SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชาภาษาไทย(หลักภาษาและการใช้ภาษา)ชุดที่1
ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
32
มฐ.ท4.1
5432











1


มฐ.ท3.1
7654321
มฐ.ท2.1
4321
มฐ.ท1.1
8765432

1










ข้อ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
1
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชาภาษาไทย(หลักภาษาและการใช้ภาษา)ชุดที่1
ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
32
มฐ.ท4.1
5432

1
มฐ.ท3.1
765432

1

มฐ.ท2.1
4

3

2

1

มฐ.ท1.1
8

7

6

5

4

3

2

1
ข้อ
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
2
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชาภาษาไชุดที่1
ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
3

2

มฐ.ท4.1
5

4


3




21
มฐ.ท3.1
7

6

5

4

3

21
มฐ.ท2.1
4321
มฐ.ท1.1
87654321
ข้อ
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 กลุ่มสาระภาษาไทย
3
วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 40 ข้อ
ให้กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง
1.
เขียนอย่างไร
ก. โมดะ ข. มโดะ ค. มด
2. จากภาพ มีจำานวนเท่าใด
ก. ๔ ข. ๕ ค. ๙
3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทุกเสียง
ก. ขา กบ น้อง เตา แม่
ข. แจก ว่า ร้อง โต๊ะ เดี๋ยว
ค. คิด ท่อ ใช่ แน่ แล้ว
4. คำาในข้อใดไม่มีตัวสะกดทั้งหมด
ก. ชาวนา ข. นัวเนีย ค. สวยงาม
5. คำาในข้อใดมีตัวสะกดแบบไม่ตรงตามมาตรา
ก. รูปภาพ ข. ศึกษา ค. กลมเกลียว
6. แพรวนั่งกินกล้วย ส่วนพลอยกินพุทรา ทั้งสองฟังกล้า
เป่าขลุ่ยอยู่ที่ใต้ต้นไทร
จากข้อความ มีคำาควบแท้คำาใดบ้าง
ก. กล้วย พลอย พุทรา ขลุ่ย ไทร
ข. แพรว กล้วย พุทรา กล้า ไทร
ค. แพรว กล้วย พลอย กล้า ขลุ่ย
7. ข้อใดอ่านไม่ถูกต้อง
4
โ –
ะ
ก. ทราย อ่านว่า ซาย ข. จริง อ่านว่า จริง
ค. ไซร้ อ่านว่า ไซ้
8. คำาที่มีอักษรนำาข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. ตลาด อ่านว่า ตะ – หลาด
ข. แสวง อ่านว่า แส – วง
ค. อร่อย อ่านว่า อะ – ร่อย
9. คำาว่า เหลืองอร่าม อ่านว่าอย่างไร
ก. เหลือง – อะ – ร่าม
ข. เหลือง – อ่าม
ค. เหลือง – อะ – หร่าม
10.สุนัขมีความซื่อสัต__ ต่อเจ้าของ ควรเติมตัวการันต์ในข้อ
ใด
ก. ย์ ข. ว์ ค. ร์
11.คำาในข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. สวรรค์ อ่านว่า สะ – วัน
ข. ธรรมชาติ อ่านว่า ทำา – มะ – ชาด
ค. บรรทุก อ่านว่า บัน – ระ – ทุก
12.คำาว่า สมัคร อ่านว่าอย่างไร
ก. สะ – มัก – ระ ข. สะ – มัก ค. สะ – หมัก
13.อึกทึก มีความหมายคล้ายกับคำาว่าอะไร
ก. ดึงดัน ข. ครึกโครม ค. ยุกยิก
14.พี่ดูเวลาจาก___________ ควรเติมคำาใด
ก. นาฬิกา ข. ปฏิทิน ค. เข็มทิศ
5
อ่านเรื่องที่กำาหนด แล้ว
ตอบคำาถามข้อ 15.
ประเทศไทยไม่ได้ตั้งอยู่ในแนว
ของภูเขาไฟ
จึงไม่มีภูเขาไฟคุกรุ่นที่จะระเบิดได้
มีก็แต่ร่องรอย
ที่เหลือให้เห็นว่าเคยมีภูเขาไฟอยู่เมื่อ
หลายพันปีมาแล้ว เช่น ภูเขาไฟจำาปา
แดดและม่อนหินฟู ที่จังหวัดลำาปาง
หรือภูเขาไฟพนมรุ้ง ซึ่งมีปราสาทหิน
พนมรุ้ง ตั้งอยู่บน
15.ประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟหรือไม่ เพราะอะไร
ก. ไม่มีภูเขาไฟเลย เพราะไม่ได้ตั้งอยู่ในแนวของภูเขาไฟ
ข. มีภูเขาไฟคุกรุ่นที่กำาลังจะระเบิด เพราะมีหลักฐานปรากฏอยู่
หลายจังหวัด
ค. เคยมีเมื่อหลายพันปีมาแล้ว เพราะมีหลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน
จังหวัดลำาปาง
และจังหวัดบุรีรัมย์
16.ใจความสำาคัญของเรื่องนี้คือข้อใด
ก. อันตรายจากผงชูรส ข. ความอร่อยของ
ผงชูรส ค. วิธีปรุงอาหาร
17.จากเรื่องที่กำาหนด ข้อความในข้อใดเป็นการแสดงความคิดเห็น
ก. ผงชูรสไปกระตุ้นปุ่มรับสัมผัสมากเกินไป
ข. เราควรใส่ผงชูรสในการปรุงอาหารเพียงเล็กน้อย
ค. ถ้าเราใส่ผงชูรสในอาหารมากเกินไปจะมีอาการตาแดง
18.จากเรื่องที่กำาหนด ข้อความในข้อใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. ผงชูรสทำาให้อาหารมีรสอร่อย
ข. เมื่อรับประทานอาหารที่ใส่ผงชูรสจะทำาให้ปวดศีรษะ
6
อ่านเรื่องที่กำาหนด แล้วตอบ
คำาถามข้อ 16. – 18.
เราใส่ผงชูรสในอาหารเพื่อให้อาหารมีรสกลมกล่อม
แต่ควรใส่เพียงเล็กน้อย ถ้าใส่มากเกินไป เมื่อรับ
ประทานอาหารนั้น จะทำาให้มีอาการหน้าแดง รู้สึกร้อน
ไหม้ตามกระพุ้งแก้ม ลิ้น และลำาคอ และอาจมีอาการอื่นๆ
ตามมาด้วย เช่น อาการผิดปกติ ที่ดวงตา รู้สึกแน่น
หน้าอก และปวดศีรษะอย่างรุนแรง ทั้งนี้เพราะผงชูรสไป
ค. ผู้ที่รับประทานอาหารที่ใส่ผงชูรสมากเกินไป จะทำาให้รู้สึก
ร้อนไหม้ตามลำาคอ
19.หากนักเรียนเข้าไปใช้บริการห้องสมุด แล้วพบป้ายข้อควรปฏิบัติ
ในการใช้ห้องสมุดติดอยู่ตรง
ทางเข้าห้องสมุด นักเรียนควรทำาอย่างไรเป็นอันดับแรก
ก. อ่านรายละเอียดของข้อเขียน
ข. ปฏิบัติตามที่ข้อเขียนระบุไว้
ค. ทำาความเข้าใจเนื้อความของข้อเขียน
20.การอ่านหนังสือในสถานที่ใด ควรอ่านในใจมากที่สุด เพื่อให้
เป็นผู้มีมารยาทในการอ่าน
ก. โรงอาหาร ข. ห้องสมุด ค. สนามกีฬา
21.ตัวอักษรไทยในข้อใด มีลักษณะการเขียนคล้ายกันทุกตัว
ก. จ ร ง
ข. ผ ฝ พ
ค. ฉ ณ น
22.ในการเขียนบันทึกประสบการณ์ ไม่จำาเป็นต้องเขียนสิ่งใด
ก. ชื่อผู้ปกครอง ข. เนื้อหา ค. วัน เดือน ปี ที่
บันทึก
23.ข้อใดเป็นการเขียนเรื่องตามจินตนาการ
ก. การเขียนนิทานเรื่องแมวเหมียวผจญภัย
ข. การเขียนรายการอาหารที่ชอบ
ค. การคัดลอกบทเพลงที่ชอบ
24.ใครไม่มีมารยาทในการเขียน
ก. ตูนเขียนเรื่องเพื่อนของฉันโดยใช้ภาษาสุภาพ
ข. จิ๊บเขียนแหล่งที่มาของข้อมูลที่ค้นคว้ามา
ค. โอ๋วาดรูปวิวสวยๆ ลงในหนังสือที่ขอยืมจากเพื่อน
25.หากคุณแม่พูดว่า “ลูกควรอาบนำ้าก่อน แล้วค่อยทำาการ
”บ้านนะจ๊ะ ควรปฏิบัติอย่างไร
7
ก. ตั้งใจฟังแล้วไปทำาการบ้านก่อน
ข. ตั้งใจฟังแล้วไปอาบนำ้าก่อน
ค. ตั้งใจฟังแล้วพักผ่อนก่อน จากนั้นค่อยทำาการบ้าน
26.ใครปฏิบัติตนในการพูดเล่าเรื่องได้ถูกต้อง
ก. เต้วางโครงเรื่องก่อนเล่า
ข. แต้วเล่าเรื่องอื่นแทรกไปด้วย เพื่อให้ผู้ฟังไม่เบื่อ
ค. ติ๊กเล่าเรื่องตามที่นึกได้ในขณะนั้นโดยไม่เตรียมตัว
27.จากเรื่องที่ฟัง มีใจความสำาคัญอย่างไร
ก. ชายขับเกวียนสงสารจระเข้ที่นอนอยู่กลางแดด
ข. ชายขับเกวียนจับจระเข้ด้วยเถาวัลย์
ค. ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า
28.แหล่งนำ้าในข้อใดที่กล่าวถึงในเรื่อง
ก. ทะเล ข. นำ้าตก ค. แม่นำ้า
29.คำาพูดจากเรื่องที่ฟังในข้อใดมีลักษณะเป็นการแสดงความคิดเห็น
และความรู้สึก
ก. เราจะช่วยพาเจ้าไปที่แม่นำ้า
ข. ถ้าท่านพาเราไปที่แม่นำ้าก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา
ค. เจ้าจะไปหรือไม่
30.หากต้องการถามแม่ค้าเกี่ยวกับราคาดินสอ ควรพูดว่าอย่างไร
ก. จะซื้อดินสอแท่งนี้ค่ะ
ข. ดินสอขายแพงไหมคะ
ค. ดินสอราคาแท่งละเท่าไรคะ
31.ใครเป็นผู้มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ก. ทินกินขนมแก้ง่วงระหว่างชมการแสดงดนตรี
ข. ดาวปรบมือเมื่อชอบใจคำาพูดของวิทยากร
ค. อั้มพูดตะโกนดังๆ ขณะเล่าเรื่องราวให้เพื่อนฟัง
32.ข้อใดเป็นประโยค
ก. ฝนตก ข. ปลาทอด ค. ดินสอสี
8
ข้อ 27. – 29. ฟังครูเล่าเรื่อง
แล้วตอบคำาถาม
33.ข้อใดเป็นประโยคบอกเล่า
ก. ทะเลสีคราม ข. ฉันไม่ได้ทำา ค. รถแล่นเร็ว
34.ข้อใดเป็นประโยคคำาถาม
ก. ฉันไม่ไปไหนทั้งนั้นข. ใครเคาะประตู ค. ใครๆ ก็ไม่รัก
ฉัน
35.ประโยคในข้อใดต่างจากพวก
ก. ทำาไมน้องไม่ไปโรงเรียน
ข. ใครไม่ไปโรงเรียน
ค. น้องไม่ไปโรงเรียน
36.ปลาทอง มองดู ครูใหญ่ __________ ผีเสื้อ เจือจาน
ควรเติมคำาใดลงในช่องว่างจึงจะคล้องจองกัน
ก. ใจดี ข. อารี ค. เด็กดี
37.คำาคู่ใดไม่สัมผัสคล้องจองกัน
ก. โศก – เศร้า ข. สับสน – ปนเป ค. แมวนำ้า –
ธรรมะ
38.คำาว่า อร่อย ในภาษาถิ่นเหนือ พูดอย่างไร
ก. หรอย ข. ลำา ค. แซบ
39. จากภาพ ควรใช้บทร้องเล่นในข้อ
ใด
ก. จำ้าจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่น....
ข. มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง....
ค. รีรีข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก...
40. ควรเติมคำาใดในบทอาขยาน
ก. ล่องลอย / สำาลี
ข. เล่น / สำาลี
ค. เพลิดเพลิน / นุ่น
9
นกเอยนก
น้อยน้อย
บิน_______เป็นสุ
ขศรี
ขนขาว

ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
32
มฐ.ท4.1
5432











1


มฐ.ท3.1
76543
10
านชั้นปีวิชาภาษาไทย(หลักภาษาและการใช้ภาษา)ชุดที่2
21
มฐ.ท2.1
4321
มฐ.ท1.1
8765432


1









ข้อ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
11
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชาภาษาไทย(หลักภาษาและการใช้ภาษา)ชุดที่2
ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
32
มฐ.ท4.1
5432

1
มฐ.ท3.1
765432

1

มฐ.ท2.1
4

3

2

1

มฐ.ท1.1
8

7

6

5

4

3

2

1
ข้อ
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
12
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชาภาษาไชุดที่2
ชั้นประถมศึกษาปีที่2
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มฐ.ท5.1
3

2

มฐ.ท4.1
5

4


3




21
มฐ.ท3.1
7

6

5

4

3

21
มฐ.ท2.1
4321
มฐ.ท1.1
87654321
ข้อ
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
13
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 กลุ่ม
สาระภาษาไทย
วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 40 ข้อ
ให้กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง
1. จากภาพ เป็นคำาที่
ประสมกับสระใด
ก. สระ เอ กับ ไม้ไต่คู้
ข. สระ แอ กับ ไม้ไต่คู้
ค. สระ เอ
2. แมวางสมโอไวบนโตะ ควรเติมวรรณยุกต์ในข้อใด
ก. –่่ / –่้ / –่๊ / –่๋
ข. –่่ / –่้ / –่๊ / –่๊
ค. –่่ / –่้ / –่้ / –่๊
3. คำาในข้อใด มีเสียงวรรณยุกต์ตรงกับคำาว่า สีฟ้า
ก. กวยจั๊บ ข. ขาโต๊ะ ค. ลูกนำ้า
4. ประโยคในข้อใดมีคำาที่สะกดในมาตราแม่กด
ก. แม่ปรุงอาหารอยู่ในครัว
ข. ฉันถูกมีดบาดที่นิ้วก้อย
ค. พ่อซ่อมรอยรั่วบนหลังคา
5. ข้อใดมีคำาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราทุกคำา
ก. บัวลอย นำ้าตาล ข. ดนตรี คณิตศาสตร์ ค. อากาศ
ยีราฟ
6.
14
ท้องฟ้า แสงแดด และปุย
เมฆนั้นมีความสุขกับการที่มี
คนแหงนมองดูและพูดว่า
“เธอช่างสวยจริง” พวกเขา
จึงร่วมมือกันสร้างสิ่งที่งดงาม
จากข้อความ มีคำาควบกลำ้าแท้และคำาควบกลำ้าไม่แท้ รวมกัน
ทั้งหมดกี่คำา
ก. 2 คำา ข. 3 คำา ค. 4 คำา
7. ข้อใดอ่านแบบอักษรนำาทุกคำา
ก. ไผท ฉลาด ข. เหม็น ตรึงตรา ค. อยาก โพรง
8. ข้อใดอ่านออกเสียงต่างจากข้ออื่น
ก. กราบ ครู ข. ปลอด พราย ค. ตลอด อร่อย
9. ธงไตรรง______ ควรเติมตัวการันต์ในข้อใด
ก. ศ์ ข. ค์ ค. ย์
10.ข้อใดเขียนถูกทุกคำา
ก. หรรษา สันหา ข. บันทุก พระขรรค์ ค. บรรจุ
สร้างสรรค์
11.คำาว่า สามารถ อ่านว่าอย่างไร
ก. สา – มาด ข. สา – มา – รด ค. สา – มาด – ถะ
12.คำาในข้อใดมีความหมายตรงกันข้าม
ก. ผอม – เพรียว ข. การ – งาน ค. ดึง – ดัน
13.คำาในข้อใดมีความหมายเหมือนกับคำาว่า ดอกไม้
ก. มาลี ข. สกุณา ค. นภา
14.แม่ให้ _________ ฉบับละ 100 บาท แก่แม่ค้า
ควรเติมคำาใด จึงจะได้ใจความถูกต้อง
ก. เหรียญ ข. ธนบัตร ค. กระดาษ
15
อ่านข้อความที่กำาหนด แล้ว
ตอบคำาถามข้อ 15. – 17.
“พ่อว่า ถ้าเราอยากได้อะไร เราควร
พยายามทำาสิ่งนั้นเอง เราไม่ควรขอคนอื่น
ถ้าเราลงมือทำาด้วยความขยันหมั่นเพียรและ
ช่วยตนเองให้มากที่สุด เราก็จะได้สิ่งที่
เราต้องการเสมอ คนขยันหมั่นทำามาหากิน
จะไม่มีวันอดตาย จงจำาไว้ว่า เหนื่อยก่อน
”สบายทีหลังนะลูก พ่อสอนเอื้อยและอ้อย
15.ถ้าลงมือทำาสิ่งใดแล้วจะได้สิ่งนั้น เราควรปฏิบัติตามข้อใดมาก
ที่สุด
ก. ขอคำาแนะนำาจากผู้อื่น
ข. ให้กำาลังใจตัวเอง
ค. ขยันหมั่นเพียร
16.ใจความสำาคัญของสิ่งที่พ่อสอนเอื้อยและอ้อยคืออะไร
ก. ไม่ให้ช่วยตนเอง ข. ไม่ควรขอคนอื่น ค. ไม่ทำาตามใจ
ตนเอง
17.ถ้านักเรียนอยากได้อะไร นักเรียนควรทำาอย่างไร
ก. ทำาด้วยตนเองก่อน ข. ให้ผู้ปกครองช่วย ค. ขอจากคนอื่น
18.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประเภทให้ความรู้
ก. พจนานุกรม ข. หนังสืออ้างอิง ค. นวนิยาย
19. กรุณารักษาความสะอาด เมื่ออ่านข้อเขียน
เชิงอธิบายนี้แล้ว ควรปฏิบัติอย่างไร
จึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. แบ่งกลุ่มเพื่อทำาเวรประจำาวัน
ข. ถอดรองเท้าก่อนเข้าห้องเรียนทุกครั้ง
ค. ไม่ทิ้งขยะเกลื่อนกลาด แต่ทิ้งลงในถังขยะเท่านั้น
20.ใครไม่มีมารยาทในการอ่าน
ก. อ้อมอ่านหนังสือให้เพื่อนฟังในห้องสมุด
ข. ตั๊กถ่ายสำาเนาหนังสือที่ต้องการโดยไม่ฉีกหนังสือ
ค. ป๋องอ่านหนังสือคนเดียวเงียบๆ ในห้องสมุด
21.ข้อใดเป็นการคัดลายมือที่ถูกต้อง
ก. คัดลายมือ
ข. คัดลายมือ
ค. คัดลายมอื
22.ข้อความใดเป็นการเขียนบันทึกประสบการณ์
ก. ฉันตื่นแต่เช้า เพื่อออกไปดูพระอาทิตย์ขึ้นที่ผานกแอ่น
ภูกระดึง จ.เลย
16
ข. ฉันชอบว่ายนำ้า แล้วเธอชอบเล่นกีฬาอะไร
ค. ฉกชิงวิ่งราว หมายถึง การแย่งชิงเอาไปซึ่งหน้า
23.ข้อใดเป็นลักษณะของการเขียนเรื่องตามจินตนาการ
ก. การเขียนเรื่องตามที่ผู้อื่นเขียน
ข. การเขียนเรื่องจากสิ่งที่เห็น
ค. การเขียนเรื่องที่คิดขึ้นเอง
24.ข้อใดไม่ใช่มารยาทในการเขียน
ก. ไม่เขียนในที่สาธารณะ
ข. เขียนเรื่องโดยพาดพิงถึงผู้อื่น
ค. ใช้ภาษาในการเขียนอย่างสุภาพ
25.ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการฟังคำาสั่งและคำาแนะนำา
ก. พูดตอบรับแล้วทำาเฉยกับคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง
ข. จับใจความสำาคัญของคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง
ค. ปฏิบัติตามคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง
26.ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการพูดเล่าเรื่อง
ก. แสดงความคิดเห็นของตนเองหลังจากเล่าเรื่องจบแล้ว
ข. เตรียมว่าจะเล่าเรื่องอะไร
ค. เล่าเรื่องอื่นแทรกเป็นระยะ
ข้อ 27. – 28. ฟังครูเล่าเรื่อง แล้วตอบคำาถาม
27.แต่เดิมวันขึ้นปีใหม่ของไทย ตรงกับวันอะไร
ก. วันมาฆบูชา ข. วันสงกรานต์ ค. วันเข้าพรรษา
28.วันสงกรานต์ได้คตินิยมมาจากประเทศใด
ก. เขมร ข. จีน ค. อินเดีย
29.ใครพูดแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสม
ก. ต๋อมพูดแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง
ข. โต๋พูดแสดงความคิดเห็นเข้าข้างเพื่อนสนิทของตนเอง
ค. ตู่พูดแสดงความคิดเห็นตามที่เพื่อนบอกเพื่อให้เพื่อนพอใจ
30.หากนักเรียนต้องการพูดขอร้องให้เพื่อนรักษาความสะอาด ควร
พูดอย่างไร จึงจะชัดเจนและ
17
เหมาะสมที่สุด
ก. นี่ ! เก็บขยะกันบ้างสิ
ข. เพื่อนๆ คะ โปรดทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้งนะคะ
ค. เพื่อนๆ ทุกคน ต้องนำาขยะในถังขยะไปทิ้งนะจ๊ะ
31.ใครมีมารยาทในการฟัง และการดู
ก. เก๋จดบันทึกใจความสำาคัญของเรื่องที่ฟังและดู
ข. กุ๋ยคุยกับโก้เบาๆ ขณะชมการแสดงละครเวที
ค. แก้มเป่าปากเมื่อนักร้องร้องเพลงที่ชอบ
32.ข้อใดเรียงลำาดับคำาเป็นประโยคได้ถูกต้อง
   
มาก นำ้า แรง ไหล
ก.  ข.  ค. 
ข้อ 33. – 35. อ่านประโยคที่กำาหนด แล้วบอกว่าเป็นประโยค
ประเภทใดจากตัวเลือกที่กำาหนด
1) ประโยคบอกเล่า
2) ประโยคคำาถาม
3) ประโยคปฏิเสธ
33.เขาชอบกินอาหารประเภทใด
ก. 1) ข. 2) ค. 3)
34.ฉันไม่ได้ไปโรงเรียน
ก. 1) ข. 2) ค. 3)
35.ทินเป็นเด็กดี
ก. 1) ข. 2) ค. 3)
อ่านประโยคข้อ 36. – 37. แล้วเรียงคำาที่กำาหนดให้
คล้องจองกัน จากตัวเลือกที่กำาหนดให้
36.1) ซาบซึ้ง 2) เปิดโลก 3) โชคลาภ
ก. 1) 2) 3) ข. 2) 3) 1) ค. 3) 2) 1)
37.1) นกน้อย 2) หมองคลำ้า 3) ฝอยทอง
ก. 1) 3) 2) ข. 1) 2) 3) ค. 3) 2) 1)
18
38.หนูหิ่นเป็นคน จ.อุบลราชธานี หนูหิ่นควรใช้คำาพูดแทนตัวเองว่า
อย่างไร
ก. ฉาน ข. เฮา ค. ข้อย
39.ข้อใดเป็นบทร้องประกอบการละเล่น
ก. เจ้านกกาเหว่าเอย ไข่ไว้ให้แม่กาฟัก
แม่กาก็หลงรัก คิดว่าลูกในอุทร....
ข. มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง.....
ค. ไก่เอ๋ยไก่แจ้ ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง
โก่งคอเรื่อยร้องซ้องสำาเนียง ฟังเพียงบรรเลงวังเวงดัง
40. ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก
ถึง_______ผู้ฝึกสอนสั่ง
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย
ควรเติมคำาใดลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง
ก. คุณครู ข. คุณแม่ ค. คุณพ่อ

 สำาหรับครู
ครูอ่านเรื่องที่กำาหนดให้นักเรียนฟัง แล้วตอบคำาถาม
เรื่องที่ 1 : อ่านเรื่องนี้เพื่อให้นักเรียนฟัง แล้วตอบ
คำาถามในข้อสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชุดที่ 1
ข้อ 27. – 29.
จระเข้ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงกว้างใหญ่ พอถึงฤดูแล้งนำ้าใน
บึงแห้ง จระเข้
นอนอยู่ริมบึงอย่างอ่อนเพลีย มีชายคนหนึ่งขับเกวียนผ่านมา
เห็นจระเข้นอนอยู่กลางแดด
ก็นึกสงสาร จึงถามจระเข้ว่า “เจ้านอนอยู่ในบึงไม่มีนำ้าเช่นนี้คง
ร้อนมาก เราจะช่วยพาเจ้า
19
ไปที่แม่นำ้า ”เจ้าจะไปหรือไม่ จระเข้ได้ฟังก็ยินดีจึงพูดว่า “ถ้า
ท่านพาเราไปที่แม่นำ้า
”ก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา ชายขับเกวียนลงไปมัดจระเข้ด้วย
เถาวัลย์ แล้วลากจระเข้
ขึ้นเกวียนไปยังแม่นำ้าใหญ่
เรื่องที่ 2 : อ่านเรื่องนี้เพื่อให้นักเรียนฟัง แล้วตอบ
คำาถามในข้อสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชุดที่ 2
ข้อ 27. – 28.
แต่ก่อนประเทศไทยถือเอาวันสงกรานต์ คือ วันขึ้น 1 คำ่า
เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่
ตามแบบอย่างประเทศอินเดีย การนับวันตามข้างขึ้น ข้าง
แรม ทำาให้วันขึ้นปีใหม่
ไม่แน่นอนตรงกันทุกปี ต่อมาประเทศไทยจึงได้กำาหนดวันที่ 13
เมษายน เป็นวันสงกรานต์
และกำาหนดให้เป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย
20
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
1. ค 2. ข 3. ก 4. ข 5. ก
6. ค 7. ข 8. ก 9. ค 10. ก
11. ข 12. ค 13. ข 14. ก 15. ค
16. ก 17. ข 18. ค 19. ก 20. ข
21. ค 22. ก 23. ก 24. ค 25. ข
26. ก 27. ค 28. ค 29. ข 30. ค
31. ข 32. ก 33. ค 34. ข 35. ค
36. ก 37. ก 38. ข 39. ค 40. ก
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
1. ก 2. ค 3. ข 4. ข 5. ค
6. ข 7. ก 8. ค 9. ข 10. ค
11. ก 12. ค 13. ก 14. ข 15. ค
16. ข 17. ก 18. ค 19. ค 20. ก
21. ข 22. ก 23. ค 24. ข 25. ก
26. ค 27. ข 28. ค 29. ก 30. ข
31. ก 32. ข 33. ข 34. ค 35. ก
36. ข 37. ก 38. ค 39. ข 40. ก
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่างละเอียด
21
1. ตอบ ค จากภาพเป็นคำาว่า มด
เพราะการประสมคำากับสระ โ–ะ เมื่อมีตัวสะกดจะลดรูป
สระหายไปทั้งหมด
2. ตอบ ข จากภาพมีปลา 5 ตัว
เขียนเป็นเลขไทย คือ ๕
3. ตอบ ก ขา มีเสียงวรรณยุกต์
จัตวา กบ มีเสียงวรรณยุกต์เอก น้อง มีเสียง
วรรณยุกต์ตรี เตา มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ แม่ มี
เสียงวรรณยุกต์โท
ส่วนข้อ ข. แจก มีเสียงวรรณยุกต์เอก ว่า มีเสียง
วรรณยุกต์โท ร้อง มีเสียงวรรณยุกต์ตรี โต๊ะ มี
เสียงวรรณยุกต์ตรี เดี๋ยว มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา
ส่วนข้อ ค. คิด มีเสียงวรรณยุกต์ตรี ท่อ มีเสียง
วรรณยุกต์โท ใช่ มีเสียงวรรณยุกต์โท แน่ มี
เสียงวรรณยุกต์โท แล้ว มีเสียงวรรณยุกต์ตรี
4. ตอบ ข นัวเนีย เป็นคำาที่ประสม
กับสระ –ัว และ สระ เ – ีย จึงไม่มีตัวสะกด
5. ตอบ ก รูปภาพ เป็นคำาใน
มาตราแม่กบที่มีตัวสะกดแบบไม่ตรงตามมาตรา
6. ตอบ ค แพรว กล้วย
พลอย กล้า ขลุ่ย เป็นคำาควบกลำ้าแท้
7. ตอบ ข จริง อ่านว่า จิง
8. ตอบ ก ตลาด อ่านว่า ตะ –
หลาด แสวง อ่านว่า สะ – แหวง
อร่อย อ่านว่า อะ – หร่อย
9. ตอบ ค เหลืองอร่าม อ่านว่า
เหลือง – อะ – หร่าม
10. ตอบ ก ซื่อสัตย์ ใช้ ย์ จึง
จะสะกดถูกต้อง
22
11. ตอบ ข สวรรค์ อ่านว่า สะ
– หวัน ธรรมชาติ อ่านว่า ทำา – มะ – ชาด
บรรทุก อ่านว่า บัน – ทุก
12. ตอบ ค สมัคร อ่านว่า สะ –
หมัก ไม่ออกเสียง ร
13. ตอบ ข อึกทึก มีความหมาย
ว่า อื้ออึง ครึกโครม จึงมีความหมายคล้ายกับคำาว่า
ครึกโครม
14. ตอบ ก พี่ดูเวลาจากนาฬิกา
เพราะนาฬิกาเป็นสิ่งที่ใช้บอกเวลา
15. ตอบ ค ประเทศไทยเคยมี
ภูเขาไฟเมื่อหลายพันปีมาแล้ว เพราะยังมีร่องรอย
ภูเขาไฟให้เห็น ในปัจจุบัน
16. ตอบ ก ใจความสำาคัญของ
เรื่องที่กำาหนดคือ อันตรายของผงชูรส
17. ตอบ ข เราควรใส่ผงชูรสใน
การปรุงอาหารเพียงเล็กน้อย จัดเป็นการแสดงความคิด
เห็น
18. ตอบ ค ผู้ที่รับประทานอาหาร
ที่ใส่ผงชูรสมากเกินไป จะทำาให้รู้สึกร้อนไหม้ตามลำาคอ
จัดเป็นข้อเท็จจริง
19. ตอบ ก เมื่อพบข้อเขียนเชิง
อธิบาย ควรอ่านรายละเอียดของข้อเขียนเป็นอันดับแรก
เพื่อจะได้ปฏิบัติตามข้อเขียนได้ถูกต้อง
20. ตอบ ข การอ่านหนังสือใน
ห้องสมุด ควรอ่านในใจเพื่อไม่ให้รบกวนผู้อื่น
21. ตอบ ค ฉ ณ น มี
ลักษณะการเขียนคล้ายกัน คือ เขียนขมวดตรงส่วนท้าย
ตัวอักษรรูปแบบเดียวกัน
23
22. ตอบ ก การเขียนบันทึก
ประสบการณ์ไม่จำาเป็นต้องเขียนชื่อผู้ปกครอง
23. ตอบ ก การเขียนเรื่องตาม
จินตนาการ เป็นการเขียนเรื่องที่ผู้เขียนคิดขึ้นตาม
จินตนาการของตนเอง เช่น การเขียนนิทาน เป็นต้น
24. ตอบ ค เราไม่ควรขีดเขียนลง
บนหนังสือของผู้อื่น หรือสถานที่สาธารณะเพราะถือว่า
ไม่มีมารยาทในการเขียน
25. ตอบ ข การฟังคำาสั่งหรือคำา
แนะนำา ควรตั้งใจฟัง แล้วปฏิบัติตามคำาสั่งนั้น คือ อาบนำ้า
ก่อน แล้วค่อยทำาการบ้าน
26. ตอบ ก การพูดเล่าเรื่อง ควร
วางโครงเรื่องก่อนพูด เพื่อให้เล่าเรื่องได้ตามลำาดับ
เนื้อหาที่ชัดเจน ซึ่งจะทำาให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจ
27. ตอบ ค ใจความสำาคัญของ
เรื่อง คือ ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า
28. ตอบ ก แหล่งนำ้าที่กล่าวถึงใน
เรื่อง คือ แม่นำ้า (ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า
29. ตอบ ข ถ้าท่านพาเราไปที่
แม่นำ้า ก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา เป็นคำาพูดที่เป็นการแสดง
ความคิดเห็นและความรู้สึก
30. ตอบ ค การพูดสื่อสารกับผู้
อื่น ควรพูดให้ชัดเจน สุภาพ เช่น เมื่อถามราคาดินสอ
จากแม่ค้า ควรถามว่า “ ”ดินสอราคาแท่งละเท่าไรคะ
31. ตอบ ข การปรบมือให้ผู้พูด
หรือผู้แสดง ถือว่ามีมารยาทในการฟัง และการดู
32. ตอบ ก ฝนตก เป็นประโยค
เพราะมีครบทั้งภาคประธาน คือ ฝน และภาคแสดง คือ
ตก
24
33. ตอบ ค รถแล่นเร็ว เป็น
ประโยคบอกเล่า ส่วนทะเลสีครามเป็นวลี และฉันไม่ได้
ทำา
เป็นประโยคปฏิเสธ
34. ตอบ ข ใครเคาะประตู เป็น
ประโยคคำาถาม
35. ตอบ ค ทำาไมน้องไม่ไป
โรงเรียน และใครไม่ไปโรงเรียน เป็นประโยคคำาถาม
ส่วนน้องไม่ไปโรงเรียน เป็นประโยคปฏิเสธ
36. ตอบ ก เติมคำาว่า ใจดี จึงจะ
คล้องจองกับคำาว่า ครูใหญ่ และผีเสื้อ คือ ครูใหญ่ ใจดี
ผีเสื้อ
37. ตอบ ก โศก และ เศร้า ไม่
คล้องจองกัน เพราะไม่ได้ประสมกับสระ และมีตัวสะกด
มาตราเดียวกัน
38. ตอบ ข อร่อย ในภาษาถิ่น
เหนือพูดว่า ลำา ส่วนหรอย เป็นภาษาถิ่นใต้ และแซบ
เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน
39. ตอบ ค จากภาพเป็นการละ
เล่นรีรีข้าวสาร จึงต้องร้องบทร้องเล่น รีรีข้าวสาร สอง
ทะนานข้าวเปลือก….
40. ตอบ ก ควรเติมคำาว่า ล่อง
ลอย และ สำาลี ลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง และ
คล้องจองกัน

25
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ก จากภาพคือคำาว่า เป็ด
ประสมกับสระ เอ กับ ไม้ไต่คู้ ซึ่งเป็นสระ เ–ะ แปลง
รูป
เมื่อมีตัวสะกด
2. ตอบ ค ควรเติมวรรณยุกต์ –่่
/ –่้ / –่้ / –่๊ จะได้ แม่วางส้มโอไว้บนโต๊ะ
3. ตอบ ข สีฟ้า มีเสียงวรรณยุกต์
จัตวา และ ตรี เหมือนกับคำาว่า ขาโต๊ะ ส่วนกวยจั๊บ มี
เสียงวรรณยุกต์สามัญและตรี ลูกนำ้า มีเสียงวรรณยุกต์
โทและตรี
26
4. ตอบ ข มีดบาด เป็นคำาที่มีตัว
สะกดในมาตราแม่กด
5. ตอบ ค อากาศ ยีราฟ เป็นคำาที่
มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กดและแม่กบ คือ คำาที่
สะกดด้วยพยัญชนะตัวอื่นๆ ที่ไม่ตรงกับชื่อมาตราตัว
สะกด แต่ออกเสียงเป็นเสียงเดียวกับมาตราตัวสะกดนั้นๆ
6. ตอบ ข จากข้อความ มีคำาควบ
กลำ้าแท้ คือ ความ และคำาควบกลำ้าไม่แท้ คือ จริง และ
สร้าง รวมทั้งหมด 3 คำา
7. ตอบ ก ไผท และ ฉลาด เป็นคำา
ที่อ่านแบบอักษรนำาทุกคำา ส่วน ตรึงตรา โพรง เป็นคำา
ควบกลำ้า
8. ตอบ ค ตลอด และ อร่อย เป็น
คำาที่มีอักษรนำา ส่วน กราบ ครู ปลอด พราย เป็นคำาควบ
กลำ้าแท้
9. ตอบ ข ธงไตรรงค์ ใช้ ค์ จึง
จะสะกดถูกต้อง
10. ตอบ ค บรรจุ สร้างสรรค์
เขียนถูกต้องทุกคำา ส่วน สันหา เขียนว่า สรรหา
บันทุก เขียนว่า บรรทุก
11. ตอบ ก สามารถ อ่านว่า สา
– มาด ไม่ออกเสียงตัว ร
12. ตอบ ค ดึง หมายถึง รั้งมา,
เหนี่ยวมา ส่วน ดัน หมายถึง ผลักให้เคลื่อนไป ซึ่งมี
ความหมายตรงกันข้าม
13. ตอบ ก มาลี มีความหมายว่า
ดอกไม้ ส่วนสกุณา หมายถึง นก และนภา หมายถึง
ท้องฟ้า
14. ตอบ ข ควรเติมคำาว่า ธนบัตร
จึงจะได้ใจความสมบูรณ์ ถูกต้อง
27
15. ตอบ ค เราควรขยันหมั่น
เพียรในการทำาสิ่งต่างๆ จึงจะได้ในสิ่งที่ต้องการ
16. ตอบ ข ใจความสำาคัญของ
ข้อความที่กำาหนดคือ ไม่ควรขอคนอื่น
17. ตอบ ก ถ้าเราอยากได้อะไร
เราควรลงมือทำาด้วยตนเองก่อน
18. ตอบ ค นวนิยายเป็นหนังสือ
ที่ให้ความบันเทิง
19. ตอบ ค จากข้อเขียนเชิง
อธิบายที่กำาหนด สิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ ไม่ทิ้งขยะเกลื่อน
กลาด แต่ทิ้ง ลงในถังขยะเท่านั้น จึงจะเป็นการรักษา
ความสะอาด
20. ตอบ ก การอ่านหนังสือใน
ห้องสมุดไม่ควรอ่านออกเสียง เพราะจะรบกวนผู้อื่น ซึ่ง
ถือว่าไม่มีมารยาทในการอ่าน
21. ตอบ ข การคัดลายมือตัว
บรรจงเต็มบรรทัด ควรคัดให้ตัวหนังสือสูงจรดเส้นบรรทัด
บนและล่าง เว้นช่องไฟให้เท่ากัน และวางรูปสระและ
วรรณยุกต์ให้ถูกตำาแหน่ง
22. ตอบ ก การเขียนบันทึก
ประสบการณ์ เป็นการเขียนเพื่อบันทึกประสบการณ์ของผู้
เขียนที่ได้พบเห็นมา
23. ตอบ ค การเขียนเรื่องตาม
จินตนาการ เป็นการเขียนเรื่องที่คิดขึ้นเอง
24. ตอบ ข การเขียนเรื่องโดย
พาดพิงผู้อื่น จัดว่าไม่มีมารยาทในการเขียน เพราะอาจ
ทำาให้ผู้ถูกพาดพิงได้รับความเสียหายได้
25. ตอบ ก เมื่อฟังคำาสั่งและคำา
แนะนำาแล้ว ควรพูดตอบรับแล้วปฏิบัติตามคำาสั่ง ไม่ควร
ทำาเฉย
28
26. ตอบ ค ขณะพูดเล่าเรื่อง ไม่
ควรเล่าเรื่องอื่นแทรก เพราะจะทำาให้ผู้ฟังเกิดความ
สับสนได้
27. ตอบ ข แต่เดิมวันขึ้นปีใหม่
ไทย ตรงกับวันสงกรานต์
28. ตอบ ค วันสงกรานต์ได้
คตินิยมจากประเทศอินเดีย
29. ตอบ ก ในการพูดแสดงความ
คิดเห็น ควรพูดแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง
30. ตอบ ข การพูดขอร้อง ควร
พูดด้วยถ้อยคำาสุภาพ และพูดให้ตรงประเด็น
31. ตอบ ก ในการฟังและดู ควร
ตั้งใจฟังและดู ไม่พูดคุยหรือแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม
เช่น โห่ เป่าปาก กระทืบเท้า และควรจดบันทึกใจความ
สำาคัญของเรื่องที่ฟังและดูด้วย จึงจะถือว่ามีมารยาทใน
การฟังและดู
32. ตอบ ข นำ้าไหลแรงมาก เรียง
ลำาดับคำาเป็นประโยคได้ถูกต้อง
33. ตอบ ข เขาชอบกินอาหาร
ประเภทใด เป็นประโยคคำาถาม
34. ตอบ ค ฉันไม่ได้ไปโรงเรียน
เป็นประโยคปฏิเสธ
35. ตอบ ก ทินเป็นเด็กดี เป็น
ประโยคบอกเล่า
36. ตอบ ข เปิดโลก โชคลาภ
ซาบซึ้ง คล้องจองกัน
37. ตอบ ก นกน้อย
ฝอยทอง หมองคลำ้า คล้องจองกัน
29
38. ตอบ ค ภาษาถิ่นอีสานที่ใช้
พูดแทนตัวเอง ใช้ว่า ข้อย ส่วน ฉาน เป็นภาษาถิ่นใต้
และข้อย เป็นภาษาถิ่นอีสาน
39. ตอบ ข มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตา
อยู่ข้างหลัง... เป็นบทร้องประกอบการละเล่นมอญซ่อน
ผ้า
40. ตอบ ก ควรเติมคำาว่า คุณครู
ลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง

30

More Related Content

What's hot

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษTapanee Sumneanglum
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 

What's hot (20)

ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 

Viewers also liked

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (8)

มารยาทไทย1
มารยาทไทย1มารยาทไทย1
มารยาทไทย1
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2

  • 4. วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 40 ข้อ ให้กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง 1. เขียนอย่างไร ก. โมดะ ข. มโดะ ค. มด 2. จากภาพ มีจำานวนเท่าใด ก. ๔ ข. ๕ ค. ๙ 3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทุกเสียง ก. ขา กบ น้อง เตา แม่ ข. แจก ว่า ร้อง โต๊ะ เดี๋ยว ค. คิด ท่อ ใช่ แน่ แล้ว 4. คำาในข้อใดไม่มีตัวสะกดทั้งหมด ก. ชาวนา ข. นัวเนีย ค. สวยงาม 5. คำาในข้อใดมีตัวสะกดแบบไม่ตรงตามมาตรา ก. รูปภาพ ข. ศึกษา ค. กลมเกลียว 6. แพรวนั่งกินกล้วย ส่วนพลอยกินพุทรา ทั้งสองฟังกล้า เป่าขลุ่ยอยู่ที่ใต้ต้นไทร จากข้อความ มีคำาควบแท้คำาใดบ้าง ก. กล้วย พลอย พุทรา ขลุ่ย ไทร ข. แพรว กล้วย พุทรา กล้า ไทร ค. แพรว กล้วย พลอย กล้า ขลุ่ย 7. ข้อใดอ่านไม่ถูกต้อง 4 โ – ะ
  • 5. ก. ทราย อ่านว่า ซาย ข. จริง อ่านว่า จริง ค. ไซร้ อ่านว่า ไซ้ 8. คำาที่มีอักษรนำาข้อใดอ่านถูกต้อง ก. ตลาด อ่านว่า ตะ – หลาด ข. แสวง อ่านว่า แส – วง ค. อร่อย อ่านว่า อะ – ร่อย 9. คำาว่า เหลืองอร่าม อ่านว่าอย่างไร ก. เหลือง – อะ – ร่าม ข. เหลือง – อ่าม ค. เหลือง – อะ – หร่าม 10.สุนัขมีความซื่อสัต__ ต่อเจ้าของ ควรเติมตัวการันต์ในข้อ ใด ก. ย์ ข. ว์ ค. ร์ 11.คำาในข้อใดอ่านถูกต้อง ก. สวรรค์ อ่านว่า สะ – วัน ข. ธรรมชาติ อ่านว่า ทำา – มะ – ชาด ค. บรรทุก อ่านว่า บัน – ระ – ทุก 12.คำาว่า สมัคร อ่านว่าอย่างไร ก. สะ – มัก – ระ ข. สะ – มัก ค. สะ – หมัก 13.อึกทึก มีความหมายคล้ายกับคำาว่าอะไร ก. ดึงดัน ข. ครึกโครม ค. ยุกยิก 14.พี่ดูเวลาจาก___________ ควรเติมคำาใด ก. นาฬิกา ข. ปฏิทิน ค. เข็มทิศ 5 อ่านเรื่องที่กำาหนด แล้ว ตอบคำาถามข้อ 15. ประเทศไทยไม่ได้ตั้งอยู่ในแนว ของภูเขาไฟ จึงไม่มีภูเขาไฟคุกรุ่นที่จะระเบิดได้ มีก็แต่ร่องรอย ที่เหลือให้เห็นว่าเคยมีภูเขาไฟอยู่เมื่อ หลายพันปีมาแล้ว เช่น ภูเขาไฟจำาปา แดดและม่อนหินฟู ที่จังหวัดลำาปาง หรือภูเขาไฟพนมรุ้ง ซึ่งมีปราสาทหิน พนมรุ้ง ตั้งอยู่บน
  • 6. 15.ประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟหรือไม่ เพราะอะไร ก. ไม่มีภูเขาไฟเลย เพราะไม่ได้ตั้งอยู่ในแนวของภูเขาไฟ ข. มีภูเขาไฟคุกรุ่นที่กำาลังจะระเบิด เพราะมีหลักฐานปรากฏอยู่ หลายจังหวัด ค. เคยมีเมื่อหลายพันปีมาแล้ว เพราะมีหลักฐานที่ปรากฏอยู่ใน จังหวัดลำาปาง และจังหวัดบุรีรัมย์ 16.ใจความสำาคัญของเรื่องนี้คือข้อใด ก. อันตรายจากผงชูรส ข. ความอร่อยของ ผงชูรส ค. วิธีปรุงอาหาร 17.จากเรื่องที่กำาหนด ข้อความในข้อใดเป็นการแสดงความคิดเห็น ก. ผงชูรสไปกระตุ้นปุ่มรับสัมผัสมากเกินไป ข. เราควรใส่ผงชูรสในการปรุงอาหารเพียงเล็กน้อย ค. ถ้าเราใส่ผงชูรสในอาหารมากเกินไปจะมีอาการตาแดง 18.จากเรื่องที่กำาหนด ข้อความในข้อใดเป็นข้อเท็จจริง ก. ผงชูรสทำาให้อาหารมีรสอร่อย ข. เมื่อรับประทานอาหารที่ใส่ผงชูรสจะทำาให้ปวดศีรษะ 6 อ่านเรื่องที่กำาหนด แล้วตอบ คำาถามข้อ 16. – 18. เราใส่ผงชูรสในอาหารเพื่อให้อาหารมีรสกลมกล่อม แต่ควรใส่เพียงเล็กน้อย ถ้าใส่มากเกินไป เมื่อรับ ประทานอาหารนั้น จะทำาให้มีอาการหน้าแดง รู้สึกร้อน ไหม้ตามกระพุ้งแก้ม ลิ้น และลำาคอ และอาจมีอาการอื่นๆ ตามมาด้วย เช่น อาการผิดปกติ ที่ดวงตา รู้สึกแน่น หน้าอก และปวดศีรษะอย่างรุนแรง ทั้งนี้เพราะผงชูรสไป
  • 7. ค. ผู้ที่รับประทานอาหารที่ใส่ผงชูรสมากเกินไป จะทำาให้รู้สึก ร้อนไหม้ตามลำาคอ 19.หากนักเรียนเข้าไปใช้บริการห้องสมุด แล้วพบป้ายข้อควรปฏิบัติ ในการใช้ห้องสมุดติดอยู่ตรง ทางเข้าห้องสมุด นักเรียนควรทำาอย่างไรเป็นอันดับแรก ก. อ่านรายละเอียดของข้อเขียน ข. ปฏิบัติตามที่ข้อเขียนระบุไว้ ค. ทำาความเข้าใจเนื้อความของข้อเขียน 20.การอ่านหนังสือในสถานที่ใด ควรอ่านในใจมากที่สุด เพื่อให้ เป็นผู้มีมารยาทในการอ่าน ก. โรงอาหาร ข. ห้องสมุด ค. สนามกีฬา 21.ตัวอักษรไทยในข้อใด มีลักษณะการเขียนคล้ายกันทุกตัว ก. จ ร ง ข. ผ ฝ พ ค. ฉ ณ น 22.ในการเขียนบันทึกประสบการณ์ ไม่จำาเป็นต้องเขียนสิ่งใด ก. ชื่อผู้ปกครอง ข. เนื้อหา ค. วัน เดือน ปี ที่ บันทึก 23.ข้อใดเป็นการเขียนเรื่องตามจินตนาการ ก. การเขียนนิทานเรื่องแมวเหมียวผจญภัย ข. การเขียนรายการอาหารที่ชอบ ค. การคัดลอกบทเพลงที่ชอบ 24.ใครไม่มีมารยาทในการเขียน ก. ตูนเขียนเรื่องเพื่อนของฉันโดยใช้ภาษาสุภาพ ข. จิ๊บเขียนแหล่งที่มาของข้อมูลที่ค้นคว้ามา ค. โอ๋วาดรูปวิวสวยๆ ลงในหนังสือที่ขอยืมจากเพื่อน 25.หากคุณแม่พูดว่า “ลูกควรอาบนำ้าก่อน แล้วค่อยทำาการ ”บ้านนะจ๊ะ ควรปฏิบัติอย่างไร 7
  • 8. ก. ตั้งใจฟังแล้วไปทำาการบ้านก่อน ข. ตั้งใจฟังแล้วไปอาบนำ้าก่อน ค. ตั้งใจฟังแล้วพักผ่อนก่อน จากนั้นค่อยทำาการบ้าน 26.ใครปฏิบัติตนในการพูดเล่าเรื่องได้ถูกต้อง ก. เต้วางโครงเรื่องก่อนเล่า ข. แต้วเล่าเรื่องอื่นแทรกไปด้วย เพื่อให้ผู้ฟังไม่เบื่อ ค. ติ๊กเล่าเรื่องตามที่นึกได้ในขณะนั้นโดยไม่เตรียมตัว 27.จากเรื่องที่ฟัง มีใจความสำาคัญอย่างไร ก. ชายขับเกวียนสงสารจระเข้ที่นอนอยู่กลางแดด ข. ชายขับเกวียนจับจระเข้ด้วยเถาวัลย์ ค. ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า 28.แหล่งนำ้าในข้อใดที่กล่าวถึงในเรื่อง ก. ทะเล ข. นำ้าตก ค. แม่นำ้า 29.คำาพูดจากเรื่องที่ฟังในข้อใดมีลักษณะเป็นการแสดงความคิดเห็น และความรู้สึก ก. เราจะช่วยพาเจ้าไปที่แม่นำ้า ข. ถ้าท่านพาเราไปที่แม่นำ้าก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา ค. เจ้าจะไปหรือไม่ 30.หากต้องการถามแม่ค้าเกี่ยวกับราคาดินสอ ควรพูดว่าอย่างไร ก. จะซื้อดินสอแท่งนี้ค่ะ ข. ดินสอขายแพงไหมคะ ค. ดินสอราคาแท่งละเท่าไรคะ 31.ใครเป็นผู้มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ก. ทินกินขนมแก้ง่วงระหว่างชมการแสดงดนตรี ข. ดาวปรบมือเมื่อชอบใจคำาพูดของวิทยากร ค. อั้มพูดตะโกนดังๆ ขณะเล่าเรื่องราวให้เพื่อนฟัง 32.ข้อใดเป็นประโยค ก. ฝนตก ข. ปลาทอด ค. ดินสอสี 8 ข้อ 27. – 29. ฟังครูเล่าเรื่อง แล้วตอบคำาถาม
  • 9. 33.ข้อใดเป็นประโยคบอกเล่า ก. ทะเลสีคราม ข. ฉันไม่ได้ทำา ค. รถแล่นเร็ว 34.ข้อใดเป็นประโยคคำาถาม ก. ฉันไม่ไปไหนทั้งนั้นข. ใครเคาะประตู ค. ใครๆ ก็ไม่รัก ฉัน 35.ประโยคในข้อใดต่างจากพวก ก. ทำาไมน้องไม่ไปโรงเรียน ข. ใครไม่ไปโรงเรียน ค. น้องไม่ไปโรงเรียน 36.ปลาทอง มองดู ครูใหญ่ __________ ผีเสื้อ เจือจาน ควรเติมคำาใดลงในช่องว่างจึงจะคล้องจองกัน ก. ใจดี ข. อารี ค. เด็กดี 37.คำาคู่ใดไม่สัมผัสคล้องจองกัน ก. โศก – เศร้า ข. สับสน – ปนเป ค. แมวนำ้า – ธรรมะ 38.คำาว่า อร่อย ในภาษาถิ่นเหนือ พูดอย่างไร ก. หรอย ข. ลำา ค. แซบ 39. จากภาพ ควรใช้บทร้องเล่นในข้อ ใด ก. จำ้าจี้มะเขือเปราะ กะเทาะหน้าแว่น.... ข. มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง.... ค. รีรีข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก... 40. ควรเติมคำาใดในบทอาขยาน ก. ล่องลอย / สำาลี ข. เล่น / สำาลี ค. เพลิดเพลิน / นุ่น 9 นกเอยนก น้อยน้อย บิน_______เป็นสุ ขศรี ขนขาว
  • 14. ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 กลุ่ม สาระภาษาไทย วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 40 ข้อ ให้กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง 1. จากภาพ เป็นคำาที่ ประสมกับสระใด ก. สระ เอ กับ ไม้ไต่คู้ ข. สระ แอ กับ ไม้ไต่คู้ ค. สระ เอ 2. แมวางสมโอไวบนโตะ ควรเติมวรรณยุกต์ในข้อใด ก. –่่ / –่้ / –่๊ / –่๋ ข. –่่ / –่้ / –่๊ / –่๊ ค. –่่ / –่้ / –่้ / –่๊ 3. คำาในข้อใด มีเสียงวรรณยุกต์ตรงกับคำาว่า สีฟ้า ก. กวยจั๊บ ข. ขาโต๊ะ ค. ลูกนำ้า 4. ประโยคในข้อใดมีคำาที่สะกดในมาตราแม่กด ก. แม่ปรุงอาหารอยู่ในครัว ข. ฉันถูกมีดบาดที่นิ้วก้อย ค. พ่อซ่อมรอยรั่วบนหลังคา 5. ข้อใดมีคำาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราทุกคำา ก. บัวลอย นำ้าตาล ข. ดนตรี คณิตศาสตร์ ค. อากาศ ยีราฟ 6. 14 ท้องฟ้า แสงแดด และปุย เมฆนั้นมีความสุขกับการที่มี คนแหงนมองดูและพูดว่า “เธอช่างสวยจริง” พวกเขา จึงร่วมมือกันสร้างสิ่งที่งดงาม
  • 15. จากข้อความ มีคำาควบกลำ้าแท้และคำาควบกลำ้าไม่แท้ รวมกัน ทั้งหมดกี่คำา ก. 2 คำา ข. 3 คำา ค. 4 คำา 7. ข้อใดอ่านแบบอักษรนำาทุกคำา ก. ไผท ฉลาด ข. เหม็น ตรึงตรา ค. อยาก โพรง 8. ข้อใดอ่านออกเสียงต่างจากข้ออื่น ก. กราบ ครู ข. ปลอด พราย ค. ตลอด อร่อย 9. ธงไตรรง______ ควรเติมตัวการันต์ในข้อใด ก. ศ์ ข. ค์ ค. ย์ 10.ข้อใดเขียนถูกทุกคำา ก. หรรษา สันหา ข. บันทุก พระขรรค์ ค. บรรจุ สร้างสรรค์ 11.คำาว่า สามารถ อ่านว่าอย่างไร ก. สา – มาด ข. สา – มา – รด ค. สา – มาด – ถะ 12.คำาในข้อใดมีความหมายตรงกันข้าม ก. ผอม – เพรียว ข. การ – งาน ค. ดึง – ดัน 13.คำาในข้อใดมีความหมายเหมือนกับคำาว่า ดอกไม้ ก. มาลี ข. สกุณา ค. นภา 14.แม่ให้ _________ ฉบับละ 100 บาท แก่แม่ค้า ควรเติมคำาใด จึงจะได้ใจความถูกต้อง ก. เหรียญ ข. ธนบัตร ค. กระดาษ 15 อ่านข้อความที่กำาหนด แล้ว ตอบคำาถามข้อ 15. – 17. “พ่อว่า ถ้าเราอยากได้อะไร เราควร พยายามทำาสิ่งนั้นเอง เราไม่ควรขอคนอื่น ถ้าเราลงมือทำาด้วยความขยันหมั่นเพียรและ ช่วยตนเองให้มากที่สุด เราก็จะได้สิ่งที่ เราต้องการเสมอ คนขยันหมั่นทำามาหากิน จะไม่มีวันอดตาย จงจำาไว้ว่า เหนื่อยก่อน ”สบายทีหลังนะลูก พ่อสอนเอื้อยและอ้อย
  • 16. 15.ถ้าลงมือทำาสิ่งใดแล้วจะได้สิ่งนั้น เราควรปฏิบัติตามข้อใดมาก ที่สุด ก. ขอคำาแนะนำาจากผู้อื่น ข. ให้กำาลังใจตัวเอง ค. ขยันหมั่นเพียร 16.ใจความสำาคัญของสิ่งที่พ่อสอนเอื้อยและอ้อยคืออะไร ก. ไม่ให้ช่วยตนเอง ข. ไม่ควรขอคนอื่น ค. ไม่ทำาตามใจ ตนเอง 17.ถ้านักเรียนอยากได้อะไร นักเรียนควรทำาอย่างไร ก. ทำาด้วยตนเองก่อน ข. ให้ผู้ปกครองช่วย ค. ขอจากคนอื่น 18.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประเภทให้ความรู้ ก. พจนานุกรม ข. หนังสืออ้างอิง ค. นวนิยาย 19. กรุณารักษาความสะอาด เมื่ออ่านข้อเขียน เชิงอธิบายนี้แล้ว ควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะเหมาะสมที่สุด ก. แบ่งกลุ่มเพื่อทำาเวรประจำาวัน ข. ถอดรองเท้าก่อนเข้าห้องเรียนทุกครั้ง ค. ไม่ทิ้งขยะเกลื่อนกลาด แต่ทิ้งลงในถังขยะเท่านั้น 20.ใครไม่มีมารยาทในการอ่าน ก. อ้อมอ่านหนังสือให้เพื่อนฟังในห้องสมุด ข. ตั๊กถ่ายสำาเนาหนังสือที่ต้องการโดยไม่ฉีกหนังสือ ค. ป๋องอ่านหนังสือคนเดียวเงียบๆ ในห้องสมุด 21.ข้อใดเป็นการคัดลายมือที่ถูกต้อง ก. คัดลายมือ ข. คัดลายมือ ค. คัดลายมอื 22.ข้อความใดเป็นการเขียนบันทึกประสบการณ์ ก. ฉันตื่นแต่เช้า เพื่อออกไปดูพระอาทิตย์ขึ้นที่ผานกแอ่น ภูกระดึง จ.เลย 16
  • 17. ข. ฉันชอบว่ายนำ้า แล้วเธอชอบเล่นกีฬาอะไร ค. ฉกชิงวิ่งราว หมายถึง การแย่งชิงเอาไปซึ่งหน้า 23.ข้อใดเป็นลักษณะของการเขียนเรื่องตามจินตนาการ ก. การเขียนเรื่องตามที่ผู้อื่นเขียน ข. การเขียนเรื่องจากสิ่งที่เห็น ค. การเขียนเรื่องที่คิดขึ้นเอง 24.ข้อใดไม่ใช่มารยาทในการเขียน ก. ไม่เขียนในที่สาธารณะ ข. เขียนเรื่องโดยพาดพิงถึงผู้อื่น ค. ใช้ภาษาในการเขียนอย่างสุภาพ 25.ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการฟังคำาสั่งและคำาแนะนำา ก. พูดตอบรับแล้วทำาเฉยกับคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง ข. จับใจความสำาคัญของคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง ค. ปฏิบัติตามคำาสั่งหรือคำาแนะนำาที่ฟัง 26.ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการพูดเล่าเรื่อง ก. แสดงความคิดเห็นของตนเองหลังจากเล่าเรื่องจบแล้ว ข. เตรียมว่าจะเล่าเรื่องอะไร ค. เล่าเรื่องอื่นแทรกเป็นระยะ ข้อ 27. – 28. ฟังครูเล่าเรื่อง แล้วตอบคำาถาม 27.แต่เดิมวันขึ้นปีใหม่ของไทย ตรงกับวันอะไร ก. วันมาฆบูชา ข. วันสงกรานต์ ค. วันเข้าพรรษา 28.วันสงกรานต์ได้คตินิยมมาจากประเทศใด ก. เขมร ข. จีน ค. อินเดีย 29.ใครพูดแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสม ก. ต๋อมพูดแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง ข. โต๋พูดแสดงความคิดเห็นเข้าข้างเพื่อนสนิทของตนเอง ค. ตู่พูดแสดงความคิดเห็นตามที่เพื่อนบอกเพื่อให้เพื่อนพอใจ 30.หากนักเรียนต้องการพูดขอร้องให้เพื่อนรักษาความสะอาด ควร พูดอย่างไร จึงจะชัดเจนและ 17
  • 18. เหมาะสมที่สุด ก. นี่ ! เก็บขยะกันบ้างสิ ข. เพื่อนๆ คะ โปรดทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้งนะคะ ค. เพื่อนๆ ทุกคน ต้องนำาขยะในถังขยะไปทิ้งนะจ๊ะ 31.ใครมีมารยาทในการฟัง และการดู ก. เก๋จดบันทึกใจความสำาคัญของเรื่องที่ฟังและดู ข. กุ๋ยคุยกับโก้เบาๆ ขณะชมการแสดงละครเวที ค. แก้มเป่าปากเมื่อนักร้องร้องเพลงที่ชอบ 32.ข้อใดเรียงลำาดับคำาเป็นประโยคได้ถูกต้อง     มาก นำ้า แรง ไหล ก.  ข.  ค.  ข้อ 33. – 35. อ่านประโยคที่กำาหนด แล้วบอกว่าเป็นประโยค ประเภทใดจากตัวเลือกที่กำาหนด 1) ประโยคบอกเล่า 2) ประโยคคำาถาม 3) ประโยคปฏิเสธ 33.เขาชอบกินอาหารประเภทใด ก. 1) ข. 2) ค. 3) 34.ฉันไม่ได้ไปโรงเรียน ก. 1) ข. 2) ค. 3) 35.ทินเป็นเด็กดี ก. 1) ข. 2) ค. 3) อ่านประโยคข้อ 36. – 37. แล้วเรียงคำาที่กำาหนดให้ คล้องจองกัน จากตัวเลือกที่กำาหนดให้ 36.1) ซาบซึ้ง 2) เปิดโลก 3) โชคลาภ ก. 1) 2) 3) ข. 2) 3) 1) ค. 3) 2) 1) 37.1) นกน้อย 2) หมองคลำ้า 3) ฝอยทอง ก. 1) 3) 2) ข. 1) 2) 3) ค. 3) 2) 1) 18
  • 19. 38.หนูหิ่นเป็นคน จ.อุบลราชธานี หนูหิ่นควรใช้คำาพูดแทนตัวเองว่า อย่างไร ก. ฉาน ข. เฮา ค. ข้อย 39.ข้อใดเป็นบทร้องประกอบการละเล่น ก. เจ้านกกาเหว่าเอย ไข่ไว้ให้แม่กาฟัก แม่กาก็หลงรัก คิดว่าลูกในอุทร.... ข. มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง..... ค. ไก่เอ๋ยไก่แจ้ ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง โก่งคอเรื่อยร้องซ้องสำาเนียง ฟังเพียงบรรเลงวังเวงดัง 40. ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก ถึง_______ผู้ฝึกสอนสั่ง ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย ควรเติมคำาใดลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง ก. คุณครู ข. คุณแม่ ค. คุณพ่อ   สำาหรับครู ครูอ่านเรื่องที่กำาหนดให้นักเรียนฟัง แล้วตอบคำาถาม เรื่องที่ 1 : อ่านเรื่องนี้เพื่อให้นักเรียนฟัง แล้วตอบ คำาถามในข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชุดที่ 1 ข้อ 27. – 29. จระเข้ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงกว้างใหญ่ พอถึงฤดูแล้งนำ้าใน บึงแห้ง จระเข้ นอนอยู่ริมบึงอย่างอ่อนเพลีย มีชายคนหนึ่งขับเกวียนผ่านมา เห็นจระเข้นอนอยู่กลางแดด ก็นึกสงสาร จึงถามจระเข้ว่า “เจ้านอนอยู่ในบึงไม่มีนำ้าเช่นนี้คง ร้อนมาก เราจะช่วยพาเจ้า 19
  • 20. ไปที่แม่นำ้า ”เจ้าจะไปหรือไม่ จระเข้ได้ฟังก็ยินดีจึงพูดว่า “ถ้า ท่านพาเราไปที่แม่นำ้า ”ก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา ชายขับเกวียนลงไปมัดจระเข้ด้วย เถาวัลย์ แล้วลากจระเข้ ขึ้นเกวียนไปยังแม่นำ้าใหญ่ เรื่องที่ 2 : อ่านเรื่องนี้เพื่อให้นักเรียนฟัง แล้วตอบ คำาถามในข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใช้ภาษา) ชุดที่ 2 ข้อ 27. – 28. แต่ก่อนประเทศไทยถือเอาวันสงกรานต์ คือ วันขึ้น 1 คำ่า เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่ ตามแบบอย่างประเทศอินเดีย การนับวันตามข้างขึ้น ข้าง แรม ทำาให้วันขึ้นปีใหม่ ไม่แน่นอนตรงกันทุกปี ต่อมาประเทศไทยจึงได้กำาหนดวันที่ 13 เมษายน เป็นวันสงกรานต์ และกำาหนดให้เป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย 20
  • 21. เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 1. ค 2. ข 3. ก 4. ข 5. ก 6. ค 7. ข 8. ก 9. ค 10. ก 11. ข 12. ค 13. ข 14. ก 15. ค 16. ก 17. ข 18. ค 19. ก 20. ข 21. ค 22. ก 23. ก 24. ค 25. ข 26. ก 27. ค 28. ค 29. ข 30. ค 31. ข 32. ก 33. ค 34. ข 35. ค 36. ก 37. ก 38. ข 39. ค 40. ก เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 1. ก 2. ค 3. ข 4. ข 5. ค 6. ข 7. ก 8. ค 9. ข 10. ค 11. ก 12. ค 13. ก 14. ข 15. ค 16. ข 17. ก 18. ค 19. ค 20. ก 21. ข 22. ก 23. ค 24. ข 25. ก 26. ค 27. ข 28. ค 29. ก 30. ข 31. ก 32. ข 33. ข 34. ค 35. ก 36. ข 37. ก 38. ค 39. ข 40. ก เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 เฉลยอย่างละเอียด 21
  • 22. 1. ตอบ ค จากภาพเป็นคำาว่า มด เพราะการประสมคำากับสระ โ–ะ เมื่อมีตัวสะกดจะลดรูป สระหายไปทั้งหมด 2. ตอบ ข จากภาพมีปลา 5 ตัว เขียนเป็นเลขไทย คือ ๕ 3. ตอบ ก ขา มีเสียงวรรณยุกต์ จัตวา กบ มีเสียงวรรณยุกต์เอก น้อง มีเสียง วรรณยุกต์ตรี เตา มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ แม่ มี เสียงวรรณยุกต์โท ส่วนข้อ ข. แจก มีเสียงวรรณยุกต์เอก ว่า มีเสียง วรรณยุกต์โท ร้อง มีเสียงวรรณยุกต์ตรี โต๊ะ มี เสียงวรรณยุกต์ตรี เดี๋ยว มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา ส่วนข้อ ค. คิด มีเสียงวรรณยุกต์ตรี ท่อ มีเสียง วรรณยุกต์โท ใช่ มีเสียงวรรณยุกต์โท แน่ มี เสียงวรรณยุกต์โท แล้ว มีเสียงวรรณยุกต์ตรี 4. ตอบ ข นัวเนีย เป็นคำาที่ประสม กับสระ –ัว และ สระ เ – ีย จึงไม่มีตัวสะกด 5. ตอบ ก รูปภาพ เป็นคำาใน มาตราแม่กบที่มีตัวสะกดแบบไม่ตรงตามมาตรา 6. ตอบ ค แพรว กล้วย พลอย กล้า ขลุ่ย เป็นคำาควบกลำ้าแท้ 7. ตอบ ข จริง อ่านว่า จิง 8. ตอบ ก ตลาด อ่านว่า ตะ – หลาด แสวง อ่านว่า สะ – แหวง อร่อย อ่านว่า อะ – หร่อย 9. ตอบ ค เหลืองอร่าม อ่านว่า เหลือง – อะ – หร่าม 10. ตอบ ก ซื่อสัตย์ ใช้ ย์ จึง จะสะกดถูกต้อง 22
  • 23. 11. ตอบ ข สวรรค์ อ่านว่า สะ – หวัน ธรรมชาติ อ่านว่า ทำา – มะ – ชาด บรรทุก อ่านว่า บัน – ทุก 12. ตอบ ค สมัคร อ่านว่า สะ – หมัก ไม่ออกเสียง ร 13. ตอบ ข อึกทึก มีความหมาย ว่า อื้ออึง ครึกโครม จึงมีความหมายคล้ายกับคำาว่า ครึกโครม 14. ตอบ ก พี่ดูเวลาจากนาฬิกา เพราะนาฬิกาเป็นสิ่งที่ใช้บอกเวลา 15. ตอบ ค ประเทศไทยเคยมี ภูเขาไฟเมื่อหลายพันปีมาแล้ว เพราะยังมีร่องรอย ภูเขาไฟให้เห็น ในปัจจุบัน 16. ตอบ ก ใจความสำาคัญของ เรื่องที่กำาหนดคือ อันตรายของผงชูรส 17. ตอบ ข เราควรใส่ผงชูรสใน การปรุงอาหารเพียงเล็กน้อย จัดเป็นการแสดงความคิด เห็น 18. ตอบ ค ผู้ที่รับประทานอาหาร ที่ใส่ผงชูรสมากเกินไป จะทำาให้รู้สึกร้อนไหม้ตามลำาคอ จัดเป็นข้อเท็จจริง 19. ตอบ ก เมื่อพบข้อเขียนเชิง อธิบาย ควรอ่านรายละเอียดของข้อเขียนเป็นอันดับแรก เพื่อจะได้ปฏิบัติตามข้อเขียนได้ถูกต้อง 20. ตอบ ข การอ่านหนังสือใน ห้องสมุด ควรอ่านในใจเพื่อไม่ให้รบกวนผู้อื่น 21. ตอบ ค ฉ ณ น มี ลักษณะการเขียนคล้ายกัน คือ เขียนขมวดตรงส่วนท้าย ตัวอักษรรูปแบบเดียวกัน 23
  • 24. 22. ตอบ ก การเขียนบันทึก ประสบการณ์ไม่จำาเป็นต้องเขียนชื่อผู้ปกครอง 23. ตอบ ก การเขียนเรื่องตาม จินตนาการ เป็นการเขียนเรื่องที่ผู้เขียนคิดขึ้นตาม จินตนาการของตนเอง เช่น การเขียนนิทาน เป็นต้น 24. ตอบ ค เราไม่ควรขีดเขียนลง บนหนังสือของผู้อื่น หรือสถานที่สาธารณะเพราะถือว่า ไม่มีมารยาทในการเขียน 25. ตอบ ข การฟังคำาสั่งหรือคำา แนะนำา ควรตั้งใจฟัง แล้วปฏิบัติตามคำาสั่งนั้น คือ อาบนำ้า ก่อน แล้วค่อยทำาการบ้าน 26. ตอบ ก การพูดเล่าเรื่อง ควร วางโครงเรื่องก่อนพูด เพื่อให้เล่าเรื่องได้ตามลำาดับ เนื้อหาที่ชัดเจน ซึ่งจะทำาให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจ 27. ตอบ ค ใจความสำาคัญของ เรื่อง คือ ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า 28. ตอบ ก แหล่งนำ้าที่กล่าวถึงใน เรื่อง คือ แม่นำ้า (ชายคนหนึ่งช่วยพาจระเข้ไปที่แม่นำ้า 29. ตอบ ข ถ้าท่านพาเราไปที่ แม่นำ้า ก็จะเป็นบุญคุณแก่เรา เป็นคำาพูดที่เป็นการแสดง ความคิดเห็นและความรู้สึก 30. ตอบ ค การพูดสื่อสารกับผู้ อื่น ควรพูดให้ชัดเจน สุภาพ เช่น เมื่อถามราคาดินสอ จากแม่ค้า ควรถามว่า “ ”ดินสอราคาแท่งละเท่าไรคะ 31. ตอบ ข การปรบมือให้ผู้พูด หรือผู้แสดง ถือว่ามีมารยาทในการฟัง และการดู 32. ตอบ ก ฝนตก เป็นประโยค เพราะมีครบทั้งภาคประธาน คือ ฝน และภาคแสดง คือ ตก 24
  • 25. 33. ตอบ ค รถแล่นเร็ว เป็น ประโยคบอกเล่า ส่วนทะเลสีครามเป็นวลี และฉันไม่ได้ ทำา เป็นประโยคปฏิเสธ 34. ตอบ ข ใครเคาะประตู เป็น ประโยคคำาถาม 35. ตอบ ค ทำาไมน้องไม่ไป โรงเรียน และใครไม่ไปโรงเรียน เป็นประโยคคำาถาม ส่วนน้องไม่ไปโรงเรียน เป็นประโยคปฏิเสธ 36. ตอบ ก เติมคำาว่า ใจดี จึงจะ คล้องจองกับคำาว่า ครูใหญ่ และผีเสื้อ คือ ครูใหญ่ ใจดี ผีเสื้อ 37. ตอบ ก โศก และ เศร้า ไม่ คล้องจองกัน เพราะไม่ได้ประสมกับสระ และมีตัวสะกด มาตราเดียวกัน 38. ตอบ ข อร่อย ในภาษาถิ่น เหนือพูดว่า ลำา ส่วนหรอย เป็นภาษาถิ่นใต้ และแซบ เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน 39. ตอบ ค จากภาพเป็นการละ เล่นรีรีข้าวสาร จึงต้องร้องบทร้องเล่น รีรีข้าวสาร สอง ทะนานข้าวเปลือก…. 40. ตอบ ก ควรเติมคำาว่า ล่อง ลอย และ สำาลี ลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง และ คล้องจองกัน  25
  • 26. เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 เฉลยอย่างละเอียด 1. ตอบ ก จากภาพคือคำาว่า เป็ด ประสมกับสระ เอ กับ ไม้ไต่คู้ ซึ่งเป็นสระ เ–ะ แปลง รูป เมื่อมีตัวสะกด 2. ตอบ ค ควรเติมวรรณยุกต์ –่่ / –่้ / –่้ / –่๊ จะได้ แม่วางส้มโอไว้บนโต๊ะ 3. ตอบ ข สีฟ้า มีเสียงวรรณยุกต์ จัตวา และ ตรี เหมือนกับคำาว่า ขาโต๊ะ ส่วนกวยจั๊บ มี เสียงวรรณยุกต์สามัญและตรี ลูกนำ้า มีเสียงวรรณยุกต์ โทและตรี 26
  • 27. 4. ตอบ ข มีดบาด เป็นคำาที่มีตัว สะกดในมาตราแม่กด 5. ตอบ ค อากาศ ยีราฟ เป็นคำาที่ มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กดและแม่กบ คือ คำาที่ สะกดด้วยพยัญชนะตัวอื่นๆ ที่ไม่ตรงกับชื่อมาตราตัว สะกด แต่ออกเสียงเป็นเสียงเดียวกับมาตราตัวสะกดนั้นๆ 6. ตอบ ข จากข้อความ มีคำาควบ กลำ้าแท้ คือ ความ และคำาควบกลำ้าไม่แท้ คือ จริง และ สร้าง รวมทั้งหมด 3 คำา 7. ตอบ ก ไผท และ ฉลาด เป็นคำา ที่อ่านแบบอักษรนำาทุกคำา ส่วน ตรึงตรา โพรง เป็นคำา ควบกลำ้า 8. ตอบ ค ตลอด และ อร่อย เป็น คำาที่มีอักษรนำา ส่วน กราบ ครู ปลอด พราย เป็นคำาควบ กลำ้าแท้ 9. ตอบ ข ธงไตรรงค์ ใช้ ค์ จึง จะสะกดถูกต้อง 10. ตอบ ค บรรจุ สร้างสรรค์ เขียนถูกต้องทุกคำา ส่วน สันหา เขียนว่า สรรหา บันทุก เขียนว่า บรรทุก 11. ตอบ ก สามารถ อ่านว่า สา – มาด ไม่ออกเสียงตัว ร 12. ตอบ ค ดึง หมายถึง รั้งมา, เหนี่ยวมา ส่วน ดัน หมายถึง ผลักให้เคลื่อนไป ซึ่งมี ความหมายตรงกันข้าม 13. ตอบ ก มาลี มีความหมายว่า ดอกไม้ ส่วนสกุณา หมายถึง นก และนภา หมายถึง ท้องฟ้า 14. ตอบ ข ควรเติมคำาว่า ธนบัตร จึงจะได้ใจความสมบูรณ์ ถูกต้อง 27
  • 28. 15. ตอบ ค เราควรขยันหมั่น เพียรในการทำาสิ่งต่างๆ จึงจะได้ในสิ่งที่ต้องการ 16. ตอบ ข ใจความสำาคัญของ ข้อความที่กำาหนดคือ ไม่ควรขอคนอื่น 17. ตอบ ก ถ้าเราอยากได้อะไร เราควรลงมือทำาด้วยตนเองก่อน 18. ตอบ ค นวนิยายเป็นหนังสือ ที่ให้ความบันเทิง 19. ตอบ ค จากข้อเขียนเชิง อธิบายที่กำาหนด สิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ ไม่ทิ้งขยะเกลื่อน กลาด แต่ทิ้ง ลงในถังขยะเท่านั้น จึงจะเป็นการรักษา ความสะอาด 20. ตอบ ก การอ่านหนังสือใน ห้องสมุดไม่ควรอ่านออกเสียง เพราะจะรบกวนผู้อื่น ซึ่ง ถือว่าไม่มีมารยาทในการอ่าน 21. ตอบ ข การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัด ควรคัดให้ตัวหนังสือสูงจรดเส้นบรรทัด บนและล่าง เว้นช่องไฟให้เท่ากัน และวางรูปสระและ วรรณยุกต์ให้ถูกตำาแหน่ง 22. ตอบ ก การเขียนบันทึก ประสบการณ์ เป็นการเขียนเพื่อบันทึกประสบการณ์ของผู้ เขียนที่ได้พบเห็นมา 23. ตอบ ค การเขียนเรื่องตาม จินตนาการ เป็นการเขียนเรื่องที่คิดขึ้นเอง 24. ตอบ ข การเขียนเรื่องโดย พาดพิงผู้อื่น จัดว่าไม่มีมารยาทในการเขียน เพราะอาจ ทำาให้ผู้ถูกพาดพิงได้รับความเสียหายได้ 25. ตอบ ก เมื่อฟังคำาสั่งและคำา แนะนำาแล้ว ควรพูดตอบรับแล้วปฏิบัติตามคำาสั่ง ไม่ควร ทำาเฉย 28
  • 29. 26. ตอบ ค ขณะพูดเล่าเรื่อง ไม่ ควรเล่าเรื่องอื่นแทรก เพราะจะทำาให้ผู้ฟังเกิดความ สับสนได้ 27. ตอบ ข แต่เดิมวันขึ้นปีใหม่ ไทย ตรงกับวันสงกรานต์ 28. ตอบ ค วันสงกรานต์ได้ คตินิยมจากประเทศอินเดีย 29. ตอบ ก ในการพูดแสดงความ คิดเห็น ควรพูดแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง 30. ตอบ ข การพูดขอร้อง ควร พูดด้วยถ้อยคำาสุภาพ และพูดให้ตรงประเด็น 31. ตอบ ก ในการฟังและดู ควร ตั้งใจฟังและดู ไม่พูดคุยหรือแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม เช่น โห่ เป่าปาก กระทืบเท้า และควรจดบันทึกใจความ สำาคัญของเรื่องที่ฟังและดูด้วย จึงจะถือว่ามีมารยาทใน การฟังและดู 32. ตอบ ข นำ้าไหลแรงมาก เรียง ลำาดับคำาเป็นประโยคได้ถูกต้อง 33. ตอบ ข เขาชอบกินอาหาร ประเภทใด เป็นประโยคคำาถาม 34. ตอบ ค ฉันไม่ได้ไปโรงเรียน เป็นประโยคปฏิเสธ 35. ตอบ ก ทินเป็นเด็กดี เป็น ประโยคบอกเล่า 36. ตอบ ข เปิดโลก โชคลาภ ซาบซึ้ง คล้องจองกัน 37. ตอบ ก นกน้อย ฝอยทอง หมองคลำ้า คล้องจองกัน 29
  • 30. 38. ตอบ ค ภาษาถิ่นอีสานที่ใช้ พูดแทนตัวเอง ใช้ว่า ข้อย ส่วน ฉาน เป็นภาษาถิ่นใต้ และข้อย เป็นภาษาถิ่นอีสาน 39. ตอบ ข มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตา อยู่ข้างหลัง... เป็นบทร้องประกอบการละเล่นมอญซ่อน ผ้า 40. ตอบ ก ควรเติมคำาว่า คุณครู ลงในบทอาขยาน จึงจะถูกต้อง  30