทพญ.วรางคนา เวชวิธี โทร ๐๘๑-๔๐๒๓๐๘๘ warangkana.v@anamai.mail.go.th ๔. การบูรณาการในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต และบริบท ของพื้นที่ โดยครอบคลุมด้านสุขภาพ ทันตสาธารณสุข จิตวิทยา สังคม การดูแลช่วยเหลือในการดํารงชีวิต และกิจวัตรประจําวัน ซึ่งเป็นการดูแลอย่างต่อเนื่องตามศักยภาพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุแต่ละกลุ่ม กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวทั้งในสถานบริการและในชุมชน ได้แก่ ๑) มีข้อมูลผู้สูงอายุตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน (Activities of Daily Living : ADL) ๒) มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ๓) มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ๔) มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) โดยบุคลากร สาธารณสุข ๕) มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตําบล ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุด้านการ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และ/ หรือ บริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ๖) มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๒ (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๓ (ติดเตียง) หมายเหตุ : ตําบลเป้าหมายเป็นตําบลที่อยู่ในแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวของสํานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย จังหวัดละ ๒ ตําบล รายละเอียดการประเมินคุณภาพกิจกรรม “บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตําบล” ในการ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) Download ได้จากเว็บไซต์ฟันเทียมพระราชทาน http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/elderly/elderly54.php
  • 16. ข้อมูลเพิ่มเติม ทพญ.สุปราณี ดาโลดม โทร ๐๘๐-๕๙๔๑๕๐๐ supranee.d@anamai.mail.go.th ทพญ.นนทลี วีรชัย โทร ๐๘๐-๙๐๓๓๓๓๙ nontalee.v@anamai.mail.go.th ทพญ.วรางคนา เวชวิธี โทร ๐๘๑-๔๐๒๓๐๘๘ warangkana.v@anamai.mail.go.th ๕. การรณรงค์ สร้างกระแส - ร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ ๑๙-๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ที่จังหวัดสตูล - ร่วมกับมูลนิธิโอสถสภาที่ จ.กําแพงเพชร พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ - ร่วมกับจังหวัดและหน่วยงานอื่น ๆ ๖. มหกรรมการประชุมวิชาการ เฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จัดมหกรรมการประชุมวิชาการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ วันที่ ๑๑-๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ ที่โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี กิจกรรมประกอบด้วย - การถวายราชสักการะ สดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - การบรรยายและการนําเสนอผลงานทางวิชาการ เพื่อเสนอองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์และความจําเป็นด้านสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ แก่ผู้ปฏิบัติงาน นักวิชาการ และแกนนํา ชมรมผู้สูงอายุ - การจัดนิทรรศการด้านการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ โดยภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน ดีเด่นระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ และระดับตําบล รวมทั้งชมรมผู้สูงอายุดีเด่น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม รูปแบบ แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ๗. การประกวด “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ และ ๙๐ปี” - ระดับประเทศ จัดการประกวดปี ๒๕๕๔ โดยกรมอนามัย ในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ - ระดับเขต ค้นหา “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ ปี และ ๙๐ ปี ” โดยศูนย์อนามัยเขตร่วมกับจังหวัดค้นหา ผู้สูงอายุ ๘๐-๘๙ ปี ๑-๒ ท่าน และอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป ๑ ท่าน เข้าร่วมประกวดปี ๒๕๕๕ ในเดือนตุลาคม ๒๕๕๕ ๘. การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทํางานและสูงอายุ - ร่วมกับหน่วยงาน/ มูลนิธิ/ ศูนย์อนามัยเขตและจังหวัดที่เกี่ยวข้อง ๙. การนิเทศ ติดตาม กํากับและประเมินผล - สุ่มนิเทศ ติดตาม ทั้งโดยศูนย์อนามัยเขต และสํานักทันตสาธารณสุข