SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
1
โครงงาน
เรื่อง สบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาติ
คณะผู้จัดทา
นาย จาลอง ศิริสุข รหัสนักศึกษา 532-300-1516
น.ส. ภริดา จิ๊ดชัง รหัสนักศึกษา 531-300-2404
น.ส. จิรวรรณ ขุมทรัพย์ รหัสนักศึกษา 532-300-1561
น.ส. นารีรัตน์ พูลพาน รหัสนักศึกษา 531-300-3773
น.ส. นันทิดา นวลประดิษฐ์ รหัสนักศึกษา 531-300-2392
นาเสนอ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เกษแก้ว อินทรโสภา
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ( พว 03010 )
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ
เขตตาบลนาจอมเทียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรียนที่ 2 / ปีการศึกษา 2554
2
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาตินี้จัดทาขึ้นเพื่อ เรียนรู้วิธีการ
ทาสบู่ เพราะสบู่เป็นของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่ง
สกปรก ออกจากร่างกาย ซึ่งคนส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้ดีมากๆ จนไม่
คานึงถึงผล เสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความ
เหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล บางชนิดก็ผสมสมุนไพร บางชนิดก็ผสมสารเคมี เช่น
Triclocarban เพื่อ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งผู้ใช้บางรายอาจเกิดอาการแพ้สารเคมี หากใช้บ่อยเกินไป
แต่เรารู้จักสบู่เหล่านั้น ดีเพียงไร และจะมีสัก กี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อนมี
ส่วนประกอบสาคัญอะไรบ้าง สบู่ ที่ดีจะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว
ซึ่งนอกจากจะทาให้สบู่ที่ได้ทาความ สะอาด ผิวได้ดีแล้ว ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็น
สิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน หาก เราคัดสรร สบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้เรามีสุขภาพผิวของที่ดี
อยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน
สบู่เกิดจากการทาปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (โซเดียมไฮดรอกไซด์) กับน้ามัน ซึ่งจะ
เป็นน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ก็ได้ ปฏิกิริยาเคมีเช่นนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะได้ของแข็งลื่นมีฟอง
เป็นส่วนผสมของสบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรีน 1 ส่วน ในโรงงานอุตสาหกรรมได้สกัดเอากลีเซอรีนออกไป
เราจึงได้ใช้เนื้อสบู่ล้วนๆ หรือมีส่วนผสมของกลีเซอรีนเพียงเล็กน้อย ส่วนการผลิตสบู่ธรรมชาติ เป็น
กระบวนการผลิตแบบเย็น ซึ่งสารสกัด กลีเซอรีนยังคงมีอยู่ในเนื้อสบู่ ทาให้ผิวมีความชุ่มชื้นเมื่อใช้
สบู่ชนิดนี้สบู่ที่เกิดจากกระบวนนี้เองที่เราเรียกกันว่า สบู่ธรรมชาติ นับเป็นสบู่แท้ที่เราไม่ต้องไปแต่ง
เติมอะไรอีกเลย สบู่ธรรมชาตินี้ก็มีคุณสมบัติของสบู่ที่ดีที่สุดสาหรับผิวเรา
ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอย การผลิตสบู่สมุนไพรใช้เอง น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งที่ลดค่าใช้จ่าย
ช่วยเหลือเศรษฐกิจประชาชนชุมชนได้มาก เพราะวัตถุดิบหลักที่ใช้เป็นวัสดุที่ผลิตเองในประเทศ
เกษตรกรสามารถปลูกพืชน้ามัน และสกัดน้ามันโดยวิธรการง่าย ๆ นามาใช้เป็นวัตถุดิบหลัก
นอกจากนี้ในแหล่งชุมชนที่ มีไขมันสัตว์เหลือใช้ อีกทั้งสมุนไพร หาได้ในประเทศมากมาย การผลิต
สบู่ผสมสมุนไพร จึงเป็นการสนับ สนุน การนาสารจากวัสดุธรรมชาติที่ผลิตได้เองมาใช้ประโยชน์อย่าง
คุ้มค่าราคาถูก ประหยัดและใช้ได้ ง่าย จึงน่าที่จะผลิตสบู่สมุนไพร เพื่อนามาใช้ชาระล้างทาความ
สะอาดร่างกายและของใช้หรือใช้ซักเสื้อ ผ้าแทนผงซักฟอกได้ ก่อนที่จะทาการผลิตสบู่สมุนไพร
จาเป็นต้องศึกษาวิธีการผลิตอย่างละเอียดก่อน เพื่อความปลอดภัยและและจะได้สบู่ที่มีคุณภาพดี
3
กิตติกรรมประกาศ
ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาติ ในครั้งนี้ คณะ
ผู้จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลภายนอก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านเศรษฐกิจ
พอเพียง ในค่ายศูนย์ฝึกทหารใหม่และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ ชาวบ้านในแถบพื้นที่ใกล้เคียง ที่ให้
คาแนะนาปรึกษาเกี่ยวกับกลีเซอรีนธรรมชาติที่ทางกลุ่มแม่บ้านได้ทาการผลิตกันขึ้นมาเองจากวัตถุดิบ
ที่ปลอดสารเคมี และได้ให้คาแนะนาในเรื่องของการทาสบู่ วิธีการทาสบู่อย่างถูกต้องและถูกวิธี
ตลอดจน อธิบาย ถึงการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการนามาทาสบู่และสามารถนาไป
ลงมือปฏิบัติ จริง ขอขอบคุณ คุณวิภาดา ขุมทรัพย์ คุณแม่ของผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่เอื้อเฟื้อสถานที่
ในการปฏิบัติ งาน อีกทั้งยังให้ยืมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการทาสบู่อีกด้วย
ขอขอบคุณ คุณจาลอง ศิริสุข ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่พาไปหาแหล่งข้อมูลในการทา ร่วมทั้งยังพาไปพบ
กลุ่มแม่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ในค่ายศูนย์ฝึกทหารใหม่และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ
เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
ขอขอบคุณ คุณ ภริดา จิ๊ดชัง ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่ช่วยออกแบบโลโก้ที่นามาติดถุงแก้วที่ใช้ในการ
แพ็คสบู่ และยังช่วยหาซื้ออุปกรณ์ชนิดต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการทาสบู่อีกด้วย
ขอขอบคุณ คุณ จิรวรรณ ขุมทรัพย์ ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่ออกแบบสบู่ที่จะทา ตามชนิดของสมุนไพร
ชนิดต่างๆ อีกทั้งยังอานวยความสะดวกในเรื่องของการพิมพ์เอกสาร เรียบเรียงเนื้อหาโครงงาน
หาข้อมูลต่างๆ ร่วมถึงการปริ้นท์เอกสารและทาการเข้ารูปเล่มให้เรียบร้อย
และบุคคลที่ทาให้การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ก็เพราะความช่วยเหลือ
อย่างดียิ่งของ อาจารย์ เกษแก้ว อินทรโสภา ที่อนุมัติเห็นชอบในการจัดทาโครงงาน ชิ้นนี้และได้ให้
คาแนะนาปรึกษาในการทาโครงงานอย่างเป็นกันเอง รวมทั้งแนวคิด ตลอดจนข้อบกพร่องต่างๆ ที่ต้อง
แก้ไข ทาให้คณะผู้จัดทาสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานชิ้นนี้ได้ จนโครงงานเรื่องนี้
เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
4
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สบู่ เป็นเครื่องสาอางชนิดหนึ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เดิมใช้เพื่อทาความสะอาด
ร่างกายเท่านั้น ปัจจุบันกระบวนการผลิตสบู่ มีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เพื่อให้สบู่มีสรรพคุณตรงตาม
ความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น เช่น มีสีสรรที่สวยงามน่าใช้ มีกลิ่นหอม และมีสรรพคุณทางยา
ในทางการค้า มีการใช้สารสังเคราะห์เพิ่มขึ้นทาให้ผลิตภัณฑ์น่าใช้ บรรจุภัณฑ์สวยงามแต่แฝงไป
ด้วยสารเคมีที่เป็นอันตราย มีพิษตกค้างและราคาสูง ปัจจุบันนิยมใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในธรรมชาติ
มาเป็นส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ แทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ พืชสมุนไพรที่ใช้ มีสาระสาคัญและมี
สรรพคุณทางยา เช่น มีน้ามันหอมระเหยที่มีกลิ่นเฉพาะใช้ในการบาบัดโรค มีสีสรรสวยงาม หาง่าย
ราคาถูก ประหยัด ปลอดภัย ไร้สารสังเคราะห์ และไม่มีพิษตกค้าง ทาให้สบู่สมุนไพรที่ผลิตขึ้นจาก
ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีคุณลักษณะเฉพาะที่หลากหลาย จึงเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นถึงความมหัศจรรย์
ของสบู่สมุนไพรที่มีคุณค่ายิ่งของภูมิปัญญาไทย
เชื่อว่าทุกคนไม่ว่าจะเป็นเพศไหน วัยไหน หรือชาติไหน คงไม่มีใครไม่รู้จักหรือไม่เคยใช้ “สบู่” ในการ
นามาถู ผสมกับน้าเพื่อชาระล้างสิ่งสกปรกและทาความสะอาดร่างกาย ที่มาตั้งแต่สมัยโบราณ
เพราะในการใช้ชีวิตประจาวันของคนทุกคนต้องมีการอาบน้ากันอยู่ทุกวัน โดยปกติคนส่วนใหญ่เฉลี่ย
ก็อาบน้าวันละสองครั้ง และปัจจุบันนี้ สบู่ก็มีมากมายหลาย ชนิดให้ได้เลือกใช้ ตามความเหมาะสม
และความชอบของแต่ละบุคคล แต่จะมีใครทราบหรือไม่ว่าสบู่ส่วนใหญ่ที่ใช้กันอยู่ล้วนแล้วแต่มีส่วน
ผสมที่ เป็นพิษของสารซักฟอก และสารเคมี และเศษที่หลงเหลือในอุตสาหกรรม จากการกลั่นน้ามัน
และปิโตรเลียม เคมีรวมถึงวัตถุกันเสีย ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนส่งผลร้ายต่อสัตว์และคน และที่มากกว่านั้น
คือ ผิวสามารถดูดซึมของเสียเหล่านี้ได้ถึง 60%
ดังนั้นทางเราจึงได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทาสบู่ แล้วจัดทาสบู่สมุนไพรขึ้นมาจากกลีเซอรีน
ธรรมชาติ ที่ใช้ได้ผลอย่างดียิ่ง อีกทั้งยังไม่มีสารเคมีหรือสารพิษปนมาอีกด้วย สบู่นั้นเป็นผลจาก
ปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (Sodium Hydroxide หรือ Potassium Hydroxide) กับ
น้ามัน ซึ่งในที่นี้ทา มาจากน้ามันมะพร้าว ปฏิกิริยาเคมีนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะทาให้ได้เกลือ
ในรูปของแข็งที่ลื่นและ มีฟอง ที่เราเรียกกันว่าสบู่ โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มักจะใช้กากน้ามัน
ปิโตรเลียมเป็นเบสในการทาสบู่ ซึ่งโมเลกุลของน้ามันปิโตรเลียมจะมีขนาดใหญ่จนผิวไม่สามารถซึม
ซับได้ และยังก่อให้เกิดอาการ อุดตันได้อีกด้วย นอกจากนี้ส่วนประกอบสาคัญทุกชนิดที่ใช้ใน
กระบวนการผลิต ยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากธรรมชาติ คุณจึงมั่นใจได้ว่าไม่มีสารสังเคราะห์ใดๆ เจือ
ปนอยู่ในสบู่ จึงเป็นสบู่ธรรมชาติที่มีความปลอดภัย
5
จุดมุ่งหมายในการทาโครงงาน
1. เพื่อทาสบู่จากกลีเซอรีนธรรมชาติ
2. เพื่อศึกษาวิธีการทาสบู่สมุนไพร
3. เพื่อนาสบู่ที่ทามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง
4. เพื่อการลงมือปฏิบัติจริง
5. เพื่อเป็นประสบการณ์ในด้านของการศึกษาและเรียนรู้นอกสถานที่
6. เพื่อเป็นหนทางหารายได้และนาไปประกอบธุรกิจในขั้นต่อไป
7. เพื่อฝึกการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ
8. เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการ การแก้ปัญหา ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
9. เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ในการทารูปแบบต่างๆของสบู่
10. เพื่อศึกษาสรรพคุณของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่จะนามาเป็นส่วนผสมในการทาสบู่
11. เพื่อให้มีสบู่ที่ผลิตจากสมุนไพรธรรมชาติ
12. เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป
6
สมมติฐาน
1. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติผสมสมุนไพรต่างชนิดกัน สามารถทาความสะอาดผิวกายได้
ต่างกัน
2. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติที่ผสม มะขามกับน้าผึ้ง ทาความสะอาดผิวได้ดีที่สุด
3. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติไม่มีสารเคมีใดๆจึงไม่เป็นโทษต่อร่างกาย
ตัวแปรต้น สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติ
ตัวแปรตาม ความสะอาดของผิวกาย
ตัวแปรควบคุม ปริมาณสบู่ผสมสมุนไพร
นิยามเชิงปฏิบัติการ
สบู่สมุนไพรที่ทาขึ้น ทามาจากกลีเซอรีนที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มีสารเคมีปนเปื้อน ก็เพื่อที่จะ
ไม่ให้ มีสารพิษตกค้างในร่างกาย
สบู่ธรรมชาติ คือ สบู่ที่เกิดจากกระบวนการซาปอนนิฟิเคชั่น (Saponification)ของไขมัน
หรือน้ามัน จากพืชและสัตว์ที่ทาปฏิกิริยาทางเคมีกับสารละลายด่าง (โซเดียมไฮดรอกไซด์)
จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นของแข็ง ลื่น มีฟอง สามารถละลายและล้างออกด้วยน้า
สบู่ธรรมชาติไม่ถูกสกัดเอากลีเซอรีนออก ไม่มีการเติมสารเคมี สารเกิดฟอง (detergent)
แต่อาจเติมสมุนไพร หรือน้ามันหอมระเหยลงไปเท่านั้น คุณสมบัติของสบู่ คือ ใช้ทา
ความสะอาด ชาระล้างสิ่งสกปรก หรือเป็นสารช่วยลดแรงตึงผิว (surfactant)
ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ดังนี้
ไขมันหรือน้ามัน + (ด่าง และ น้า) สบู่ + กลีเซอรีน
Fat/oil (lye + water) Soap + Glycerine
7
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
การทาสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาตินั้น จะได้สบู่สมุนไพรหลากหลายรูปแบบ
และหลากหลายชนิด ก็ขึ้นอยู่กับแบบพิมพ์ที่จะนามาพิมพ์สบู่กับสมุนไพรชนิดต่างๆที่นามา
ผสมกับกลีเซอรีน ทาให้ได้สบู่ตามที่เราต้องการ โดยสบู่ที่ได้มานั้นจะไม่มีสารพิษหรือสารเคมี
ใดๆที่จะตกค้างภายในร่างกายของเราได้เลย เมื่อเรานาสบู่ที่ทามาใช้ เพราะส่วนผสมที่นา
มาทานั้น ล้วนแล้วแต่ทามาจากธรรมชาติทั้งสิ้น
8
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
สบู่
สบู่ เป็นสิ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เช่น การอาบน้า การล้างมือ สบู่จะช่วยละลายไขมัน ทาให้
การชาระล้างสะอาดมากขึ้น
สบู่คืออะไร
สบู่ (soap) คือสารเคมีที่เกิดจากการทาปฏิกิริยากันระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์(ด่าง,โซดาไฟ, (NaOH,) และน้ามัน
ที่มาจากสัตว์หรือพืช
มีส่วนผสมระหว่างกรด(ไขมัน)กับเบส(ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้สามารถทาความสะอาดได้ดี และไม่เป็นอันตราย
ต่อผิว คือมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8-10
ใช้ชาระล้างร่างกายควบคู่กับการอาบน้า ทามาจากไขมันสัตว์ผสมกับน้าหอม โซดาไฟ และวัตถุดิบอื่นๆ
9
สบู่ก้อน คือส่วนผสมระหว่างกรด(ไขมัน)กับเบส(ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้สามารถทาความสะอาดได้ดี
และไม่เป็นอันตรายต่อผิว คือมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8-10 (ในเอกสารจดแจ้งของ อย.ให้ผู้ผลิตสบู่ก้อนระบุว่ามี
ค่า ph ไม่เกิน 11) กรดหรือกรดไขมัน เช่นน้ามันพืช ไขมันสัตว์ เบส เช่นโซดาไฟ โดยทั่วไปอัตราส่วนผสมที่
เหมาะสมคือเมื่อผสมกันแล้วควรจะเหลือกรดไขมันอยู่ประมาณ 5% หากไม่มีเครื่องมือในการวัดค่า pH ให้เก็บสบู่
เอาไว้อย่างน้อย 15-30 วันเพื่อให้ค่า pH ลดลง อยู่ในอัตราที่เหมาะสม
10
กรด(ไขมัน)และเบส(ด่าง)ที่นามาทาสบู่ ไขมันแต่ละชนิดประกอบด้วยกรดไขมันมากกว่า 1 ชนิด ตาม
ธรรมชาติกรดไขมันเหล่านี้จะไม่อยู่อิสระ แต่รวมตัวกับสารกลีเซอรอลในไขมันอยู่ในรูปกลีเซอไรด์ เมื่อด่างทา
ปฏิกิริยากับกรดไขมัน กรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ รวมตัวเป็นสบู่ สารที่เกาะอยู่กับกรดไขมันก็จะหลุด
ออกมาเป็นกลีเซอรีน ปฏิกิริยาของ กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ว จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน
เช่น กรดลอริก (lauric acid) มีมากในน้ามันมะพร้าว เป็นกรดไขมันที่ทาปฏิกิริยากับด่างแล้วให้สารที่มีฟองมาก
เป็นต้น
คุณสมบัติของสบู่ที่ได้จากกรดไขมันต่างชนิดกัน
1. น้ามันมะพร้าว สบู่ที่ผลิตได้มีเนื้อแข็ง กรอบ แตกง่าย สีขาวข้น มีฟองมากเป็นครีม ให้ฟองที่คงทนพอควร
เมื่อใช้แล้วทาให้ผิวแห้ง
2. น้ามันปาล์ม ให้สบู่ที่แข็งเล็กน้อย มีฟองน้อย ฟองคงทนอยู่นาน มีคุณสมบัติในการชะล้างได้ดี แต่ทาให้ผิว
แห้ง
3. น้ามันราข้าว ให้วิตามินอีมาก ทาให้สบู่มีความชุ่มชื้น บารุงผิว ช่วยลดความแห้งของผิว
4. น้ามันถั่วเหลือง เป็นน้ามันที่เข้าได้ดีกับน้ามันอื่น ให้ความชุ่มชื้น รักษาผิว แต่เก็บไว้ได้ไม่นาน มีกลิ่นหืน
ง่าย
5. น้ามันงา เป็นน้ามันที่ให้วิตามินอี และให้ความชุ่มชื้น รักษาผิว แต่มีกลิ่นเฉพาะตัว
6. น้ามันมะกอก ทาให้ได้สบู่ที่แข็งพอสมควร ใช้ได้นาน มีฟองเป็นครีมนุ่มนวลมาก ให้ความชุ่มชื้น ไม่ทาให้
ผิวแห้ง
7. น้ามันละหุ่ง ช่วยทาให้สบู่มีฟองขนาดเล็กจานวนมาก ทาให้สบู่เป็นเนื้อเดียวกันดี สบู่ไม่แตก ทาให้สบู่มี
ความนุ่มเนียน และช่วยให้ผิวนุ่ม
8. น้ามันเมล็ดทานตะวัน ทาให้สบู่นุ่มขึ้น แต่ฟองน้อย
9. ไขมันวัว จะได้สบู่ที่มีเนื้อแข็งสีขาวอายุการใช้งานนานมีฟองน้อย ทนนาน แต่นุ่มนวล
10. ไขมันหมู จะได้สบู่ที่มีเนื้อแข็ง อายุการใช้งานนาน ฟองน้อย แต่ทนนาน
11. ขี้ผึ้ง ได้สบู่เนื้อแข็ง อายุการใช้งานนาน ฟองน้อย แต่ทนนาน
12. ไขมันแพะ ได้สบู่เนื้อนุ่ม ได้ความชุ่มชื้นแก่ผิว ผิวนุ่มเนียน
11
เบส(ด่าง)ที่ใช้มี 3 ชนิด คือ
1. ขี้เถ้า ใช้ในการผลิตสบู่ในสมัยโบราณ ปัจจุบันมีการพัฒนาใช้เป็นด่างแทน
2. โซดาไฟ หรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้สบู่ก้อนแข้ง
3. โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้สบู่เหลว
ความสาคัญของสบู่
สบู่ คือ ของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย ซึ่งคน
ส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้ดีมากๆ จนไม่คานึงถึงผลเสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง
ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล แต่เรารู้จักสบู่
เหล่านั้นดีเพียงไร และจะมีสักกี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อนมีส่วนประกอบสาคัญอะไรบ้าง สบู่ที่ดี
จะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว ซึ่งนอกจากจะทาให้สบู่ที่ได้ทาความสะอาดผิวได้ดีแล้ว
ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็นสิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน หากเราคัดสรรสบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้
เรามีสุขภาพผิวของที่ดีอยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน
12
ประวัติความเป็นมาของสบู่ สบู่ธรรมชาติ และสบู่ที่ทาจากเคมี ที่ใช้กันทุกวันนี้
การค้นพบสบู่ ในยุคสมัยที่เรายังนิยมการบูชายันต์อยู่นั้น มักจะมีแท่นบูชายันต์ ซึ่งอยู่ใกล้แม่น้า เมื่อนาแพะ
หรือสัตว์อื่น ๆ มาบูชายัน ก็มีการเผาทาพิธีบริเวณนั้นด้วย และไขมันจากสัตว์เกิดไหลปนกับขี้เถ้า เกิดเป็นสิ่งที่เป็น
ก้อนขาว ๆๆ ไหลลงในลาธาร ชาวบ้านที่นาผ้ามาซักบริเวณนั้น ก็เกิดข้อสังเกตุว่า ผ้าที่ซักจากบริเวณนี้สะอาดง่าย
กว่า ซักบริเวณอื่น จึงได้หาเหตุ กันต่าง ๆ จนมาเจอก้อนที่ว่านี่เอง คือ "สบู่" สบู่ที่เกิดจากความบังเอิญจาก ไขมัน
รวม กับ ขี้เถ้าหรือ เรียกกันว่า ปฎิกิริยา Saponification หรือการเกิดสบู่ จะมาจาก ESter(ไขมัน) และ base(ด่าง)
รวมกัน ได้เป็นสบู่ขึ้นมา โดยที่สบู่จากการสร้างจาก Saponification จะมีส่วนที่เรียกว่า กลีเซอรีน ออกมา
ด้วย ดังนั้นสบู่จากปฎิกิริยานี้จะช่วยบารุงผิวได้ดี
ย้อนหลังไปหลายปี อาจจะหลายพันปีเลยก็ว่าได้ ก่อนที่มนุษย์ จะรู้จักสบู่ ใน ช่วงนั้นการทาความสะอาดร่างกาย
หรือ เสื้อผ้าให้สะอาดเป็นเรื่องที่ทาได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เท่าทุกวันนี้ครับ เพราะสิ่งสกปรกและคราบมันต่างๆ
ที่เกิดขึ้นนั้น ไม่อาจรวมตัวกับน้าได้ สังเกตุง่าย ๆ เมื่อเราเทน้าผสมน้ามัน มันจะแยกชั้นกันอย่างชัดเจน ร่างกาย
ของเรานั้น มักจะผลิตน้ามันออกมาตลอดเวลา การอาบน้าธรรมดา ก็เป็นเพียงการชะล้างฝุ่นออกไปจากร่างกาย
แต่ก็ไม่ได้สะอาดหมดจดจริง
มี ตานานเล่าไว้เหมือนกันว่า แม่นางคลีโอพัตตรา ก็พยายามแสวงหาวิธีการที่จะทาให้ร่างกายของนางสะอาด และ
มีกลิ่นหอม ดังนั้นนางจึงใช้น้าที่นาพืชสมุนไพรมาต้มเพื่อนามาอาบ โดยทาให้ช่วยชะล้างความสะอาดได้ดีขึ้นและ
ให้กลิ่นหอมสะอาด
ส่วนคนไทย โบราณสมัยที่ยังไม่มีสบู่ก็ใช้ พืชผลไม้ หลายอย่างมาช่วยทาให้ร่างกายสะอาดขึ้นเช่นกัน เช่นการนา
มะกรูด มาเผาไฟ และ นามาสะผม
นาน้าใบส้มป่อย มาอาบน้า หรือ นามะขามเปียกมาถูตัวเป็นต้น
ผม จาได้ว่าสมัยเด็ก ๆ เคยอ่านหนังสือนานมากๆเเล้ว จาไม่ได้ว่าหนังสืออะไร กล่าวไว้ว่า ในยุคแรกที่คิดสบู่ได้นั้น
สบู่เรียกว่า ไซโป หมายถึงสิ่งที่นามาชาระล้างนั่นเอง โดยต่อมาได้เพี้ยนไปเป็น โซป (Soap) หรือ สบู่ ดังในปัจจุบัน
สบู่ ถือเป็นสิ่งล้าค่ามากๆ ในยุคแรกๆ คนธรรมดา ไม่มีสิทธิ์ได้ใช้นะครับ จะได้ใช้ก็แต่ระดับชนชั้นสูงเท่านั้น ในแต่
ละประเทศ
13
ซึ่ง การค้นพบสบู่เนี่ยถือว่าเป็นความบังเอิญมาก ๆ ในยุคสมัยที่เรายังนิยมการบูชายันต์อยู่นั้น มักจะมีแท่นบูชา
ยันต์ ซึ่งอยู่ใกล้แม่น้า เมื่อนาแพะ หรือสัตว์อื่น ๆ มาบูชายัน ก็มีการเผาทาพิธีบริเวณนั้นด้วย และไขมันจากสัตว์เกิด
ไหลปนกับขี้เถ้า เกิดเป็นสิ่งที่เป็นก้อนขาว ๆๆ ไหลลงในลาธาร ชาวบ้านที่นาผ้ามาซักบริเวณนั้น ก็เกิดข้อสังเกตุว่า
ผ้าที่ซักจากบริเวณนี้สะอาดง่ายกว่า ซักบริเวณอื่น จึงได้หาเหตุ กันต่าง ๆ จนมาเจอก้อนที่ว่านี่เอง สบู่ไงครับ สบู่ที่
เกิดจากความบังเอิญจาก ไขมัน รวม กับ ขี้เถ้า
สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า ปฎิกิริยา Saponification หรือการเกิดสบู่ขึ้นนั่นเอง
เป็น ผลที่มาจาก ESter(ไขมัน) และ base(ด่าง) รวมกัน ได้เป็นสบู่ขึ้นมา โดยที่สบู่จากการสร้างจาก
Saponification จะมีส่วนที่เรียกว่า กลีเซอรีน ออกมาด้วย ดังนั้นสบู่จากปฎิกิริยานี้จะช่วยบารุงผิวได้ดี
อย่างไรก็ตามคุณสมบัติของสบู่จะแปรตามคุณสมบัติของไขมันที่มาทาสบู่
เช่น ถ้าสบู่ที่ทาจากน้ามันมะพร้าว จะมีเนื้อแข็ง ฟองมาก เหมาะไว้ล้างจานเป็นต้น สบู่น้ามันละหุ่ง จะให้ครีมนุ่ม
อ่อนโยน เหมาะไว้ล้างหน้าเป็นต้นครับ
ดัง นั้นมนุษย์เราจึงได้ผลิตสบู่แบบนี้ซึ่งผมจะเรียกว่าการผลิตสบู่ด้วยวิธี ธรรมชาติ โดยใช้ไขมันจากพืชหรือสัตว์
ผสมกับด่างหรือ NaOH มาใช้กันเป็นเวลายาวนานซึ่งถือว่าเป็นสบู่ที่ดี ไม่ค่อยมีความระคายเคือง และมีกลีเซอรีน
ผสมอยู่ และมีการปรับสูตรกันในแต่ละท้องถิ่น การผลิตสบู่ในไทยเอง ก็มีการผลิตสบู่ลักษณะนี้อยู่เหมือนกันใน
อดีต
จวบ จนครั้งเมื่ออุตสาหกรรมเคมี ได้พัฒนาขึ้น การผลิตสบู่แบบดั้งเดิม ซึ่งต้นทุนสูง ใช้เวลานานในการผลิต และ
ผลิตได้ครั้งละจากัด จึงเกิดสบู่อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งผลิตโดยใช้สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการชะล้าง มาอัดเป็นก้อน
และผสมกลิ่นน้าหอม และ เติมสี และจัดจาหน่ายทั่วไป มีการเติมมอยเจอร์ไรเซอร์ เพื่อทดแทนกลีเซอรีน ที่เคยได้
ในการผลิตแบบดั้งเดิม สบู่ประเภทนี้ให้การชะล้างที่เยี่ยมยอด และมีกลิ่นสี น่าใช้มาก เพราะแต่งเติมเข้าไปด้วย
กรรมวิธีใหม่ ๆ แต่สิ่งที่ตามมาก็คือ การระคายเคืองในบางคน และการสะสมสารเคมี ไว้ที่ผิวกาย ทุกวัน ๆ มาจนถึง
วันนี้ไม่ทราบว่ามีใครสงสัยเหมือนผมบ้างไหมครับ ว่าสบู่ที่อยู่ในห้องน้าบ้างเราเนี่ย เป็นสบู่จริงๆ หรือ เป็น เคมี
ชาระล้างอัดก้อน หรือสงสัยมั๊ยครับ ว่าเราเคยใช้สบู่ ที่เป็นสบู่จริงๆ ครั้งสุดท้ายเมื่อไรกัน
14
ความแตกต่างระหว่างสบู่ธรรมชาติและสบู่เคมี
สบู่ธรรมชาติจะผลิตโดยใช้ไขมันจากพืชหรือสัตว์ผสมกับด่างหรือ NaOH จะได้สบู่ธรรมชาติถือว่าเป็นสบู่ที่ดี
เนื่องจากค่าความเป็นค่า pH (Power of hydrogen) คือค่าที่อยู่ในระดับเดียวกับร่างกายของเราและเป็นสภาวะที่ดี
ที่สุด นั่นคือมีค่าเป็นกลางใกล้เคียงกับผิวพรรณของเรามากที่สุด ทาให้ไม่ค่อยมีความระคายเคืองต่อผิว ส่วนสบู่
เคมี ได้ถูกพัฒนาขึ้น อันเนื่องมาจากการผลิตสบู่แบบดั้งเดิม มีต้นทุนสูง ใช้เวลานานในการผลิต และ ผลิตได้ครั้งละ
จากัด จึงทาให้มีผู้ติดค้นสบู่อีกสูตรหนึ่งขึ้นมาคือสบู่เคมี ซึ่งผลิตโดยใช้สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการชะล้าง มาอัด
เป็นก้อนและผสมกลิ่นน้าหอม และ เติมสี และจัดจาหน่ายทั่วไป มีการเติมมอยเจอร์ไรเซอร์ เพื่อทดแทนกลีเซอรีน ที่
เคยได้ในการผลิตแบบดั้งเดิม สบู่ประเภทนี้ให้การชะล้างที่ดีมากๆ และมีกลิ่นสี น่าใช้ เพราะแต่งเติมเข้าไปด้วย
กรรมวิธีใหม่ ๆ แต่สิ่งที่ตามมาก็คือ การระคายเคืองในบางคน และการสะสมสารเคมี ไว้ที่ผิวกาย ทุกวัน ๆ และ
ปัจจุบัน คนส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้มากๆ ซึ่งเหล่านี้มักจะเป็นสบู่เคมี จนไม่คานึงถึง
ผลเสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและ
ความชอบของแต่ละบุคคล แต่เรารู้จักสบู่เหล่านั้นดีเพียงไร และจะมีสักกี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อน
มีส่วนประกอบสาคัญอะไร บ้าง สบู่ที่ดีจะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว ซึ่งนอกจากจะ
ทาให้สบู่ที่ได้ทาความสะอาดผิวได้ดีแล้ว ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็นสิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน
หากเราคัดสรรสบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้เรามีสุขภาพผิวของที่ดีอยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน
15
กลีเซอรีน คือ แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งมีสูตรทางเคมี C3H5(HO)3 มีลักษณะข้นและใส ไม่มีสี เป็นผลพลอย
ได้จากกระบวนทาสบู่ โดยที่ด่างจะผสมกับไขมันจากสัตว์และพืช ผู้ผลิต สบู่จะแยกกลีเซอรีนออกมาเพื่อนนาไปใช้
ประโยชน์ในการทาโลชั่นและครีมได้อีก กลีเซอรีน เมื่ออยู่ในโลชั่นจะให้ผลดีมาก เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่ให้ความ
ชุ่มชื้น สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์และในน้า
กลีเซอรีน ยังนาไปใช้ผลิตไนโตรกลีเซอรีนและขนม และยังนาไปใช้ถนอมผักและผลไม้ รวมทั้งแช่ตัวอย่างทดลอง
ในห้องแล็ป มองหาส่วนผสมที่เป็นกลีเซอรีนได้จากบรรดาโลชั่นที่วางจาหน่ายตามชั้นในร้านขายยา หรือร้านงาน
ฝีมือที่ขายผลิตภัณฑ์จากสบู่
16
ทาความสะอาดช่องแช่แข็ง
คราบอาหารหมดโอกาสติดแน่นอยู่ในช่องแช่แข็งถ้ามีกลีเซอรีน โดยขจัดคราบอาหารแล้วใช้เศษผ้าแตะกลีเซอรีน
ซึ่งเป็นตัวทาละลายตามธรรมชาติเช็ดบริเวณคราบติดแน่นให้สะอาด เท่านี้เราก็ได้ช่องแช่แข็งใหม่สะอาดเอี่ยม
สบู่เหลวขวดใหม่
เศษสบู่ที่เหลือจะเอาไปทาอะไรดีหนอ ผสมกลีเซอรีนลงไป แล้วบี้สบู่ให้เข้ากันในน้าอุ่น เทส่วนผสมใส่ขวดปั๊มเท่านี้
คุณก็มีสบู่เหลวราคาประหยัดเอาไว้ใช้
ถนอมใบไม้
เจอใบไม้รูปทรงแปลกๆ อยากเก็บไว้ดูเล่นหรือเอาไปตกแต่งบัตรอวยพร แต่แทนที่จะทับแห้งอย่างที่เคยทา ลอง
เปลี่ยนมาแช่กลีเซอรีนดู ใบไม้ที่แช่กลีเซอรีนจะคล้ายใบไม้สด สีจะเปลี่ยนไปบ้าง อาจจะสีเขียวเข้มขึ้น หรือ
เปลี่ยนเป็นสีน้าตาล แล้วแต่ความอ่อนแก่ของใบ ชนิดของใบ เป็นต้น
วิธีการ คือผสมกลีเซอรีนกับน้าอุ่นเกือบร้อน 2 ส่วน คนให้เข้ากันทิ้งไว้ให้เย็น เลือกใบไม้ที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มา
จัดวางในภาชนะโดยส่วนโคนใบอยู่ด้านล่างเทส่วนผสมที่เตรียมไว้ลงไปให้ท่วม ทิ้งไว้นาน 2 สัปดาห์ ถึง 2 เดือนเอา
ใบขึ้นมาล้างน้า เช็ดให้แห้งและตากลมอีกครั้ง
17
คราบถ่านหายไป
คุณคงคิดว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะขจัดคราบถ่านหรือคราบมัสตาร์ด แต่เป็นไปได้ถ้าคุณใช้กลีเซอรีน ถูกลีเซอรีนตรงรอย
เปื้อน แล้วทิ้งไว้ราวหนึ่งชั่วโมง จากนั้นใช้กระดาษอเนกประสงค์ที่ใช้ในครัวเช็ดออก โดนค่อยๆ กดแล้วยกขึ้น ซึ่ง
อาจต้องทาซ้าหลายๆครั้ง
แก้ไขมือหยาบกร้าน
เพียงผสมกลีเซอรีนและน้ามันระหุงอย่างละเท่ากันเป็นเนื้อเดียว ใช้สูตรนี้ทามือให้ทั่วทั้งฝ่ามือและหลังมือ ทิ้งไว้
ประมาณครึ่งชั่วโมง มือจะนุ่มนวลขึ้น
ขจัดคราบกาแฟค้างเก่า
เสื้อตัวสวยกลับจากงานเลี้ยงน้าชา-กาแฟด้วยคราบกาแฟที่เปื้อนใส่เมื่อไหร่ก็ไม่รู้ ถ้าเห็นแต่แรกซับด้วยน้าทันทียัง
พอทาเนา แต่คราบเก่าซักยากยิ่ง ลองซับด้วยน้าเย็นดูก่อนแล้วให้ถูให้ทั่วด้วยกลีเซอรีน ทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมงแล้วล้าง
ออกด้วยน้าอุ่น จากนั้นจึงซักตามปกติ
เป็นยังไงบ้างกับประโยชน์ของเจ้ากลีเซอรีน ผมว่าหลายๆท่านคงคันไม้คันมืออยากทดลองแล้ว แต่คงมีหลายท่าน
ไม่ทราบว่าจะหาซื้อ กลีเซอรีน นี่ได้ที่ไหนง่ายๆเลยครับ หาซื้อได้ตามร้านขายยาทุกชนิด หรือร้านขายเคมีภัณฑ์
นั่นเอง ในคราวหน้าผมจะมาแนะนาสิ่งเล็กๆน้อยในบ้านอะไรที่จะกลายเป็นของพิเศษ ต้องคอยติดตามกันนะครับ
รับรองว่าไม่ผิดหวังแน่นอน
18
Natural Hot-process soap สบู่ธรรมชาติผลิตด้วยกระบวนการร้อน
กรรมวิธีการผลิตสบู่แนวนี้ คือการให้ความร้อนจากภายนอกเข้าไปสนับสนุนให้เกิดสบู่สาเร็จรูป ตามลักษณะที่
ต้องการแล้วเติมแต่งกลิ่นและสีที่กาหนดไว้ ก็จะได้สบู่ที่มีความสวยงาม สดใสแวววาว มีเสน่ห์น่าใช้ เปรียบเทียบ
ได้กับการทานข้าวขาวหอมมะลิ นั่นเอง
ในความเป็นจริงแล้วการผลิตสบู่แนวนี้มีความยุ่งยากซับซ้อนพอสมควรหากเริ่มตั้งแต่ต้น คือต้องผ่านกรรมวิธี
Cold-process ก่อน แล้วแยกส่วนที่เป็น glycerin ออกมา ซึ่ง glycerin ก็ถือได้ว่าเป็นสบู่สาเร็จรูป
เบื้องต้น สามารถนามาใช้ทาความสะอาดได้อย่างปลอดภัย แต่เมื่อต้องการความสวยงามและเสน่ห์ที่น่าใช้ ก็
จาเป็นต้องนา glycerin มาผ่านกระบวนการความร้อนที่จัดเตรียมไว้ เมื่อละลายจนได้ที่จึงเติมแต่งสีสัน เพิ่มกลิ่น
ด้วย Fragrance (น้าหอมเคมีสังเคราะห์) เนื่องจาก Essential oil มีราคาสูงและจะสลายไปอย่างรวดเร็วเมื่อถูก
ความร้อน จึงไม่เป็นที่นิยมเชิงพาณิชย์
ความแตกต่างของสบู่ Natural Hot-process soap คุณภาพสูงและต่า อาจเกิดจากการใช้ glycerin คุณภาพต่า
ไม่สะอาดและมีจุดเดือดที่สูง ซึ่งส่วนใหญ่มักผลิตจากไขมันสัตว์ที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ ในประเทศ เพราะมีราคาต่า
กว่า glycerin ที่ผลิตจากพืชที่ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ นอกจากราคาที่แตกต่างแล้ว ประโยชน์ตลอดจนความ
ปลอดภัยก็แตกต่างกันอย่างมากด้วย ผู้ผลิตสบู่แนวนี้ที่ไม่เน้นคุณภาพจึงมักใช้ Glycerin คุณภาพต่าจากไขมัน
สัตว์ เพื่อให้ได้ผลกาไรที่มากกว่า
หากเปรียบเทียบในเชิงความเป็นธรรมชาติและประโยชน์แล้ว สบู่ Natural Hot-process soap นี้มีความเป็น
ธรรมชาติและประโยชน์น้อยกว่า Natural Cold-Process soap เนื่องจากความร้อนที่นาเข้ามาเติมแต่งใน
กระบวนการผลิตจะสลายคุณค่าทางธรรมชาติออกไป สบู่แนวนี้จึงไม่สามารถออกแบบหรือเติมแต่งสรรพคุณ
พิเศษใดๆ ได้อีก
19
Natural Cold-Process soap สบู่ผลิตด้วยกระบวนการเย็นโดยธรรมชาติ
กรรมวิธีการผลิตรูปแบบนี้ เป็นกระบวนการผลิตสบู่ที่คงความเป็นธรรมชาติได้ดีที่สุดเหมือนเมื่อพันปีที่แล้วที่เกิด
สบู่ขึ้นบนโลกครั้งแรก
การผลิตจะเริ่มจากการนาเอาวัตถุดิบที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งมี กรด (acid) คือ น้ามันที่มีคุณประโยชน์ต่างๆ ทั้ง hard
oil ซึ่งทาหน้าที่สร้างรูปและตัวตนให้กับสบู่ ในฐานะ based oil เช่น น้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม
Exotic oil เช่น น้ามันราข้าว น้ามันมะกอก ซึ่งเป็นน้ามันหลักของความต้องการที่จะให้สบู่นั้นออกมาแล้วมี
ประโยชน์ด้านใดบ้าง
ส่วนด่าง (lie) คือตัวประกอบสาคัญที่จะทาให้เกิดปฏิกิริยา saponification ซึ่งในปัจจุบันนิยมการใช้ sodium
hydroxide กรณีต้องการผลิตสบู่ก้อน หรือ potassium hydroxide กรณีต้องการผลิตสบู่เหลว แทนการใช้ขี้เถ้า
จากการเผาไหม้ มาผสมกับน้าสะอาดเหมือนอดีต ทั้งนี้เนื่องจากความไม่เสถียรของค่าความเป็นด่างและความไม่
สะดวกในการจัดหา ซึ่ง sodium hydroxide และ potassium hydroxide วัตถุดิบทั้งสอง คือ น้าเกลือที่ทาให้มี
ความเข้มข้นสูงด้วยเทคนิคด้านประจุไฟฟ้ า จึงถือได้ว่ายังมีความเป็นธรรมชาติเพียงแต่มีความเข้มข้นมาก เกินกว่า
ที่ผิวมนุษย์จะรับได้
การเตรียมด่างต้องใช้ sodium hydroxide หรือ potassium hydroxide ผสมกับน้าอย่างถูกต้องตามหลักความ
ปลอดภัย ได้แก่ วิธีการผสม และอัตราส่วนในการผสม ซึ่งจะต้องมีความแม่นยาและเที่ยงตรงด้วยการคานวณหา
ค่า SAP Value ที่ถูกต้องเท่านั้นที่จะทาให้ได้สบู่ที่ดีหรือเหมาะสมที่สุดในแต่ละสูตร
จากนั้น เราสามารถเพิ่มเติมคุณประโยชน์จากธรรมชาติเข้าไปในตัวสบู่ได้ คือเพิ่ม active ingredient ต่างๆ ตามที่
ต้องการที่จะให้สบู่นั้นทาหน้าที่ เช่น นม น้าผึ้ง น้ามันเปลือกมังคุด ผงสาหร่าย ผงโคลน ฯลฯ แล้วเติมแต่งกลิ่น
พร้อมประโยชน์ด้วยน้ามันหอมระเหยตามต้องการ แต่ต้องมีการคานวณและประมาณอัตราส่วนที่ใช้อย่าง
พอเหมาะด้วย
20
สุดท้ายคือการผสมผสานทุกส่วนเข้าด้วยกันจนข้นได้ที่แล้วนาเข้าเก็บไว้ ที่เรียกว่า ageing จนกว่าสบู่จะคลายฤทธิ์
และแปรสภาพที่เป็นประโยชน์ต่อการอาบน้า
จะเห็นได้ว่าขั้นตอนและรายละเอียดต่างๆ เป็นไปตามธรรมชาติทั้งสิ้น โดยเราไม่ต้องนาความร้อนจากภายนอกไป
เร่งปฏิกิริยา saponification เลย จึงเป็นที่มาของชื่อ Natural Cold-process soap ซึ่งสบู่แนวนี้เปรียบเสมือนเรา
เลือกทานข้าวที่ไม่ผ่านกระบวนการขัดสีหรือเติมแต่ง เช่น ข้าวกล้อง นั่นเอง
ในการจัดทาโครงงาน เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีน ในครั้งนี้ได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว
ได้แก่ ขมิ้นชัน มะขาม อัญชัน และน้าผึ้ง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ทาสบู่ใช้เอง
สบู่ทาเองเป็นของขวัญชิ้นเยี่ยมและทาง่ายมาก เพียงมีกลีเซอรีนและเตาไมโครเวฟ ก็ลงมือได้เลย ตัดกลีเซอรีนที่
ส่วนใหญ่ จะมาขายเป็นท่อนๆ ให้เป็นลูกเต๋าขนาด 2 นิ้ว หย่อนกลีเซอรีนหลายๆก้อนใส่ภาชนะแก้ว เอาเข้าเตา
ไมโครเวฟไฟปานกลาง เอาออกมาดูทุกๆ 30 วินาที จนกว่าจะละลายใช้ได้ ถึงตรงนี้ให้เติมสีหรือกลิ่นที่คุณชอบ
จากนั้นรินกลีเซอรีนเหลวลงในพิมพ์สบู่หรือพิมพ์ขนม ถ้าไม่มีใช้ถ้วยพลาสติกโพลีสไตริน เทลงไปซัก 3 ใน 4 นิ้วจาก
ก้นถ้วย ทิ้งให้แข็งตัวราวครึ่งชั่วโมง
21
ขมิ้น
ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa Linnaeus
วงศ์ ZINGIBERACEAE
ชื่อสามัญอื่นๆ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่)
ขมิ้นชัน (กลาง,ใต้)
ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่)
ขมิ้นหัว (เชียงใหม่)
ขี้มิ้น (ตรัง,ใต้)
ตายอ (กะเหรี่ยงกาแพงเพชร)
สะยอ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
หมิ้น (ตรัง,ใต้)
22
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Curcuma lon
Kingdom: Plantae
Division: Magnoliophyta
Class: Liliopsida
Subclass: Zingiberidae
Order: Zingiberales
Family: Zingiberaceae
Genus: Curcuma
Species: C. longa
ขมิ้น เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้า
ขมิ้นชันมีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด
มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบรูปเรียวยาวปลายแหลมคล้ายใบพุทธรักษา ดอกออกเป็นช่อ มีก้านช่อแทงจาก
เหง้าโดยตรง ออกตรงกลางระหว่างใบคู่ในสุดดอกสีขาว มีแถบสีเหลือง
คาด มีกลีบประดับสีขาวหรือเขียว
23
ลักษณ์ทางพฤกษศาสตร์
ขมิ้นเป็นไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง 30-95 ซม. เหง้าใต้ดินรูปไข่มีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกด้านข้าง 2
ด้าน ตรงกันข้ามเนื้อในเหง้าสีเหลืองส้ม มีกลิ่นเฉพาะ ใบเดี่ยว แทงออกมาเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันรูปใบหอก
กว้าง 12-15 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอกช่อแทงออกจากเหง้า แทรกขึ้นมาระหว่างก้านใบ รูปทรงกระบอก กลีบดอกสี
เหลืองอ่อน ใบประดับสีเขียวอ่อนหรือสีนวล บานครั้งละ 3-4 ดอก ผล รูปกลมมี 3 พู
การปลูกเลี้ยง
ขมิ้นชอบอากาศค่อนข้างร้อนและมีความชุ่มชื้นในเวลากลางคืน วิธีปลูกใช้เหง้าแก่ที่อายุได้ 11 - 12
เดือน ทาพันธุตัดออกเป็นท่อนละ 1-2 ตา ปลูกลงแปลงหลังจาก 7 วันรากก็จะเริ่มงอกควรรดน้าทุกวัน หลังจากนั้น
เมื่อขมิ้นมีอายุได้ 9-10 เดือนจึงจะขุดเอามาใช้ได้
รสยาและสรรพคุณทางยา
เหง้าของขมิ้นมีรสฝาด กลิ่นหอม สามารถเก็บมาใช้เมื่อมีช่วงอายุ 9-10 เดือน มีฤทธิ์ในการฆ่า
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดการอักเสบ และ มีฤทธิ์ในการขับน้าดี น้ามันหอมระเหย ในขมิ้นชันมีสรรพคุณบรรเทา
อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด แก้โรคผิวหนัง ขับลม แก้ผื่นคัน แก้ท้องร่วง อาจช่วยรักษาโรค รูมาตอยด์ได้
ยังไม่ยืนยันแน่ชัด
ส่วนที่นามาใช้เป็นยา คือ เหง้า ( สดและแห้ง )
เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบ และ มีฤทธิ์ในการ ขับน้าดี น้ามัน
หอมระเหย ในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทา อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด
24
วิธีใช้ประโยชน์
การใช้ขมิ้นชัน แก้แพ้แก้อักเสบ แผล ฝีพุพอง แมลงสัตว์กัดต่อยภายนอก โดยใช้เหง้ายาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนกับน้า
ต้มสุกทาบริเวณที่เป็น วันละ 3 ครั้ง หรือใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการ ผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยได้
อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ แน่น จุกเสียด และอาหารไม่ย่อย ทาโดยใช้เหง้าขมิ้น ล้างให้สะอาด ไม่ต้องปอกเปลือกออก
หั่นเป็นชิ้นบางๆ ตากแดดจัดสัก 1-2 วัน บดให้ละเอียดผสมกับน้าผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย กินครั้งละ 2-3
เม็ด วันละ 3 -4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน แต่บางคนเมื่อกินยานี้แล้วแน่นจุกเสียดให้หยุดกินยานี้
นอกจากโรคเกี่ยวกับท้องแล้ว ขมิ้นยังมีสรรพคุณในการบารุงร่างกายและช่วยบารุงตับ รักษาระบบทางเดิน
หายใจที่ผิดปกติ หืด ไอ เวียนศีรษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออักเสบอีกด้วยคะเพราะว่ามีฤทธิ์ลด
การอักเสบ ลดปฏิกิริยาภูมิแพ้ เพิ่มภูมิคุ้นกันให้แก่ร่างกาย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนอง มีฤทธิ์ขับน้าดี
ช่วยในการย่อยและป้ องกันไม่ให้เป็นนิ่วในถุงน้าดี มีฤทธิ์ขับลม และมีการศึกษาการใช้ขมิ้นชันรักษาโรคกระเพาะใน
ประเทศไทย (โรงพยาบาลศิริราช) พบว่า ได้ผลดีพอควร
คุณค่าทางอาหาร
เหง้าขมิ้นพบว่ามี วิตามินเอ วิตามินซี นอกจากนั้นยังมีเกลือแร่ต่างๆอีกพอสมควร เป็นเครื่องปรุงรส แต่งสี
ได้ดีมาก
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
เหง้าขมิ้นมีสารประกอบที่สาคัญ เป็นน้ามันหอมระเหย "เอสเซนเซียล" และในเหง้ายังมีสารสีเหลืองส้ม ที่
ทาให้ขมิ้นได้ชื่อว่า Curcumin จากการทดลองพบว่าขมิ้นสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดอาการอักเสบ มีฤทธิ์
ในการขับน้าได้ดี น้ามันหอมระเหยในขมิ้นมีสรรพคุณรักษาปวดท้องเสียด ท้องอืด แน่นจุกเสียด ขมิ้นไม่มีพิษ
เฉียบพลัน มีความปลอดภัยสูง
25
การค้นพบสรรพคุณใหม่ๆ
สรรพคุณของขมิ้นชันมีอีกมากมาย เช่น การป้ องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด การชลอความแก่ การเป็น
สารต้านมะเร็งและเนื้องอกต่างๆ พบว่า การกินอาหารผสมขมิ้นสามารถทาลายเชื้อไวรัสที่ผ่านมาทางอาหารได้
รวมทั้งสามารถป้ องกันมะเร็งจากสารก่อมะเร็งต่างๆ และยังมีสรรพคุณในการต้านไวรัส โดยเฉพาะเชื้อ HIV อันเป็น
ต้นเหตุของโรคเอดส์ ขมิ้นชันจึงเป็นอีกความหวังหนึ่งของผู้ป่วยเอดส์
แต่การเลือกขมิ้นชันมากินนั้น หากต้องเลือกเอง ขุดเอง ควรเลือกขมิ้นชันที่ได้คุณภาพ คือ ขมิ้นชันต้องมี
อายุอย่างน้อย 9-12 เดือน จึงสามารถขุดเหง้ามาทายาได้ และต้องไม่เก็บไว้นานเกินไป จนน้ามันหอมระเหยหาย
หมด และต้องไม่ลืมว่า แสงมีปฏิกิริยากับสาระสาคัญคือ เคอร์คิวมินในขมิ้นชัน จงต้องเก็บให้พ้นแสงด้วยนะคะ
มิฉะนั้นจะได้รับประทานแต่การขมิ้นชันแน่ๆ ค่ะ จะเห็นได้ว่าขมิ้นชันนั้นสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งทาและกิน
เชียวนะคะ
ในสมัยก่อนนั้น ภูมิปัญญาท้องถิ่นพื้นบ้านของไทยได้มีการนาขมิ้นมาใช้ประกอบอาหารหลายชนิด ใช้ปรุงแต่งกลิ่น
และรสในอาหาร โดยเฉพาะอาหารทางภาคใต้ เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา แกงกะหรี่ ไก่ทอดขมิ้น เป็นต้น นับเป็น
ความฉลาดของคนใต้ ที่หาวิธีกินขมิ้นในชีวิตประจาวัน
สาหรับสาวๆ แล้วการใช้ขมิ้นทาผิวหน้าจะทาให้ผิวหน้านุ่มนวล คนมาเลเซียและคนไทยสมัยก่อนจะใช้
ขมิ้นในการอาบน้า ทาให้ผิวผ่องยิ่งขึ้น วิธีการอาบน้าด้วยขมิ้นนั้น จะทาขมิ้นหมักไว้ที่ผิวหนังสักพัก แล้วจึงขัดออก
ด้วย ส้ม มะขามเปียก นอกจากทาให้ผิวหนังนุ่มนวลแล้ว ขมิ้นยังมีสรรพคุณในการป้ องกันการงอกของขน ผู้หญิง
อินเดียจึงใช้ขมิ้นทาผิวหนัง เพื่อป้ องกันไม่ให้ขนงอก คนพม่าเชื่อว่าถ้าใช้ขมิ้นผสมสมุนไพร ที่ชื่อทาคาน่า ทาผิวเด็ก
สาวตั้งแต่ยังเล็กๆ จะทาให้เนื้อผิวละเอียดสวยชนิดที่หนุ่มมองได้ไม่วางตาเชียวคะ
26
มะขามเปียก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica
ชื่อสามัญ : Tamarind, Indian date
วงศ์ : Leguminosae - Caesalpinioideae
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Kingdom: Plantae
Division: Magnoliophyta
Class: Liliopsida
Order: Fabales
Fabales Fabaceae
Genus: Tamarindus
Species: T. indica
27
มะขามเป็นไม้เขตร้อน มีถิ่นกาเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดานต่อมามีการนาเข้ามาในประเทศแถบเขต
ร้อนของเอเชียและประเทศแถบละตินอเมริกาและในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก
ชื่อมะขามในภาคต่างๆ เรียก มะขามไทย (ภาคกลาง) ขาม (ภาคใต้) ตะลูบ (โคราช) ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-
กาญจนบุรี) อาเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า tamarind หรือ Indian date ซึ่งแปลมาจาก
ภาษาอาหรับ: ‫تمر‬‫هندي‬ (tamr hindī)
มะขามเป็นต้นไม้ประจาจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งมีคาขวัญประจาจังหวัดว่า "เมืองมะขามหวาน อุทยานน้า
หนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง"
ลักษณะเฉพาะ
มะขามเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาด ใหญ่แตกกิ่งก้านสาขามากไม่มีหนาม เปลือกต้นขรุขระและ
หนา สีน้าตาลอ่อน ใบเป็นใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรูป ขอบขนาน ปลายใบและ
โคนใบมน ประกอบ ด้วยใบย่อย 10–15 คู่ แต่ละใบย่อยมีขนาดเล็ก กว้าง 2–5 มม. ยาว 1–2 ซม. ออกรวมกันเป็น
ช่อยาว 2–16 ซม. ดอก ออกตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดง/ม่วงแดงอยู่กลาง
ดอก ผล เป็นฝักยาว รูปร่างยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมีเปลือกสีเขียวอมเทา สีน้าตาลเกรียม เนื้อในติด
กับเปลือก เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สีน้าตาล เนื้อในกลายเป็นสีน้าตาลหุ้มเมล็ด เนื้อมีรส
เปรี้ยว และ/หรือหวาน ซึ่งฝักหนึ่ง ๆ จะมี/หุ้มเมล็ด 3–12 เมล็ด เมล็ดแก่จะแบนเป็นมัน และมีสีน้าตาล ใบของ
มะขามเป็นใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) ใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากก้าน 2 ข้างของ
แกนกลาง คล้ายขนนก ถ้าปลายสุดของใบจะเป็นใบย่อยเพียงใบเดียวเรียก แบบขนนกคี่ (odd pinnate) เช่น
กุหลาบ อัญชัน ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรียกแบบขนนกคู่ (even pinnate) เช่น มะขาม
การปลูกมะขาม ทาได้โดยเตรียมดินโดยขุดหลุมกว้าง ยาวและลึกด้านละ 60 ซม. ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักคลุกเคล้า
ดินรองก้นหลุมเอากิ่งพันธุ์ลงปลูก รดน้าให้ชุ่ม มะขามเมื่อลงดินแล้วจะโตเร็ว ควรใช้ไม้หลักพยุงไว้ให้แน่น และการ
บารุงรักษาหลังเริ่มปลูก ควรเอาใจใส่ดายหญ้ารอบต้น และรดน้าทุกวัน
28
การปลูกเลี้ยง
การขยายพันธุ์ : นิยมขยายพันธุ์โดยการทาบกิ่ง ติดตาหรือต่อกิ่ง เพราะได้ผลเร็วและไม่ทาให้กลายพันธุ์
สภาพดินฟ้ าอากาศ : ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิดแม้แต่ดินเลว เช่นดินลูกรัง เจริญได้ดีในดินร่วนปนดินเหนียว ทนแล้ง
ได้ดี ฤดูปลูกที่เหมาะสม คือต้นฤดูฝน
ควรหาเศษหญ้าฟางคลุมโคนจนกว่าต้นจะแข็งแรง ควรฉีดยาป้ องกันโรคราแป้ งและแมลงพวกหนอนเจาะฝัก ด้วง
เจาะเมล็ด ในระยะที่เป็นดอกอยู่
ประโยชน์ของมะขาม
คุณค่าทางโภชนาการ : ยอดอ่อนและฝักอ่อนมีวิตามิน เอ มาก มะขามเปียกรสเปรี้ยวทาให้ชุ่มคอ ลดความร้อน
ของร่างกายได้ดี เนื้อในฝักมะขามที่แก่จัด เรียกว่า "มะขามเปียก" ประกอบด้วยกรดอินทรีย์หลายตัว เช่น กรดทาร์ท
ทาร์ริค กรดซิตริค เป็นต้น ทาให้ออกฤทธิ์ ระบายและลดความร้อนของร่างกายลงได้ แพทย์ไทยเชื่อว่า รสเปรี้ยวนี้จะ
กัดเสมหะให้ละลายได้ด้วย
มะขามเปียกอุดมด้วยกรดอินทรีย์ อาทิ กรดซิตริค (Citric Acid) กรดทาร์ทาริค(Tartaric Acid) หรือกรดมาลิค
(Malic Acid) เป็นต้น มีคุณสมบัติชาระล้างความสกปรกรูขุมขน คราบไขมันบนผิวหนังได้ดีมาก
สารที่มีคุณประโยชน์
1. ยอดอ่อนของมะขามมีวิตามินเอ และวิตามิน ซื สูง
2. มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน กากใบ
3. แคลเซี่ยมและฟอสฟอรัส
4. มะขามเปียกมีสารกรดอินทรีย์ เช่น กรดซิตริค กรดทาทาริค กรดมาลิค
5. มีสารพวกกัม (gum) และ เพคติน (pectin)
29
ส่วนที่ใช้เป็นยา : เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) เปลือกต้น (ทั้งสดหรือแห้ง) เนื้อในเมล็ด
สรรพคุณทางยา :
ราก - แก้ท้องร่วง สมานแผล รักษาเริม และงูสวัด
เปลือกต้น - แก้ไข้ ตัวร้อน
แก่น - กล่อมเสมหะ และโลหิต ขับโลหิต ขับเสมหะ รักษาฝีในมดลูก รักษาโรคบุรุษ เป็นยาชักมดลูกให้เข้าอู่
ใบสด (มีกรดเล็กน้อย) - เป็นยาถ่าย ยาระบาย ขับลมในลาไส้ แก้ไอ แก้บิด รักษาหวัด ขับเสมหะ หยอดตา
รักษาเยื่อตาอักเสบ แก้ตามัว ฟอกโลหิต ขับเหงื่อ ต้มผสมกับสมุนไพรอื่นๆ อาบหลังคลอดช่วยให้สะอาดขึ้น
เนื้อหุ้มเมล็ด - แก้อาการท้องผูก เป็นยาระบาย ยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ กระหายน้า เป็นยาสวนล้างท้อง
ฝักดิบ - ฟอกเลือด และลดความอ้วน เป็นยาระบายและลดอุณหภูมิในร่างกาย บรรเทาอาการไข้
เมล็ดในสีขาว - เป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือนตัวกลมในลาไส้ พยาธิเส้นด้าย
เปลือกเมล็ด - แก้ท้องร่วง แก้บิดลมป่วง สมานแผลที่ปาก ที่คอ ที่ลิ้น และตามร่างกาย รักษาแผลสด ถอนพิษ
และรักษาแผลที่ถูกไฟลวก รักษาแผลเบาหวาน
เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) - รับประทานจิ้มเกลือ แก้ไอ ขับเสมหะ
ดอกสด – เป็นยาลดความดันโลหิตสูง
30
วิธีและปริมาณที่ใช้ในการรักษา :
1. เป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือน ตัวกลม ตัวเส้นด้าย ได้ผลดี
ใช้เมล็ดคั่วกะเทาะเปลือกออก แล้วเอาเนื้อในเมล็ดแช่น้าเกลือจนนุ่ม รับประทานเนื้อทั้งหมด ครั้งละ 20-
30 เมล็ด
2. เป็นยาระบาย ยาถ่าย
- ใช้เนื้อที่หุ้มเมล็ด (มะขามเปียก) แกะเมล็ดแล้วขนาด 2 หัวแม่มือ (15-30 กรัม) จิ้มเกลือรับประทาน แล้ว
ดื่มน้าตามมากๆ
- เอามะขามเปียกละลายน้าอุ่นกับเกลือ ฉีดสวนแก้ท้องผูก
3. แก้ท้องร่วง
-เมล็ดคั่วให้เกรียม กะเทาะเปลือกรับประทาน
-เปลือกต้น ทั้งสดและแห้ง ประมาณ 1-2 กามือ (15-30 กรัม) ต้มกับน้าปูนใส หรือ น้า รับประทาน
4. รักษาแผล
เมล็ดกะเทาะเปลือก ต้ม นามาล้างแผลและสมานแผลได้
5. แก้ไอและขับเสมหะ
ใช้เนื้อในฝักแก่ หรือมะขามเปียก จิ้มเกลือรับประทานพอควร
6. เป็นยาลดความดันสูง
ใช้ดอกสด ไม่จากัดจานวน ใช้แกงส้มหรือต้มกับปลาสลิดรับประทาน
31
สารเคมี :
ใบ มี Alcohols, phenolic esters and ethers. Sambubiose, Carboxylic acid, Oxalic acid
ดอก มี Oxoglutaric acid, Glyoxalic acid , Oxaloacetic acid
ผล มี Alcohols, Aldehydes; Citric acid Ketones, Vitamin B1, Essential Oil, Enzyme
เมล็ด มี Phosphatidylcholine, Proteins Glutelin, Albumin, Prolamine, Lectin
คติความเชื่อ
ตามตาราพรหมชาติฉบับหลวง ถือว่ามะขามเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งที่ควรปลูกไว้ทางทิศตะวันตก
(ประจิม) ของบ้าน เพื่อป้ องกันสิ่งไม่ดี ผีร้ายมิให้มากล้ากลาย อีกทั้งต้นมะขามยังเป็นต้นไม้ที่มีชื่อเป็นมงคลนาม
ถือกันเป็นเคล็ดว่าจะทาให้มีแต่คนเกรงขาม
32
น้าผึ้ง
น้าผึ้ง
น้าผึ้ง คือน้าหวานที่ผึ้งเก็บมาจากต่อมน้าหวานของดอกไม้ (nectar) โดยผึ้งจะกลืนน้าหวานลงสู่กระเพาะ
น้าหวาน ซึ่งจะมีเอนไซม์ช่วยย่อยน้าหวานแล้วนามาเก็บไว้ในหลอดรวงผึ้ง จากนั้นน้าผึ้งค่อยๆ บ่มตัวเองโดยการ
ระเหยน้าออกไปจนน้าผึ้งมีปริมาณน้าตาลที่เข้มข้นขึ้นจนได้ระดับที่เหมาะสมกับการเก็บรักษาผึ้งงานก็จะปิดฝา
หลอดรวง เราเรียกน้าผึ้งนี้ว่า “น้าผึ้งสุก” เป็นน้าผึ้งที่ได้มาตรฐาน คือมีน้าอยู่ไม่เกิน 20-21 เปอร์เซ็นต์
ความหมายของน้าผึ้ง
น้าผึ้ง เป็นผลิตผลของน้าหวานจากดอกไม้ และจากแหล่งน้าหวานอื่น ๆ ที่ผึ้งงานนามาเก็บสะสมไว้ และ
ผ่านขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และทางกายภาพบางประการ แล้วสะสมไว้ในรังผึ้ง
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน

More Related Content

What's hot

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 

What's hot (20)

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 

Viewers also liked

กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่ทับทิม เจริญตา
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่Fearn_clash
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (12)

กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
Is3 สายใยสู่สูงวัย
Is3 สายใยสู่สูงวัยIs3 สายใยสู่สูงวัย
Is3 สายใยสู่สูงวัย
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ไอเอส ม.3
ไอเอส ม.3ไอเอส ม.3
ไอเอส ม.3
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to โครงงาน

โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมjirapatte
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.PunyanuchChaomanadec
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 

Similar to โครงงาน (20)

M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
261011165736
261011165736261011165736
261011165736
 
261011165736
261011165736261011165736
261011165736
 
ตย.โครงงาน
ตย.โครงงานตย.โครงงาน
ตย.โครงงาน
 
261011165736
261011165736261011165736
261011165736
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
M6 126 60_5
M6 126 60_5M6 126 60_5
M6 126 60_5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 

More from ธญานี อุตรนคร

ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ธญานี อุตรนคร
 

More from ธญานี อุตรนคร (20)

Cream polished silverware
Cream polished silverwareCream polished silverware
Cream polished silverware
 
ข้อสอบ O net 54
ข้อสอบ O net 54ข้อสอบ O net 54
ข้อสอบ O net 54
 
เฉลย Gat 52
เฉลย Gat 52เฉลย Gat 52
เฉลย Gat 52
 
ข้อสอบ Gat 52 part 2
ข้อสอบ Gat 52 part 2ข้อสอบ Gat 52 part 2
ข้อสอบ Gat 52 part 2
 
ข้อสอบ Gat 52 part 1
ข้อสอบ Gat 52 part 1ข้อสอบ Gat 52 part 1
ข้อสอบ Gat 52 part 1
 
เฉลย O net 54
เฉลย O net 54เฉลย O net 54
เฉลย O net 54
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
ข้อสอบ O net 53
ข้อสอบ O net 53ข้อสอบ O net 53
ข้อสอบ O net 53
 
เฉลย O net 52
เฉลย O net 52เฉลย O net 52
เฉลย O net 52
 
ข้อสอบ O net 52
ข้อสอบ O net 52ข้อสอบ O net 52
ข้อสอบ O net 52
 
เฉลย O net 51
เฉลย O net 51เฉลย O net 51
เฉลย O net 51
 
ข้อสอบ O net 51
ข้อสอบ O net 51ข้อสอบ O net 51
ข้อสอบ O net 51
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
P10
P10P10
P10
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
Gat
GatGat
Gat
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
03 e
03 e03 e
03 e
 
02 e
02 e02 e
02 e
 

โครงงาน

  • 1. 1 โครงงาน เรื่อง สบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาติ คณะผู้จัดทา นาย จาลอง ศิริสุข รหัสนักศึกษา 532-300-1516 น.ส. ภริดา จิ๊ดชัง รหัสนักศึกษา 531-300-2404 น.ส. จิรวรรณ ขุมทรัพย์ รหัสนักศึกษา 532-300-1561 น.ส. นารีรัตน์ พูลพาน รหัสนักศึกษา 531-300-3773 น.ส. นันทิดา นวลประดิษฐ์ รหัสนักศึกษา 531-300-2392 นาเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เกษแก้ว อินทรโสภา โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ( พว 03010 ) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ เขตตาบลนาจอมเทียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 / ปีการศึกษา 2554
  • 2. 2 บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาตินี้จัดทาขึ้นเพื่อ เรียนรู้วิธีการ ทาสบู่ เพราะสบู่เป็นของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่ง สกปรก ออกจากร่างกาย ซึ่งคนส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้ดีมากๆ จนไม่ คานึงถึงผล เสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความ เหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล บางชนิดก็ผสมสมุนไพร บางชนิดก็ผสมสารเคมี เช่น Triclocarban เพื่อ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งผู้ใช้บางรายอาจเกิดอาการแพ้สารเคมี หากใช้บ่อยเกินไป แต่เรารู้จักสบู่เหล่านั้น ดีเพียงไร และจะมีสัก กี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อนมี ส่วนประกอบสาคัญอะไรบ้าง สบู่ ที่ดีจะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว ซึ่งนอกจากจะทาให้สบู่ที่ได้ทาความ สะอาด ผิวได้ดีแล้ว ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็น สิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน หาก เราคัดสรร สบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้เรามีสุขภาพผิวของที่ดี อยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน สบู่เกิดจากการทาปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (โซเดียมไฮดรอกไซด์) กับน้ามัน ซึ่งจะ เป็นน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ก็ได้ ปฏิกิริยาเคมีเช่นนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะได้ของแข็งลื่นมีฟอง เป็นส่วนผสมของสบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรีน 1 ส่วน ในโรงงานอุตสาหกรรมได้สกัดเอากลีเซอรีนออกไป เราจึงได้ใช้เนื้อสบู่ล้วนๆ หรือมีส่วนผสมของกลีเซอรีนเพียงเล็กน้อย ส่วนการผลิตสบู่ธรรมชาติ เป็น กระบวนการผลิตแบบเย็น ซึ่งสารสกัด กลีเซอรีนยังคงมีอยู่ในเนื้อสบู่ ทาให้ผิวมีความชุ่มชื้นเมื่อใช้ สบู่ชนิดนี้สบู่ที่เกิดจากกระบวนนี้เองที่เราเรียกกันว่า สบู่ธรรมชาติ นับเป็นสบู่แท้ที่เราไม่ต้องไปแต่ง เติมอะไรอีกเลย สบู่ธรรมชาตินี้ก็มีคุณสมบัติของสบู่ที่ดีที่สุดสาหรับผิวเรา ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอย การผลิตสบู่สมุนไพรใช้เอง น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งที่ลดค่าใช้จ่าย ช่วยเหลือเศรษฐกิจประชาชนชุมชนได้มาก เพราะวัตถุดิบหลักที่ใช้เป็นวัสดุที่ผลิตเองในประเทศ เกษตรกรสามารถปลูกพืชน้ามัน และสกัดน้ามันโดยวิธรการง่าย ๆ นามาใช้เป็นวัตถุดิบหลัก นอกจากนี้ในแหล่งชุมชนที่ มีไขมันสัตว์เหลือใช้ อีกทั้งสมุนไพร หาได้ในประเทศมากมาย การผลิต สบู่ผสมสมุนไพร จึงเป็นการสนับ สนุน การนาสารจากวัสดุธรรมชาติที่ผลิตได้เองมาใช้ประโยชน์อย่าง คุ้มค่าราคาถูก ประหยัดและใช้ได้ ง่าย จึงน่าที่จะผลิตสบู่สมุนไพร เพื่อนามาใช้ชาระล้างทาความ สะอาดร่างกายและของใช้หรือใช้ซักเสื้อ ผ้าแทนผงซักฟอกได้ ก่อนที่จะทาการผลิตสบู่สมุนไพร จาเป็นต้องศึกษาวิธีการผลิตอย่างละเอียดก่อน เพื่อความปลอดภัยและและจะได้สบู่ที่มีคุณภาพดี
  • 3. 3 กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาติ ในครั้งนี้ คณะ ผู้จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลภายนอก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง ในค่ายศูนย์ฝึกทหารใหม่และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ ชาวบ้านในแถบพื้นที่ใกล้เคียง ที่ให้ คาแนะนาปรึกษาเกี่ยวกับกลีเซอรีนธรรมชาติที่ทางกลุ่มแม่บ้านได้ทาการผลิตกันขึ้นมาเองจากวัตถุดิบ ที่ปลอดสารเคมี และได้ให้คาแนะนาในเรื่องของการทาสบู่ วิธีการทาสบู่อย่างถูกต้องและถูกวิธี ตลอดจน อธิบาย ถึงการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการนามาทาสบู่และสามารถนาไป ลงมือปฏิบัติ จริง ขอขอบคุณ คุณวิภาดา ขุมทรัพย์ คุณแม่ของผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ ในการปฏิบัติ งาน อีกทั้งยังให้ยืมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการทาสบู่อีกด้วย ขอขอบคุณ คุณจาลอง ศิริสุข ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่พาไปหาแหล่งข้อมูลในการทา ร่วมทั้งยังพาไปพบ กลุ่มแม่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ในค่ายศูนย์ฝึกทหารใหม่และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ขอขอบคุณ คุณ ภริดา จิ๊ดชัง ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่ช่วยออกแบบโลโก้ที่นามาติดถุงแก้วที่ใช้ในการ แพ็คสบู่ และยังช่วยหาซื้ออุปกรณ์ชนิดต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการทาสบู่อีกด้วย ขอขอบคุณ คุณ จิรวรรณ ขุมทรัพย์ ผู้จัดทาท่านหนึ่ง ที่ออกแบบสบู่ที่จะทา ตามชนิดของสมุนไพร ชนิดต่างๆ อีกทั้งยังอานวยความสะดวกในเรื่องของการพิมพ์เอกสาร เรียบเรียงเนื้อหาโครงงาน หาข้อมูลต่างๆ ร่วมถึงการปริ้นท์เอกสารและทาการเข้ารูปเล่มให้เรียบร้อย และบุคคลที่ทาให้การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ก็เพราะความช่วยเหลือ อย่างดียิ่งของ อาจารย์ เกษแก้ว อินทรโสภา ที่อนุมัติเห็นชอบในการจัดทาโครงงาน ชิ้นนี้และได้ให้ คาแนะนาปรึกษาในการทาโครงงานอย่างเป็นกันเอง รวมทั้งแนวคิด ตลอดจนข้อบกพร่องต่างๆ ที่ต้อง แก้ไข ทาให้คณะผู้จัดทาสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานชิ้นนี้ได้ จนโครงงานเรื่องนี้ เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สบู่ เป็นเครื่องสาอางชนิดหนึ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เดิมใช้เพื่อทาความสะอาด ร่างกายเท่านั้น ปัจจุบันกระบวนการผลิตสบู่ มีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เพื่อให้สบู่มีสรรพคุณตรงตาม ความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น เช่น มีสีสรรที่สวยงามน่าใช้ มีกลิ่นหอม และมีสรรพคุณทางยา ในทางการค้า มีการใช้สารสังเคราะห์เพิ่มขึ้นทาให้ผลิตภัณฑ์น่าใช้ บรรจุภัณฑ์สวยงามแต่แฝงไป ด้วยสารเคมีที่เป็นอันตราย มีพิษตกค้างและราคาสูง ปัจจุบันนิยมใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในธรรมชาติ มาเป็นส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ แทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ พืชสมุนไพรที่ใช้ มีสาระสาคัญและมี สรรพคุณทางยา เช่น มีน้ามันหอมระเหยที่มีกลิ่นเฉพาะใช้ในการบาบัดโรค มีสีสรรสวยงาม หาง่าย ราคาถูก ประหยัด ปลอดภัย ไร้สารสังเคราะห์ และไม่มีพิษตกค้าง ทาให้สบู่สมุนไพรที่ผลิตขึ้นจาก ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีคุณลักษณะเฉพาะที่หลากหลาย จึงเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นถึงความมหัศจรรย์ ของสบู่สมุนไพรที่มีคุณค่ายิ่งของภูมิปัญญาไทย เชื่อว่าทุกคนไม่ว่าจะเป็นเพศไหน วัยไหน หรือชาติไหน คงไม่มีใครไม่รู้จักหรือไม่เคยใช้ “สบู่” ในการ นามาถู ผสมกับน้าเพื่อชาระล้างสิ่งสกปรกและทาความสะอาดร่างกาย ที่มาตั้งแต่สมัยโบราณ เพราะในการใช้ชีวิตประจาวันของคนทุกคนต้องมีการอาบน้ากันอยู่ทุกวัน โดยปกติคนส่วนใหญ่เฉลี่ย ก็อาบน้าวันละสองครั้ง และปัจจุบันนี้ สบู่ก็มีมากมายหลาย ชนิดให้ได้เลือกใช้ ตามความเหมาะสม และความชอบของแต่ละบุคคล แต่จะมีใครทราบหรือไม่ว่าสบู่ส่วนใหญ่ที่ใช้กันอยู่ล้วนแล้วแต่มีส่วน ผสมที่ เป็นพิษของสารซักฟอก และสารเคมี และเศษที่หลงเหลือในอุตสาหกรรม จากการกลั่นน้ามัน และปิโตรเลียม เคมีรวมถึงวัตถุกันเสีย ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนส่งผลร้ายต่อสัตว์และคน และที่มากกว่านั้น คือ ผิวสามารถดูดซึมของเสียเหล่านี้ได้ถึง 60% ดังนั้นทางเราจึงได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทาสบู่ แล้วจัดทาสบู่สมุนไพรขึ้นมาจากกลีเซอรีน ธรรมชาติ ที่ใช้ได้ผลอย่างดียิ่ง อีกทั้งยังไม่มีสารเคมีหรือสารพิษปนมาอีกด้วย สบู่นั้นเป็นผลจาก ปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (Sodium Hydroxide หรือ Potassium Hydroxide) กับ น้ามัน ซึ่งในที่นี้ทา มาจากน้ามันมะพร้าว ปฏิกิริยาเคมีนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะทาให้ได้เกลือ ในรูปของแข็งที่ลื่นและ มีฟอง ที่เราเรียกกันว่าสบู่ โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มักจะใช้กากน้ามัน ปิโตรเลียมเป็นเบสในการทาสบู่ ซึ่งโมเลกุลของน้ามันปิโตรเลียมจะมีขนาดใหญ่จนผิวไม่สามารถซึม ซับได้ และยังก่อให้เกิดอาการ อุดตันได้อีกด้วย นอกจากนี้ส่วนประกอบสาคัญทุกชนิดที่ใช้ใน กระบวนการผลิต ยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากธรรมชาติ คุณจึงมั่นใจได้ว่าไม่มีสารสังเคราะห์ใดๆ เจือ ปนอยู่ในสบู่ จึงเป็นสบู่ธรรมชาติที่มีความปลอดภัย
  • 5. 5 จุดมุ่งหมายในการทาโครงงาน 1. เพื่อทาสบู่จากกลีเซอรีนธรรมชาติ 2. เพื่อศึกษาวิธีการทาสบู่สมุนไพร 3. เพื่อนาสบู่ที่ทามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง 4. เพื่อการลงมือปฏิบัติจริง 5. เพื่อเป็นประสบการณ์ในด้านของการศึกษาและเรียนรู้นอกสถานที่ 6. เพื่อเป็นหนทางหารายได้และนาไปประกอบธุรกิจในขั้นต่อไป 7. เพื่อฝึกการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ 8. เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการ การแก้ปัญหา ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 9. เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ในการทารูปแบบต่างๆของสบู่ 10. เพื่อศึกษาสรรพคุณของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่จะนามาเป็นส่วนผสมในการทาสบู่ 11. เพื่อให้มีสบู่ที่ผลิตจากสมุนไพรธรรมชาติ 12. เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป
  • 6. 6 สมมติฐาน 1. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติผสมสมุนไพรต่างชนิดกัน สามารถทาความสะอาดผิวกายได้ ต่างกัน 2. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติที่ผสม มะขามกับน้าผึ้ง ทาความสะอาดผิวได้ดีที่สุด 3. สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติไม่มีสารเคมีใดๆจึงไม่เป็นโทษต่อร่างกาย ตัวแปรต้น สบู่กลีเซอรีนธรรมชาติ ตัวแปรตาม ความสะอาดของผิวกาย ตัวแปรควบคุม ปริมาณสบู่ผสมสมุนไพร นิยามเชิงปฏิบัติการ สบู่สมุนไพรที่ทาขึ้น ทามาจากกลีเซอรีนที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มีสารเคมีปนเปื้อน ก็เพื่อที่จะ ไม่ให้ มีสารพิษตกค้างในร่างกาย สบู่ธรรมชาติ คือ สบู่ที่เกิดจากกระบวนการซาปอนนิฟิเคชั่น (Saponification)ของไขมัน หรือน้ามัน จากพืชและสัตว์ที่ทาปฏิกิริยาทางเคมีกับสารละลายด่าง (โซเดียมไฮดรอกไซด์) จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นของแข็ง ลื่น มีฟอง สามารถละลายและล้างออกด้วยน้า สบู่ธรรมชาติไม่ถูกสกัดเอากลีเซอรีนออก ไม่มีการเติมสารเคมี สารเกิดฟอง (detergent) แต่อาจเติมสมุนไพร หรือน้ามันหอมระเหยลงไปเท่านั้น คุณสมบัติของสบู่ คือ ใช้ทา ความสะอาด ชาระล้างสิ่งสกปรก หรือเป็นสารช่วยลดแรงตึงผิว (surfactant) ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ดังนี้ ไขมันหรือน้ามัน + (ด่าง และ น้า) สบู่ + กลีเซอรีน Fat/oil (lye + water) Soap + Glycerine
  • 7. 7 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า การทาสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาตินั้น จะได้สบู่สมุนไพรหลากหลายรูปแบบ และหลากหลายชนิด ก็ขึ้นอยู่กับแบบพิมพ์ที่จะนามาพิมพ์สบู่กับสมุนไพรชนิดต่างๆที่นามา ผสมกับกลีเซอรีน ทาให้ได้สบู่ตามที่เราต้องการ โดยสบู่ที่ได้มานั้นจะไม่มีสารพิษหรือสารเคมี ใดๆที่จะตกค้างภายในร่างกายของเราได้เลย เมื่อเรานาสบู่ที่ทามาใช้ เพราะส่วนผสมที่นา มาทานั้น ล้วนแล้วแต่ทามาจากธรรมชาติทั้งสิ้น
  • 8. 8 เอกสารที่เกี่ยวข้อง สบู่ สบู่ เป็นสิ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เช่น การอาบน้า การล้างมือ สบู่จะช่วยละลายไขมัน ทาให้ การชาระล้างสะอาดมากขึ้น สบู่คืออะไร สบู่ (soap) คือสารเคมีที่เกิดจากการทาปฏิกิริยากันระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์(ด่าง,โซดาไฟ, (NaOH,) และน้ามัน ที่มาจากสัตว์หรือพืช มีส่วนผสมระหว่างกรด(ไขมัน)กับเบส(ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้สามารถทาความสะอาดได้ดี และไม่เป็นอันตราย ต่อผิว คือมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8-10 ใช้ชาระล้างร่างกายควบคู่กับการอาบน้า ทามาจากไขมันสัตว์ผสมกับน้าหอม โซดาไฟ และวัตถุดิบอื่นๆ
  • 9. 9 สบู่ก้อน คือส่วนผสมระหว่างกรด(ไขมัน)กับเบส(ด่าง) ในอัตราส่วนที่ทาให้สามารถทาความสะอาดได้ดี และไม่เป็นอันตรายต่อผิว คือมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8-10 (ในเอกสารจดแจ้งของ อย.ให้ผู้ผลิตสบู่ก้อนระบุว่ามี ค่า ph ไม่เกิน 11) กรดหรือกรดไขมัน เช่นน้ามันพืช ไขมันสัตว์ เบส เช่นโซดาไฟ โดยทั่วไปอัตราส่วนผสมที่ เหมาะสมคือเมื่อผสมกันแล้วควรจะเหลือกรดไขมันอยู่ประมาณ 5% หากไม่มีเครื่องมือในการวัดค่า pH ให้เก็บสบู่ เอาไว้อย่างน้อย 15-30 วันเพื่อให้ค่า pH ลดลง อยู่ในอัตราที่เหมาะสม
  • 10. 10 กรด(ไขมัน)และเบส(ด่าง)ที่นามาทาสบู่ ไขมันแต่ละชนิดประกอบด้วยกรดไขมันมากกว่า 1 ชนิด ตาม ธรรมชาติกรดไขมันเหล่านี้จะไม่อยู่อิสระ แต่รวมตัวกับสารกลีเซอรอลในไขมันอยู่ในรูปกลีเซอไรด์ เมื่อด่างทา ปฏิกิริยากับกรดไขมัน กรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ รวมตัวเป็นสบู่ สารที่เกาะอยู่กับกรดไขมันก็จะหลุด ออกมาเป็นกลีเซอรีน ปฏิกิริยาของ กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ว จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน เช่น กรดลอริก (lauric acid) มีมากในน้ามันมะพร้าว เป็นกรดไขมันที่ทาปฏิกิริยากับด่างแล้วให้สารที่มีฟองมาก เป็นต้น คุณสมบัติของสบู่ที่ได้จากกรดไขมันต่างชนิดกัน 1. น้ามันมะพร้าว สบู่ที่ผลิตได้มีเนื้อแข็ง กรอบ แตกง่าย สีขาวข้น มีฟองมากเป็นครีม ให้ฟองที่คงทนพอควร เมื่อใช้แล้วทาให้ผิวแห้ง 2. น้ามันปาล์ม ให้สบู่ที่แข็งเล็กน้อย มีฟองน้อย ฟองคงทนอยู่นาน มีคุณสมบัติในการชะล้างได้ดี แต่ทาให้ผิว แห้ง 3. น้ามันราข้าว ให้วิตามินอีมาก ทาให้สบู่มีความชุ่มชื้น บารุงผิว ช่วยลดความแห้งของผิว 4. น้ามันถั่วเหลือง เป็นน้ามันที่เข้าได้ดีกับน้ามันอื่น ให้ความชุ่มชื้น รักษาผิว แต่เก็บไว้ได้ไม่นาน มีกลิ่นหืน ง่าย 5. น้ามันงา เป็นน้ามันที่ให้วิตามินอี และให้ความชุ่มชื้น รักษาผิว แต่มีกลิ่นเฉพาะตัว 6. น้ามันมะกอก ทาให้ได้สบู่ที่แข็งพอสมควร ใช้ได้นาน มีฟองเป็นครีมนุ่มนวลมาก ให้ความชุ่มชื้น ไม่ทาให้ ผิวแห้ง 7. น้ามันละหุ่ง ช่วยทาให้สบู่มีฟองขนาดเล็กจานวนมาก ทาให้สบู่เป็นเนื้อเดียวกันดี สบู่ไม่แตก ทาให้สบู่มี ความนุ่มเนียน และช่วยให้ผิวนุ่ม 8. น้ามันเมล็ดทานตะวัน ทาให้สบู่นุ่มขึ้น แต่ฟองน้อย 9. ไขมันวัว จะได้สบู่ที่มีเนื้อแข็งสีขาวอายุการใช้งานนานมีฟองน้อย ทนนาน แต่นุ่มนวล 10. ไขมันหมู จะได้สบู่ที่มีเนื้อแข็ง อายุการใช้งานนาน ฟองน้อย แต่ทนนาน 11. ขี้ผึ้ง ได้สบู่เนื้อแข็ง อายุการใช้งานนาน ฟองน้อย แต่ทนนาน 12. ไขมันแพะ ได้สบู่เนื้อนุ่ม ได้ความชุ่มชื้นแก่ผิว ผิวนุ่มเนียน
  • 11. 11 เบส(ด่าง)ที่ใช้มี 3 ชนิด คือ 1. ขี้เถ้า ใช้ในการผลิตสบู่ในสมัยโบราณ ปัจจุบันมีการพัฒนาใช้เป็นด่างแทน 2. โซดาไฟ หรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้สบู่ก้อนแข้ง 3. โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ทาปฏิกิริยาได้สบู่เหลว ความสาคัญของสบู่ สบู่ คือ ของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย ซึ่งคน ส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้ดีมากๆ จนไม่คานึงถึงผลเสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล แต่เรารู้จักสบู่ เหล่านั้นดีเพียงไร และจะมีสักกี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อนมีส่วนประกอบสาคัญอะไรบ้าง สบู่ที่ดี จะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว ซึ่งนอกจากจะทาให้สบู่ที่ได้ทาความสะอาดผิวได้ดีแล้ว ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็นสิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน หากเราคัดสรรสบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้ เรามีสุขภาพผิวของที่ดีอยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน
  • 12. 12 ประวัติความเป็นมาของสบู่ สบู่ธรรมชาติ และสบู่ที่ทาจากเคมี ที่ใช้กันทุกวันนี้ การค้นพบสบู่ ในยุคสมัยที่เรายังนิยมการบูชายันต์อยู่นั้น มักจะมีแท่นบูชายันต์ ซึ่งอยู่ใกล้แม่น้า เมื่อนาแพะ หรือสัตว์อื่น ๆ มาบูชายัน ก็มีการเผาทาพิธีบริเวณนั้นด้วย และไขมันจากสัตว์เกิดไหลปนกับขี้เถ้า เกิดเป็นสิ่งที่เป็น ก้อนขาว ๆๆ ไหลลงในลาธาร ชาวบ้านที่นาผ้ามาซักบริเวณนั้น ก็เกิดข้อสังเกตุว่า ผ้าที่ซักจากบริเวณนี้สะอาดง่าย กว่า ซักบริเวณอื่น จึงได้หาเหตุ กันต่าง ๆ จนมาเจอก้อนที่ว่านี่เอง คือ "สบู่" สบู่ที่เกิดจากความบังเอิญจาก ไขมัน รวม กับ ขี้เถ้าหรือ เรียกกันว่า ปฎิกิริยา Saponification หรือการเกิดสบู่ จะมาจาก ESter(ไขมัน) และ base(ด่าง) รวมกัน ได้เป็นสบู่ขึ้นมา โดยที่สบู่จากการสร้างจาก Saponification จะมีส่วนที่เรียกว่า กลีเซอรีน ออกมา ด้วย ดังนั้นสบู่จากปฎิกิริยานี้จะช่วยบารุงผิวได้ดี ย้อนหลังไปหลายปี อาจจะหลายพันปีเลยก็ว่าได้ ก่อนที่มนุษย์ จะรู้จักสบู่ ใน ช่วงนั้นการทาความสะอาดร่างกาย หรือ เสื้อผ้าให้สะอาดเป็นเรื่องที่ทาได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เท่าทุกวันนี้ครับ เพราะสิ่งสกปรกและคราบมันต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้น ไม่อาจรวมตัวกับน้าได้ สังเกตุง่าย ๆ เมื่อเราเทน้าผสมน้ามัน มันจะแยกชั้นกันอย่างชัดเจน ร่างกาย ของเรานั้น มักจะผลิตน้ามันออกมาตลอดเวลา การอาบน้าธรรมดา ก็เป็นเพียงการชะล้างฝุ่นออกไปจากร่างกาย แต่ก็ไม่ได้สะอาดหมดจดจริง มี ตานานเล่าไว้เหมือนกันว่า แม่นางคลีโอพัตตรา ก็พยายามแสวงหาวิธีการที่จะทาให้ร่างกายของนางสะอาด และ มีกลิ่นหอม ดังนั้นนางจึงใช้น้าที่นาพืชสมุนไพรมาต้มเพื่อนามาอาบ โดยทาให้ช่วยชะล้างความสะอาดได้ดีขึ้นและ ให้กลิ่นหอมสะอาด ส่วนคนไทย โบราณสมัยที่ยังไม่มีสบู่ก็ใช้ พืชผลไม้ หลายอย่างมาช่วยทาให้ร่างกายสะอาดขึ้นเช่นกัน เช่นการนา มะกรูด มาเผาไฟ และ นามาสะผม นาน้าใบส้มป่อย มาอาบน้า หรือ นามะขามเปียกมาถูตัวเป็นต้น ผม จาได้ว่าสมัยเด็ก ๆ เคยอ่านหนังสือนานมากๆเเล้ว จาไม่ได้ว่าหนังสืออะไร กล่าวไว้ว่า ในยุคแรกที่คิดสบู่ได้นั้น สบู่เรียกว่า ไซโป หมายถึงสิ่งที่นามาชาระล้างนั่นเอง โดยต่อมาได้เพี้ยนไปเป็น โซป (Soap) หรือ สบู่ ดังในปัจจุบัน สบู่ ถือเป็นสิ่งล้าค่ามากๆ ในยุคแรกๆ คนธรรมดา ไม่มีสิทธิ์ได้ใช้นะครับ จะได้ใช้ก็แต่ระดับชนชั้นสูงเท่านั้น ในแต่ ละประเทศ
  • 13. 13 ซึ่ง การค้นพบสบู่เนี่ยถือว่าเป็นความบังเอิญมาก ๆ ในยุคสมัยที่เรายังนิยมการบูชายันต์อยู่นั้น มักจะมีแท่นบูชา ยันต์ ซึ่งอยู่ใกล้แม่น้า เมื่อนาแพะ หรือสัตว์อื่น ๆ มาบูชายัน ก็มีการเผาทาพิธีบริเวณนั้นด้วย และไขมันจากสัตว์เกิด ไหลปนกับขี้เถ้า เกิดเป็นสิ่งที่เป็นก้อนขาว ๆๆ ไหลลงในลาธาร ชาวบ้านที่นาผ้ามาซักบริเวณนั้น ก็เกิดข้อสังเกตุว่า ผ้าที่ซักจากบริเวณนี้สะอาดง่ายกว่า ซักบริเวณอื่น จึงได้หาเหตุ กันต่าง ๆ จนมาเจอก้อนที่ว่านี่เอง สบู่ไงครับ สบู่ที่ เกิดจากความบังเอิญจาก ไขมัน รวม กับ ขี้เถ้า สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า ปฎิกิริยา Saponification หรือการเกิดสบู่ขึ้นนั่นเอง เป็น ผลที่มาจาก ESter(ไขมัน) และ base(ด่าง) รวมกัน ได้เป็นสบู่ขึ้นมา โดยที่สบู่จากการสร้างจาก Saponification จะมีส่วนที่เรียกว่า กลีเซอรีน ออกมาด้วย ดังนั้นสบู่จากปฎิกิริยานี้จะช่วยบารุงผิวได้ดี อย่างไรก็ตามคุณสมบัติของสบู่จะแปรตามคุณสมบัติของไขมันที่มาทาสบู่ เช่น ถ้าสบู่ที่ทาจากน้ามันมะพร้าว จะมีเนื้อแข็ง ฟองมาก เหมาะไว้ล้างจานเป็นต้น สบู่น้ามันละหุ่ง จะให้ครีมนุ่ม อ่อนโยน เหมาะไว้ล้างหน้าเป็นต้นครับ ดัง นั้นมนุษย์เราจึงได้ผลิตสบู่แบบนี้ซึ่งผมจะเรียกว่าการผลิตสบู่ด้วยวิธี ธรรมชาติ โดยใช้ไขมันจากพืชหรือสัตว์ ผสมกับด่างหรือ NaOH มาใช้กันเป็นเวลายาวนานซึ่งถือว่าเป็นสบู่ที่ดี ไม่ค่อยมีความระคายเคือง และมีกลีเซอรีน ผสมอยู่ และมีการปรับสูตรกันในแต่ละท้องถิ่น การผลิตสบู่ในไทยเอง ก็มีการผลิตสบู่ลักษณะนี้อยู่เหมือนกันใน อดีต จวบ จนครั้งเมื่ออุตสาหกรรมเคมี ได้พัฒนาขึ้น การผลิตสบู่แบบดั้งเดิม ซึ่งต้นทุนสูง ใช้เวลานานในการผลิต และ ผลิตได้ครั้งละจากัด จึงเกิดสบู่อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งผลิตโดยใช้สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการชะล้าง มาอัดเป็นก้อน และผสมกลิ่นน้าหอม และ เติมสี และจัดจาหน่ายทั่วไป มีการเติมมอยเจอร์ไรเซอร์ เพื่อทดแทนกลีเซอรีน ที่เคยได้ ในการผลิตแบบดั้งเดิม สบู่ประเภทนี้ให้การชะล้างที่เยี่ยมยอด และมีกลิ่นสี น่าใช้มาก เพราะแต่งเติมเข้าไปด้วย กรรมวิธีใหม่ ๆ แต่สิ่งที่ตามมาก็คือ การระคายเคืองในบางคน และการสะสมสารเคมี ไว้ที่ผิวกาย ทุกวัน ๆ มาจนถึง วันนี้ไม่ทราบว่ามีใครสงสัยเหมือนผมบ้างไหมครับ ว่าสบู่ที่อยู่ในห้องน้าบ้างเราเนี่ย เป็นสบู่จริงๆ หรือ เป็น เคมี ชาระล้างอัดก้อน หรือสงสัยมั๊ยครับ ว่าเราเคยใช้สบู่ ที่เป็นสบู่จริงๆ ครั้งสุดท้ายเมื่อไรกัน
  • 14. 14 ความแตกต่างระหว่างสบู่ธรรมชาติและสบู่เคมี สบู่ธรรมชาติจะผลิตโดยใช้ไขมันจากพืชหรือสัตว์ผสมกับด่างหรือ NaOH จะได้สบู่ธรรมชาติถือว่าเป็นสบู่ที่ดี เนื่องจากค่าความเป็นค่า pH (Power of hydrogen) คือค่าที่อยู่ในระดับเดียวกับร่างกายของเราและเป็นสภาวะที่ดี ที่สุด นั่นคือมีค่าเป็นกลางใกล้เคียงกับผิวพรรณของเรามากที่สุด ทาให้ไม่ค่อยมีความระคายเคืองต่อผิว ส่วนสบู่ เคมี ได้ถูกพัฒนาขึ้น อันเนื่องมาจากการผลิตสบู่แบบดั้งเดิม มีต้นทุนสูง ใช้เวลานานในการผลิต และ ผลิตได้ครั้งละ จากัด จึงทาให้มีผู้ติดค้นสบู่อีกสูตรหนึ่งขึ้นมาคือสบู่เคมี ซึ่งผลิตโดยใช้สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการชะล้าง มาอัด เป็นก้อนและผสมกลิ่นน้าหอม และ เติมสี และจัดจาหน่ายทั่วไป มีการเติมมอยเจอร์ไรเซอร์ เพื่อทดแทนกลีเซอรีน ที่ เคยได้ในการผลิตแบบดั้งเดิม สบู่ประเภทนี้ให้การชะล้างที่ดีมากๆ และมีกลิ่นสี น่าใช้ เพราะแต่งเติมเข้าไปด้วย กรรมวิธีใหม่ ๆ แต่สิ่งที่ตามมาก็คือ การระคายเคืองในบางคน และการสะสมสารเคมี ไว้ที่ผิวกาย ทุกวัน ๆ และ ปัจจุบัน คนส่วนมากมักจะเลือกสบู่ที่สามารถทาความสะอาดได้มากๆ ซึ่งเหล่านี้มักจะเป็นสบู่เคมี จนไม่คานึงถึง ผลเสียที่จะเกิดกับผิวในภายหลัง ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและ ความชอบของแต่ละบุคคล แต่เรารู้จักสบู่เหล่านั้นดีเพียงไร และจะมีสักกี่คนที่ใส่ใจในรายละเอียดว่าสบู่แต่ละก้อน มีส่วนประกอบสาคัญอะไร บ้าง สบู่ที่ดีจะต้องมีส่วนประกอบสาคัญที่จาเป็นและมีประโยชน์ต่อผิว ซึ่งนอกจากจะ ทาให้สบู่ที่ได้ทาความสะอาดผิวได้ดีแล้ว ยังสามารถบารุงผิวได้อีกด้วย ทั้งนี้สบู่เป็นสิ่งที่เราต้องใช้เป็นประจาทุกวัน หากเราคัดสรรสบู่ที่ดีมีคุณภาพ จะทาให้เรามีสุขภาพผิวของที่ดีอยู่คู่กับเราไปตลอดนานเท่านาน
  • 15. 15 กลีเซอรีน คือ แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งมีสูตรทางเคมี C3H5(HO)3 มีลักษณะข้นและใส ไม่มีสี เป็นผลพลอย ได้จากกระบวนทาสบู่ โดยที่ด่างจะผสมกับไขมันจากสัตว์และพืช ผู้ผลิต สบู่จะแยกกลีเซอรีนออกมาเพื่อนนาไปใช้ ประโยชน์ในการทาโลชั่นและครีมได้อีก กลีเซอรีน เมื่ออยู่ในโลชั่นจะให้ผลดีมาก เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่ให้ความ ชุ่มชื้น สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์และในน้า กลีเซอรีน ยังนาไปใช้ผลิตไนโตรกลีเซอรีนและขนม และยังนาไปใช้ถนอมผักและผลไม้ รวมทั้งแช่ตัวอย่างทดลอง ในห้องแล็ป มองหาส่วนผสมที่เป็นกลีเซอรีนได้จากบรรดาโลชั่นที่วางจาหน่ายตามชั้นในร้านขายยา หรือร้านงาน ฝีมือที่ขายผลิตภัณฑ์จากสบู่
  • 16. 16 ทาความสะอาดช่องแช่แข็ง คราบอาหารหมดโอกาสติดแน่นอยู่ในช่องแช่แข็งถ้ามีกลีเซอรีน โดยขจัดคราบอาหารแล้วใช้เศษผ้าแตะกลีเซอรีน ซึ่งเป็นตัวทาละลายตามธรรมชาติเช็ดบริเวณคราบติดแน่นให้สะอาด เท่านี้เราก็ได้ช่องแช่แข็งใหม่สะอาดเอี่ยม สบู่เหลวขวดใหม่ เศษสบู่ที่เหลือจะเอาไปทาอะไรดีหนอ ผสมกลีเซอรีนลงไป แล้วบี้สบู่ให้เข้ากันในน้าอุ่น เทส่วนผสมใส่ขวดปั๊มเท่านี้ คุณก็มีสบู่เหลวราคาประหยัดเอาไว้ใช้ ถนอมใบไม้ เจอใบไม้รูปทรงแปลกๆ อยากเก็บไว้ดูเล่นหรือเอาไปตกแต่งบัตรอวยพร แต่แทนที่จะทับแห้งอย่างที่เคยทา ลอง เปลี่ยนมาแช่กลีเซอรีนดู ใบไม้ที่แช่กลีเซอรีนจะคล้ายใบไม้สด สีจะเปลี่ยนไปบ้าง อาจจะสีเขียวเข้มขึ้น หรือ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาล แล้วแต่ความอ่อนแก่ของใบ ชนิดของใบ เป็นต้น วิธีการ คือผสมกลีเซอรีนกับน้าอุ่นเกือบร้อน 2 ส่วน คนให้เข้ากันทิ้งไว้ให้เย็น เลือกใบไม้ที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์มา จัดวางในภาชนะโดยส่วนโคนใบอยู่ด้านล่างเทส่วนผสมที่เตรียมไว้ลงไปให้ท่วม ทิ้งไว้นาน 2 สัปดาห์ ถึง 2 เดือนเอา ใบขึ้นมาล้างน้า เช็ดให้แห้งและตากลมอีกครั้ง
  • 17. 17 คราบถ่านหายไป คุณคงคิดว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะขจัดคราบถ่านหรือคราบมัสตาร์ด แต่เป็นไปได้ถ้าคุณใช้กลีเซอรีน ถูกลีเซอรีนตรงรอย เปื้อน แล้วทิ้งไว้ราวหนึ่งชั่วโมง จากนั้นใช้กระดาษอเนกประสงค์ที่ใช้ในครัวเช็ดออก โดนค่อยๆ กดแล้วยกขึ้น ซึ่ง อาจต้องทาซ้าหลายๆครั้ง แก้ไขมือหยาบกร้าน เพียงผสมกลีเซอรีนและน้ามันระหุงอย่างละเท่ากันเป็นเนื้อเดียว ใช้สูตรนี้ทามือให้ทั่วทั้งฝ่ามือและหลังมือ ทิ้งไว้ ประมาณครึ่งชั่วโมง มือจะนุ่มนวลขึ้น ขจัดคราบกาแฟค้างเก่า เสื้อตัวสวยกลับจากงานเลี้ยงน้าชา-กาแฟด้วยคราบกาแฟที่เปื้อนใส่เมื่อไหร่ก็ไม่รู้ ถ้าเห็นแต่แรกซับด้วยน้าทันทียัง พอทาเนา แต่คราบเก่าซักยากยิ่ง ลองซับด้วยน้าเย็นดูก่อนแล้วให้ถูให้ทั่วด้วยกลีเซอรีน ทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมงแล้วล้าง ออกด้วยน้าอุ่น จากนั้นจึงซักตามปกติ เป็นยังไงบ้างกับประโยชน์ของเจ้ากลีเซอรีน ผมว่าหลายๆท่านคงคันไม้คันมืออยากทดลองแล้ว แต่คงมีหลายท่าน ไม่ทราบว่าจะหาซื้อ กลีเซอรีน นี่ได้ที่ไหนง่ายๆเลยครับ หาซื้อได้ตามร้านขายยาทุกชนิด หรือร้านขายเคมีภัณฑ์ นั่นเอง ในคราวหน้าผมจะมาแนะนาสิ่งเล็กๆน้อยในบ้านอะไรที่จะกลายเป็นของพิเศษ ต้องคอยติดตามกันนะครับ รับรองว่าไม่ผิดหวังแน่นอน
  • 18. 18 Natural Hot-process soap สบู่ธรรมชาติผลิตด้วยกระบวนการร้อน กรรมวิธีการผลิตสบู่แนวนี้ คือการให้ความร้อนจากภายนอกเข้าไปสนับสนุนให้เกิดสบู่สาเร็จรูป ตามลักษณะที่ ต้องการแล้วเติมแต่งกลิ่นและสีที่กาหนดไว้ ก็จะได้สบู่ที่มีความสวยงาม สดใสแวววาว มีเสน่ห์น่าใช้ เปรียบเทียบ ได้กับการทานข้าวขาวหอมมะลิ นั่นเอง ในความเป็นจริงแล้วการผลิตสบู่แนวนี้มีความยุ่งยากซับซ้อนพอสมควรหากเริ่มตั้งแต่ต้น คือต้องผ่านกรรมวิธี Cold-process ก่อน แล้วแยกส่วนที่เป็น glycerin ออกมา ซึ่ง glycerin ก็ถือได้ว่าเป็นสบู่สาเร็จรูป เบื้องต้น สามารถนามาใช้ทาความสะอาดได้อย่างปลอดภัย แต่เมื่อต้องการความสวยงามและเสน่ห์ที่น่าใช้ ก็ จาเป็นต้องนา glycerin มาผ่านกระบวนการความร้อนที่จัดเตรียมไว้ เมื่อละลายจนได้ที่จึงเติมแต่งสีสัน เพิ่มกลิ่น ด้วย Fragrance (น้าหอมเคมีสังเคราะห์) เนื่องจาก Essential oil มีราคาสูงและจะสลายไปอย่างรวดเร็วเมื่อถูก ความร้อน จึงไม่เป็นที่นิยมเชิงพาณิชย์ ความแตกต่างของสบู่ Natural Hot-process soap คุณภาพสูงและต่า อาจเกิดจากการใช้ glycerin คุณภาพต่า ไม่สะอาดและมีจุดเดือดที่สูง ซึ่งส่วนใหญ่มักผลิตจากไขมันสัตว์ที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ ในประเทศ เพราะมีราคาต่า กว่า glycerin ที่ผลิตจากพืชที่ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ นอกจากราคาที่แตกต่างแล้ว ประโยชน์ตลอดจนความ ปลอดภัยก็แตกต่างกันอย่างมากด้วย ผู้ผลิตสบู่แนวนี้ที่ไม่เน้นคุณภาพจึงมักใช้ Glycerin คุณภาพต่าจากไขมัน สัตว์ เพื่อให้ได้ผลกาไรที่มากกว่า หากเปรียบเทียบในเชิงความเป็นธรรมชาติและประโยชน์แล้ว สบู่ Natural Hot-process soap นี้มีความเป็น ธรรมชาติและประโยชน์น้อยกว่า Natural Cold-Process soap เนื่องจากความร้อนที่นาเข้ามาเติมแต่งใน กระบวนการผลิตจะสลายคุณค่าทางธรรมชาติออกไป สบู่แนวนี้จึงไม่สามารถออกแบบหรือเติมแต่งสรรพคุณ พิเศษใดๆ ได้อีก
  • 19. 19 Natural Cold-Process soap สบู่ผลิตด้วยกระบวนการเย็นโดยธรรมชาติ กรรมวิธีการผลิตรูปแบบนี้ เป็นกระบวนการผลิตสบู่ที่คงความเป็นธรรมชาติได้ดีที่สุดเหมือนเมื่อพันปีที่แล้วที่เกิด สบู่ขึ้นบนโลกครั้งแรก การผลิตจะเริ่มจากการนาเอาวัตถุดิบที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งมี กรด (acid) คือ น้ามันที่มีคุณประโยชน์ต่างๆ ทั้ง hard oil ซึ่งทาหน้าที่สร้างรูปและตัวตนให้กับสบู่ ในฐานะ based oil เช่น น้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม Exotic oil เช่น น้ามันราข้าว น้ามันมะกอก ซึ่งเป็นน้ามันหลักของความต้องการที่จะให้สบู่นั้นออกมาแล้วมี ประโยชน์ด้านใดบ้าง ส่วนด่าง (lie) คือตัวประกอบสาคัญที่จะทาให้เกิดปฏิกิริยา saponification ซึ่งในปัจจุบันนิยมการใช้ sodium hydroxide กรณีต้องการผลิตสบู่ก้อน หรือ potassium hydroxide กรณีต้องการผลิตสบู่เหลว แทนการใช้ขี้เถ้า จากการเผาไหม้ มาผสมกับน้าสะอาดเหมือนอดีต ทั้งนี้เนื่องจากความไม่เสถียรของค่าความเป็นด่างและความไม่ สะดวกในการจัดหา ซึ่ง sodium hydroxide และ potassium hydroxide วัตถุดิบทั้งสอง คือ น้าเกลือที่ทาให้มี ความเข้มข้นสูงด้วยเทคนิคด้านประจุไฟฟ้ า จึงถือได้ว่ายังมีความเป็นธรรมชาติเพียงแต่มีความเข้มข้นมาก เกินกว่า ที่ผิวมนุษย์จะรับได้ การเตรียมด่างต้องใช้ sodium hydroxide หรือ potassium hydroxide ผสมกับน้าอย่างถูกต้องตามหลักความ ปลอดภัย ได้แก่ วิธีการผสม และอัตราส่วนในการผสม ซึ่งจะต้องมีความแม่นยาและเที่ยงตรงด้วยการคานวณหา ค่า SAP Value ที่ถูกต้องเท่านั้นที่จะทาให้ได้สบู่ที่ดีหรือเหมาะสมที่สุดในแต่ละสูตร จากนั้น เราสามารถเพิ่มเติมคุณประโยชน์จากธรรมชาติเข้าไปในตัวสบู่ได้ คือเพิ่ม active ingredient ต่างๆ ตามที่ ต้องการที่จะให้สบู่นั้นทาหน้าที่ เช่น นม น้าผึ้ง น้ามันเปลือกมังคุด ผงสาหร่าย ผงโคลน ฯลฯ แล้วเติมแต่งกลิ่น พร้อมประโยชน์ด้วยน้ามันหอมระเหยตามต้องการ แต่ต้องมีการคานวณและประมาณอัตราส่วนที่ใช้อย่าง พอเหมาะด้วย
  • 20. 20 สุดท้ายคือการผสมผสานทุกส่วนเข้าด้วยกันจนข้นได้ที่แล้วนาเข้าเก็บไว้ ที่เรียกว่า ageing จนกว่าสบู่จะคลายฤทธิ์ และแปรสภาพที่เป็นประโยชน์ต่อการอาบน้า จะเห็นได้ว่าขั้นตอนและรายละเอียดต่างๆ เป็นไปตามธรรมชาติทั้งสิ้น โดยเราไม่ต้องนาความร้อนจากภายนอกไป เร่งปฏิกิริยา saponification เลย จึงเป็นที่มาของชื่อ Natural Cold-process soap ซึ่งสบู่แนวนี้เปรียบเสมือนเรา เลือกทานข้าวที่ไม่ผ่านกระบวนการขัดสีหรือเติมแต่ง เช่น ข้าวกล้อง นั่นเอง ในการจัดทาโครงงาน เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีน ในครั้งนี้ได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว ได้แก่ ขมิ้นชัน มะขาม อัญชัน และน้าผึ้ง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ทาสบู่ใช้เอง สบู่ทาเองเป็นของขวัญชิ้นเยี่ยมและทาง่ายมาก เพียงมีกลีเซอรีนและเตาไมโครเวฟ ก็ลงมือได้เลย ตัดกลีเซอรีนที่ ส่วนใหญ่ จะมาขายเป็นท่อนๆ ให้เป็นลูกเต๋าขนาด 2 นิ้ว หย่อนกลีเซอรีนหลายๆก้อนใส่ภาชนะแก้ว เอาเข้าเตา ไมโครเวฟไฟปานกลาง เอาออกมาดูทุกๆ 30 วินาที จนกว่าจะละลายใช้ได้ ถึงตรงนี้ให้เติมสีหรือกลิ่นที่คุณชอบ จากนั้นรินกลีเซอรีนเหลวลงในพิมพ์สบู่หรือพิมพ์ขนม ถ้าไม่มีใช้ถ้วยพลาสติกโพลีสไตริน เทลงไปซัก 3 ใน 4 นิ้วจาก ก้นถ้วย ทิ้งให้แข็งตัวราวครึ่งชั่วโมง
  • 21. 21 ขมิ้น ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa Linnaeus วงศ์ ZINGIBERACEAE ชื่อสามัญอื่นๆ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่) ขมิ้นชัน (กลาง,ใต้) ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่) ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขี้มิ้น (ตรัง,ใต้) ตายอ (กะเหรี่ยงกาแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) หมิ้น (ตรัง,ใต้)
  • 22. 22 การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ Curcuma lon Kingdom: Plantae Division: Magnoliophyta Class: Liliopsida Subclass: Zingiberidae Order: Zingiberales Family: Zingiberaceae Genus: Curcuma Species: C. longa ขมิ้น เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้า ขมิ้นชันมีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบรูปเรียวยาวปลายแหลมคล้ายใบพุทธรักษา ดอกออกเป็นช่อ มีก้านช่อแทงจาก เหง้าโดยตรง ออกตรงกลางระหว่างใบคู่ในสุดดอกสีขาว มีแถบสีเหลือง คาด มีกลีบประดับสีขาวหรือเขียว
  • 23. 23 ลักษณ์ทางพฤกษศาสตร์ ขมิ้นเป็นไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง 30-95 ซม. เหง้าใต้ดินรูปไข่มีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกด้านข้าง 2 ด้าน ตรงกันข้ามเนื้อในเหง้าสีเหลืองส้ม มีกลิ่นเฉพาะ ใบเดี่ยว แทงออกมาเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันรูปใบหอก กว้าง 12-15 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอกช่อแทงออกจากเหง้า แทรกขึ้นมาระหว่างก้านใบ รูปทรงกระบอก กลีบดอกสี เหลืองอ่อน ใบประดับสีเขียวอ่อนหรือสีนวล บานครั้งละ 3-4 ดอก ผล รูปกลมมี 3 พู การปลูกเลี้ยง ขมิ้นชอบอากาศค่อนข้างร้อนและมีความชุ่มชื้นในเวลากลางคืน วิธีปลูกใช้เหง้าแก่ที่อายุได้ 11 - 12 เดือน ทาพันธุตัดออกเป็นท่อนละ 1-2 ตา ปลูกลงแปลงหลังจาก 7 วันรากก็จะเริ่มงอกควรรดน้าทุกวัน หลังจากนั้น เมื่อขมิ้นมีอายุได้ 9-10 เดือนจึงจะขุดเอามาใช้ได้ รสยาและสรรพคุณทางยา เหง้าของขมิ้นมีรสฝาด กลิ่นหอม สามารถเก็บมาใช้เมื่อมีช่วงอายุ 9-10 เดือน มีฤทธิ์ในการฆ่า เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดการอักเสบ และ มีฤทธิ์ในการขับน้าดี น้ามันหอมระเหย ในขมิ้นชันมีสรรพคุณบรรเทา อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด แก้โรคผิวหนัง ขับลม แก้ผื่นคัน แก้ท้องร่วง อาจช่วยรักษาโรค รูมาตอยด์ได้ ยังไม่ยืนยันแน่ชัด ส่วนที่นามาใช้เป็นยา คือ เหง้า ( สดและแห้ง ) เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบ และ มีฤทธิ์ในการ ขับน้าดี น้ามัน หอมระเหย ในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทา อาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด
  • 24. 24 วิธีใช้ประโยชน์ การใช้ขมิ้นชัน แก้แพ้แก้อักเสบ แผล ฝีพุพอง แมลงสัตว์กัดต่อยภายนอก โดยใช้เหง้ายาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนกับน้า ต้มสุกทาบริเวณที่เป็น วันละ 3 ครั้ง หรือใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการ ผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยได้ อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ แน่น จุกเสียด และอาหารไม่ย่อย ทาโดยใช้เหง้าขมิ้น ล้างให้สะอาด ไม่ต้องปอกเปลือกออก หั่นเป็นชิ้นบางๆ ตากแดดจัดสัก 1-2 วัน บดให้ละเอียดผสมกับน้าผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย กินครั้งละ 2-3 เม็ด วันละ 3 -4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน แต่บางคนเมื่อกินยานี้แล้วแน่นจุกเสียดให้หยุดกินยานี้ นอกจากโรคเกี่ยวกับท้องแล้ว ขมิ้นยังมีสรรพคุณในการบารุงร่างกายและช่วยบารุงตับ รักษาระบบทางเดิน หายใจที่ผิดปกติ หืด ไอ เวียนศีรษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออักเสบอีกด้วยคะเพราะว่ามีฤทธิ์ลด การอักเสบ ลดปฏิกิริยาภูมิแพ้ เพิ่มภูมิคุ้นกันให้แก่ร่างกาย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนอง มีฤทธิ์ขับน้าดี ช่วยในการย่อยและป้ องกันไม่ให้เป็นนิ่วในถุงน้าดี มีฤทธิ์ขับลม และมีการศึกษาการใช้ขมิ้นชันรักษาโรคกระเพาะใน ประเทศไทย (โรงพยาบาลศิริราช) พบว่า ได้ผลดีพอควร คุณค่าทางอาหาร เหง้าขมิ้นพบว่ามี วิตามินเอ วิตามินซี นอกจากนั้นยังมีเกลือแร่ต่างๆอีกพอสมควร เป็นเครื่องปรุงรส แต่งสี ได้ดีมาก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เหง้าขมิ้นมีสารประกอบที่สาคัญ เป็นน้ามันหอมระเหย "เอสเซนเซียล" และในเหง้ายังมีสารสีเหลืองส้ม ที่ ทาให้ขมิ้นได้ชื่อว่า Curcumin จากการทดลองพบว่าขมิ้นสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดอาการอักเสบ มีฤทธิ์ ในการขับน้าได้ดี น้ามันหอมระเหยในขมิ้นมีสรรพคุณรักษาปวดท้องเสียด ท้องอืด แน่นจุกเสียด ขมิ้นไม่มีพิษ เฉียบพลัน มีความปลอดภัยสูง
  • 25. 25 การค้นพบสรรพคุณใหม่ๆ สรรพคุณของขมิ้นชันมีอีกมากมาย เช่น การป้ องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด การชลอความแก่ การเป็น สารต้านมะเร็งและเนื้องอกต่างๆ พบว่า การกินอาหารผสมขมิ้นสามารถทาลายเชื้อไวรัสที่ผ่านมาทางอาหารได้ รวมทั้งสามารถป้ องกันมะเร็งจากสารก่อมะเร็งต่างๆ และยังมีสรรพคุณในการต้านไวรัส โดยเฉพาะเชื้อ HIV อันเป็น ต้นเหตุของโรคเอดส์ ขมิ้นชันจึงเป็นอีกความหวังหนึ่งของผู้ป่วยเอดส์ แต่การเลือกขมิ้นชันมากินนั้น หากต้องเลือกเอง ขุดเอง ควรเลือกขมิ้นชันที่ได้คุณภาพ คือ ขมิ้นชันต้องมี อายุอย่างน้อย 9-12 เดือน จึงสามารถขุดเหง้ามาทายาได้ และต้องไม่เก็บไว้นานเกินไป จนน้ามันหอมระเหยหาย หมด และต้องไม่ลืมว่า แสงมีปฏิกิริยากับสาระสาคัญคือ เคอร์คิวมินในขมิ้นชัน จงต้องเก็บให้พ้นแสงด้วยนะคะ มิฉะนั้นจะได้รับประทานแต่การขมิ้นชันแน่ๆ ค่ะ จะเห็นได้ว่าขมิ้นชันนั้นสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งทาและกิน เชียวนะคะ ในสมัยก่อนนั้น ภูมิปัญญาท้องถิ่นพื้นบ้านของไทยได้มีการนาขมิ้นมาใช้ประกอบอาหารหลายชนิด ใช้ปรุงแต่งกลิ่น และรสในอาหาร โดยเฉพาะอาหารทางภาคใต้ เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา แกงกะหรี่ ไก่ทอดขมิ้น เป็นต้น นับเป็น ความฉลาดของคนใต้ ที่หาวิธีกินขมิ้นในชีวิตประจาวัน สาหรับสาวๆ แล้วการใช้ขมิ้นทาผิวหน้าจะทาให้ผิวหน้านุ่มนวล คนมาเลเซียและคนไทยสมัยก่อนจะใช้ ขมิ้นในการอาบน้า ทาให้ผิวผ่องยิ่งขึ้น วิธีการอาบน้าด้วยขมิ้นนั้น จะทาขมิ้นหมักไว้ที่ผิวหนังสักพัก แล้วจึงขัดออก ด้วย ส้ม มะขามเปียก นอกจากทาให้ผิวหนังนุ่มนวลแล้ว ขมิ้นยังมีสรรพคุณในการป้ องกันการงอกของขน ผู้หญิง อินเดียจึงใช้ขมิ้นทาผิวหนัง เพื่อป้ องกันไม่ให้ขนงอก คนพม่าเชื่อว่าถ้าใช้ขมิ้นผสมสมุนไพร ที่ชื่อทาคาน่า ทาผิวเด็ก สาวตั้งแต่ยังเล็กๆ จะทาให้เนื้อผิวละเอียดสวยชนิดที่หนุ่มมองได้ไม่วางตาเชียวคะ
  • 26. 26 มะขามเปียก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica ชื่อสามัญ : Tamarind, Indian date วงศ์ : Leguminosae - Caesalpinioideae การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ Kingdom: Plantae Division: Magnoliophyta Class: Liliopsida Order: Fabales Fabales Fabaceae Genus: Tamarindus Species: T. indica
  • 27. 27 มะขามเป็นไม้เขตร้อน มีถิ่นกาเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดานต่อมามีการนาเข้ามาในประเทศแถบเขต ร้อนของเอเชียและประเทศแถบละตินอเมริกาและในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่างๆ เรียก มะขามไทย (ภาคกลาง) ขาม (ภาคใต้) ตะลูบ (โคราช) ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง- กาญจนบุรี) อาเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า tamarind หรือ Indian date ซึ่งแปลมาจาก ภาษาอาหรับ: ‫تمر‬‫هندي‬ (tamr hindī) มะขามเป็นต้นไม้ประจาจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งมีคาขวัญประจาจังหวัดว่า "เมืองมะขามหวาน อุทยานน้า หนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง" ลักษณะเฉพาะ มะขามเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาด ใหญ่แตกกิ่งก้านสาขามากไม่มีหนาม เปลือกต้นขรุขระและ หนา สีน้าตาลอ่อน ใบเป็นใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรูป ขอบขนาน ปลายใบและ โคนใบมน ประกอบ ด้วยใบย่อย 10–15 คู่ แต่ละใบย่อยมีขนาดเล็ก กว้าง 2–5 มม. ยาว 1–2 ซม. ออกรวมกันเป็น ช่อยาว 2–16 ซม. ดอก ออกตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดง/ม่วงแดงอยู่กลาง ดอก ผล เป็นฝักยาว รูปร่างยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมีเปลือกสีเขียวอมเทา สีน้าตาลเกรียม เนื้อในติด กับเปลือก เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สีน้าตาล เนื้อในกลายเป็นสีน้าตาลหุ้มเมล็ด เนื้อมีรส เปรี้ยว และ/หรือหวาน ซึ่งฝักหนึ่ง ๆ จะมี/หุ้มเมล็ด 3–12 เมล็ด เมล็ดแก่จะแบนเป็นมัน และมีสีน้าตาล ใบของ มะขามเป็นใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) ใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากก้าน 2 ข้างของ แกนกลาง คล้ายขนนก ถ้าปลายสุดของใบจะเป็นใบย่อยเพียงใบเดียวเรียก แบบขนนกคี่ (odd pinnate) เช่น กุหลาบ อัญชัน ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรียกแบบขนนกคู่ (even pinnate) เช่น มะขาม การปลูกมะขาม ทาได้โดยเตรียมดินโดยขุดหลุมกว้าง ยาวและลึกด้านละ 60 ซม. ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักคลุกเคล้า ดินรองก้นหลุมเอากิ่งพันธุ์ลงปลูก รดน้าให้ชุ่ม มะขามเมื่อลงดินแล้วจะโตเร็ว ควรใช้ไม้หลักพยุงไว้ให้แน่น และการ บารุงรักษาหลังเริ่มปลูก ควรเอาใจใส่ดายหญ้ารอบต้น และรดน้าทุกวัน
  • 28. 28 การปลูกเลี้ยง การขยายพันธุ์ : นิยมขยายพันธุ์โดยการทาบกิ่ง ติดตาหรือต่อกิ่ง เพราะได้ผลเร็วและไม่ทาให้กลายพันธุ์ สภาพดินฟ้ าอากาศ : ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิดแม้แต่ดินเลว เช่นดินลูกรัง เจริญได้ดีในดินร่วนปนดินเหนียว ทนแล้ง ได้ดี ฤดูปลูกที่เหมาะสม คือต้นฤดูฝน ควรหาเศษหญ้าฟางคลุมโคนจนกว่าต้นจะแข็งแรง ควรฉีดยาป้ องกันโรคราแป้ งและแมลงพวกหนอนเจาะฝัก ด้วง เจาะเมล็ด ในระยะที่เป็นดอกอยู่ ประโยชน์ของมะขาม คุณค่าทางโภชนาการ : ยอดอ่อนและฝักอ่อนมีวิตามิน เอ มาก มะขามเปียกรสเปรี้ยวทาให้ชุ่มคอ ลดความร้อน ของร่างกายได้ดี เนื้อในฝักมะขามที่แก่จัด เรียกว่า "มะขามเปียก" ประกอบด้วยกรดอินทรีย์หลายตัว เช่น กรดทาร์ท ทาร์ริค กรดซิตริค เป็นต้น ทาให้ออกฤทธิ์ ระบายและลดความร้อนของร่างกายลงได้ แพทย์ไทยเชื่อว่า รสเปรี้ยวนี้จะ กัดเสมหะให้ละลายได้ด้วย มะขามเปียกอุดมด้วยกรดอินทรีย์ อาทิ กรดซิตริค (Citric Acid) กรดทาร์ทาริค(Tartaric Acid) หรือกรดมาลิค (Malic Acid) เป็นต้น มีคุณสมบัติชาระล้างความสกปรกรูขุมขน คราบไขมันบนผิวหนังได้ดีมาก สารที่มีคุณประโยชน์ 1. ยอดอ่อนของมะขามมีวิตามินเอ และวิตามิน ซื สูง 2. มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน กากใบ 3. แคลเซี่ยมและฟอสฟอรัส 4. มะขามเปียกมีสารกรดอินทรีย์ เช่น กรดซิตริค กรดทาทาริค กรดมาลิค 5. มีสารพวกกัม (gum) และ เพคติน (pectin)
  • 29. 29 ส่วนที่ใช้เป็นยา : เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) เปลือกต้น (ทั้งสดหรือแห้ง) เนื้อในเมล็ด สรรพคุณทางยา : ราก - แก้ท้องร่วง สมานแผล รักษาเริม และงูสวัด เปลือกต้น - แก้ไข้ ตัวร้อน แก่น - กล่อมเสมหะ และโลหิต ขับโลหิต ขับเสมหะ รักษาฝีในมดลูก รักษาโรคบุรุษ เป็นยาชักมดลูกให้เข้าอู่ ใบสด (มีกรดเล็กน้อย) - เป็นยาถ่าย ยาระบาย ขับลมในลาไส้ แก้ไอ แก้บิด รักษาหวัด ขับเสมหะ หยอดตา รักษาเยื่อตาอักเสบ แก้ตามัว ฟอกโลหิต ขับเหงื่อ ต้มผสมกับสมุนไพรอื่นๆ อาบหลังคลอดช่วยให้สะอาดขึ้น เนื้อหุ้มเมล็ด - แก้อาการท้องผูก เป็นยาระบาย ยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ กระหายน้า เป็นยาสวนล้างท้อง ฝักดิบ - ฟอกเลือด และลดความอ้วน เป็นยาระบายและลดอุณหภูมิในร่างกาย บรรเทาอาการไข้ เมล็ดในสีขาว - เป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือนตัวกลมในลาไส้ พยาธิเส้นด้าย เปลือกเมล็ด - แก้ท้องร่วง แก้บิดลมป่วง สมานแผลที่ปาก ที่คอ ที่ลิ้น และตามร่างกาย รักษาแผลสด ถอนพิษ และรักษาแผลที่ถูกไฟลวก รักษาแผลเบาหวาน เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) - รับประทานจิ้มเกลือ แก้ไอ ขับเสมหะ ดอกสด – เป็นยาลดความดันโลหิตสูง
  • 30. 30 วิธีและปริมาณที่ใช้ในการรักษา : 1. เป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือน ตัวกลม ตัวเส้นด้าย ได้ผลดี ใช้เมล็ดคั่วกะเทาะเปลือกออก แล้วเอาเนื้อในเมล็ดแช่น้าเกลือจนนุ่ม รับประทานเนื้อทั้งหมด ครั้งละ 20- 30 เมล็ด 2. เป็นยาระบาย ยาถ่าย - ใช้เนื้อที่หุ้มเมล็ด (มะขามเปียก) แกะเมล็ดแล้วขนาด 2 หัวแม่มือ (15-30 กรัม) จิ้มเกลือรับประทาน แล้ว ดื่มน้าตามมากๆ - เอามะขามเปียกละลายน้าอุ่นกับเกลือ ฉีดสวนแก้ท้องผูก 3. แก้ท้องร่วง -เมล็ดคั่วให้เกรียม กะเทาะเปลือกรับประทาน -เปลือกต้น ทั้งสดและแห้ง ประมาณ 1-2 กามือ (15-30 กรัม) ต้มกับน้าปูนใส หรือ น้า รับประทาน 4. รักษาแผล เมล็ดกะเทาะเปลือก ต้ม นามาล้างแผลและสมานแผลได้ 5. แก้ไอและขับเสมหะ ใช้เนื้อในฝักแก่ หรือมะขามเปียก จิ้มเกลือรับประทานพอควร 6. เป็นยาลดความดันสูง ใช้ดอกสด ไม่จากัดจานวน ใช้แกงส้มหรือต้มกับปลาสลิดรับประทาน
  • 31. 31 สารเคมี : ใบ มี Alcohols, phenolic esters and ethers. Sambubiose, Carboxylic acid, Oxalic acid ดอก มี Oxoglutaric acid, Glyoxalic acid , Oxaloacetic acid ผล มี Alcohols, Aldehydes; Citric acid Ketones, Vitamin B1, Essential Oil, Enzyme เมล็ด มี Phosphatidylcholine, Proteins Glutelin, Albumin, Prolamine, Lectin คติความเชื่อ ตามตาราพรหมชาติฉบับหลวง ถือว่ามะขามเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งที่ควรปลูกไว้ทางทิศตะวันตก (ประจิม) ของบ้าน เพื่อป้ องกันสิ่งไม่ดี ผีร้ายมิให้มากล้ากลาย อีกทั้งต้นมะขามยังเป็นต้นไม้ที่มีชื่อเป็นมงคลนาม ถือกันเป็นเคล็ดว่าจะทาให้มีแต่คนเกรงขาม
  • 32. 32 น้าผึ้ง น้าผึ้ง น้าผึ้ง คือน้าหวานที่ผึ้งเก็บมาจากต่อมน้าหวานของดอกไม้ (nectar) โดยผึ้งจะกลืนน้าหวานลงสู่กระเพาะ น้าหวาน ซึ่งจะมีเอนไซม์ช่วยย่อยน้าหวานแล้วนามาเก็บไว้ในหลอดรวงผึ้ง จากนั้นน้าผึ้งค่อยๆ บ่มตัวเองโดยการ ระเหยน้าออกไปจนน้าผึ้งมีปริมาณน้าตาลที่เข้มข้นขึ้นจนได้ระดับที่เหมาะสมกับการเก็บรักษาผึ้งงานก็จะปิดฝา หลอดรวง เราเรียกน้าผึ้งนี้ว่า “น้าผึ้งสุก” เป็นน้าผึ้งที่ได้มาตรฐาน คือมีน้าอยู่ไม่เกิน 20-21 เปอร์เซ็นต์ ความหมายของน้าผึ้ง น้าผึ้ง เป็นผลิตผลของน้าหวานจากดอกไม้ และจากแหล่งน้าหวานอื่น ๆ ที่ผึ้งงานนามาเก็บสะสมไว้ และ ผ่านขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และทางกายภาพบางประการ แล้วสะสมไว้ในรังผึ้ง