SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
วิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความ
น่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง ปีการศึกษา 2555
ชื่อผู้วิจัย นางสาวจามรี สมานชาติ
ความเป็นมาของการวิจัย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุก
คน ซึ่งเป็นกำาลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน
ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ
เป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตย อันมีพระ
มหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่
จำาเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ นอกจากนี้ยังมุ่งหวังให้
ผู้เรียนได้เกิดสมรรถนะสำาคัญ เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา
เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่างๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและ
ข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ
เหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดย
คำานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ในส่วน
ของสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีองค์ความรู้ ทักษะสำาคัญและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งกำาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานจำาเป็นต้องเรียนรู้ ดังนี้ การนำาความรู้ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา การดำาเนินชีวิต
และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการ
คิดอย่างเป็นระบบ และสร้างสรรค์ และได้กำาหนดสาระการเรียนรู้
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไว้ 6 สาระดังนี้ จำานวนและการ
ดำาเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น ทักษะและกระบวนการคณิตศาสตร์ (กระทรวง
ศึกษาธิการ, 2551 : 4-13)
ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมา แม้ว่านักเรียนจะมี
ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระเป็นอย่างดี แต่นักเรียนจำานวนไม่น้อย
ยังด้อยความสามารถเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การแสดงหรืออ้างอิง
เหตุผล การสื่อสาร การนำาเสนอแนวคิดทางคณิตศาสตร์ การเชื่อม
โยงระหว่างเนื้อหาคณิตศาสตร์กับสถานการณ์ต่างๆ และความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ ปัญหาเหล่านี้ทำาให้นักเรียนไม่สามารถนำาความรู้
คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ในชีวิตประจำาวันและในการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,
2550 : 1 )
จากปัญหาที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า การศึกษาคณิตศาสตร์มี
ความสำาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนและสังคมอย่างไร ทำาให้ผู้วิจัยมี
ความสนใจที่จะศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความ
น่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ว่าเป็นอย่างไร เนื่องจาก ความน่าจะเป็น เป็น
หนึ่งในสาระหลักของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้วยความ
คาดหวังว่าข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาไทย
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิจัย
เพื่อศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะ
เป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ขอบเขตการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้น
ปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำานวน
86 คน จาก 3 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
จำานวน 1 ห้องเรียน จำานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย
(Simple Random Sampling)
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ความน่าจะเป็น
เครื่องมือในการวิจัย
แบบวัดการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำานวน 20 ข้อ มีค่าอำานาจจำาแนก
ตั้งแต่ 0.35 ถึง 0.73 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.93
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ดำาเนินการจัดการเรียนการสอน เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2. ดำาเนินการเก็บข้อมูลหลังเรียน โดยให้นักเรียน ทำาการ
ทดสอบหลังเรียน ด้วย แบบวัดการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. จัดระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะ
เป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตาม
แนวคิดของโจนส์และคณะ (Jones, Grahama A. and others.) ซึ่ง
แบ่งการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ออกเป็นระดับ ดังนี้
ระดับที่ 1 ระดับการให้เหตุผลตามความคิดของตนเอง
หรือระดับการใช้ความคิดของตนเองตัดสิน (Subjective Thinking)
หมายถึงการให้เหตุผลตามระดับการคิดของตนเอง โดยไม่สนใจว่า
สิ่งที่ตนเองสนใจนั้นจะถูกหรือผิด และไม่สนใจว่าอะไรจะเกิดขึ้นใน
สิ่งที่ตนเองให้เหตุผลไป
ระดับที่ 2 ระดับการให้เหตุผลที่แสดงออกมาเป็นตัวเลข
อย่างไม่เป็นทางการ โดยอาศัยความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงระหว่างผลที่
เป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มกับความน่าจะเป็น (Transitional
between Subjective and Native Quantitative Thinking)
หมายถึง การที่นักเรียนให้เหตุผลโดยอาศัยความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยง
ระหว่างผลที่เป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มกับความน่าจะเป็น
ระดับที่ 3 ระดับการให้เหตุผลที่แสดงออกมาเป็นตัวเลข
อย่างไม่เป็นทางการ โดยจะมีกลวิธีคิดที่เป็นเหตุเป็นผล (Informal
Quantitative Thinking) หมายถึง การที่นักเรียนให้เหตุผลที่สมเหตุ
สมผลมากกว่าระดับ 2 คือสามารถบอกโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้น้อย
กว่า มากกว่า หรือเท่ากัน แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าโอกาสที่จะเกิด
ขึ้นความน่าจะเป็นเป็นเท่าไร
ระดับที่ 4 ระดับการให้เหตุผลที่สามารถใช้ทฤษฎี หรือ
เหตุผลต่างๆ ในการคิด หรือคำานวณออกมาเป็นคำาตอบได้
(Numerical Reasoning) หมายถึง การที่นักเรียนสามารถให้
เหตุผลประกอบการหาคำาตอบโดยสามารถอธิบายและเชื่อมโยงคำา
ตอบของตนเอง คำานวณค่าออกมาเป็นตัวเลขได้
ผลการวิจัย
ผลจากการจัดการเรียนการสอนเรื่อง ความน่าจะเป็น ปรากฎ
ว่า นักเรียนร้อยละ 10 มีระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 4, นักเรียนร้อย
ละ 66.67 มีระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 3, นักเรียนร้อยละ 23.33 มี
ระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 2 และไม่พบนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5 ที่มีการให้เหตุผลในระดับ 1
ข้อเสนอแนะ
ครูผู้สอนอาจจะลองสอนด้วยวิธีการอื่น เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ
ผลการสอนในแบบอื่นๆ ต่อการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การศึกษาระดับการให้เหตุผลทาง
คณิตศาสตร์
เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียน
รู้คณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนพนมรุ้ง ปีการศึกษา 2555
นางสาวจามรี สมานชาติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์
โรงเรียนพนมรุ้ง อำาเภอ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 32
นางสาวจามรี สมานชาติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์
โรงเรียนพนมรุ้ง อำาเภอ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 32

More Related Content

What's hot

ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์Anusara Sensai
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีMuhammadrusdee Almaarify
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4Jiraporn Kru
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 

What's hot (20)

ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดีวิจัยชั้นเรียนรุสดี
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555

Internal supervision
Internal supervisionInternal supervision
Internal supervisionpeter dontoom
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58peter dontoom
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาAudchara Maneekrod
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
Is บทคัดย่อdocx
Is บทคัดย่อdocxIs บทคัดย่อdocx
Is บทคัดย่อdocxFrame Natnicha
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555 (20)

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
Internal supervision
Internal supervisionInternal supervision
Internal supervision
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58
สรุปผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 58
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Is บทคัดย่อdocx
Is บทคัดย่อdocxIs บทคัดย่อdocx
Is บทคัดย่อdocx
 

วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555

  • 1. วิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง การศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความ น่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง ปีการศึกษา 2555 ชื่อผู้วิจัย นางสาวจามรี สมานชาติ ความเป็นมาของการวิจัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุก คน ซึ่งเป็นกำาลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ เป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตย อันมีพระ มหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่ จำาเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ นอกจากนี้ยังมุ่งหวังให้ ผู้เรียนได้เกิดสมรรถนะสำาคัญ เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่างๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและ ข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดย คำานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ในส่วน ของสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีองค์ความรู้ ทักษะสำาคัญและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งกำาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐานจำาเป็นต้องเรียนรู้ ดังนี้ การนำาความรู้ ทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา การดำาเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการ คิดอย่างเป็นระบบ และสร้างสรรค์ และได้กำาหนดสาระการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไว้ 6 สาระดังนี้ จำานวนและการ ดำาเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็น ทักษะและกระบวนการคณิตศาสตร์ (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2551 : 4-13) ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมา แม้ว่านักเรียนจะมี ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระเป็นอย่างดี แต่นักเรียนจำานวนไม่น้อย
  • 2. ยังด้อยความสามารถเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การแสดงหรืออ้างอิง เหตุผล การสื่อสาร การนำาเสนอแนวคิดทางคณิตศาสตร์ การเชื่อม โยงระหว่างเนื้อหาคณิตศาสตร์กับสถานการณ์ต่างๆ และความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ปัญหาเหล่านี้ทำาให้นักเรียนไม่สามารถนำาความรู้ คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ในชีวิตประจำาวันและในการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2550 : 1 ) จากปัญหาที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า การศึกษาคณิตศาสตร์มี ความสำาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนและสังคมอย่างไร ทำาให้ผู้วิจัยมี ความสนใจที่จะศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความ น่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ว่าเป็นอย่างไร เนื่องจาก ความน่าจะเป็น เป็น หนึ่งในสาระหลักของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้วยความ คาดหวังว่าข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาไทย วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิจัย เพื่อศึกษาระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะ เป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้น ปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำานวน 86 คน จาก 3 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำานวน 1 ห้องเรียน จำานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ความน่าจะเป็น เครื่องมือในการวิจัย
  • 3. แบบวัดการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำานวน 20 ข้อ มีค่าอำานาจจำาแนก ตั้งแต่ 0.35 ถึง 0.73 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.93 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ดำาเนินการจัดการเรียนการสอน เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2. ดำาเนินการเก็บข้อมูลหลังเรียน โดยให้นักเรียน ทำาการ ทดสอบหลังเรียน ด้วย แบบวัดการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. จัดระดับการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะ เป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตาม แนวคิดของโจนส์และคณะ (Jones, Grahama A. and others.) ซึ่ง แบ่งการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ออกเป็นระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ระดับการให้เหตุผลตามความคิดของตนเอง หรือระดับการใช้ความคิดของตนเองตัดสิน (Subjective Thinking) หมายถึงการให้เหตุผลตามระดับการคิดของตนเอง โดยไม่สนใจว่า สิ่งที่ตนเองสนใจนั้นจะถูกหรือผิด และไม่สนใจว่าอะไรจะเกิดขึ้นใน สิ่งที่ตนเองให้เหตุผลไป ระดับที่ 2 ระดับการให้เหตุผลที่แสดงออกมาเป็นตัวเลข อย่างไม่เป็นทางการ โดยอาศัยความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงระหว่างผลที่ เป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มกับความน่าจะเป็น (Transitional between Subjective and Native Quantitative Thinking) หมายถึง การที่นักเรียนให้เหตุผลโดยอาศัยความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยง ระหว่างผลที่เป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มกับความน่าจะเป็น ระดับที่ 3 ระดับการให้เหตุผลที่แสดงออกมาเป็นตัวเลข อย่างไม่เป็นทางการ โดยจะมีกลวิธีคิดที่เป็นเหตุเป็นผล (Informal Quantitative Thinking) หมายถึง การที่นักเรียนให้เหตุผลที่สมเหตุ สมผลมากกว่าระดับ 2 คือสามารถบอกโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้น้อย กว่า มากกว่า หรือเท่ากัน แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าโอกาสที่จะเกิด ขึ้นความน่าจะเป็นเป็นเท่าไร
  • 4. ระดับที่ 4 ระดับการให้เหตุผลที่สามารถใช้ทฤษฎี หรือ เหตุผลต่างๆ ในการคิด หรือคำานวณออกมาเป็นคำาตอบได้ (Numerical Reasoning) หมายถึง การที่นักเรียนสามารถให้ เหตุผลประกอบการหาคำาตอบโดยสามารถอธิบายและเชื่อมโยงคำา ตอบของตนเอง คำานวณค่าออกมาเป็นตัวเลขได้ ผลการวิจัย ผลจากการจัดการเรียนการสอนเรื่อง ความน่าจะเป็น ปรากฎ ว่า นักเรียนร้อยละ 10 มีระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 4, นักเรียนร้อย ละ 66.67 มีระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 3, นักเรียนร้อยละ 23.33 มี ระดับการให้เหตุผลที่ระดับ 2 และไม่พบนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ที่มีการให้เหตุผลในระดับ 1 ข้อเสนอแนะ ครูผู้สอนอาจจะลองสอนด้วยวิธีการอื่น เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ผลการสอนในแบบอื่นๆ ต่อการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาระดับการให้เหตุผลทาง คณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่มสาระการเรียน รู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพนมรุ้ง ปีการศึกษา 2555