SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
บทที่ 1 บทนา

ความเป็ นมาและเหตุผล

                                                              ํ
           พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดเป้ าหมายไว้วา ในอนาคตคนไทยทุก่
คนจะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และจะมีความสามารถในทักษะกระบวนการเรี ยนรู้ดวย                 ้
ตนเองทําให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิต โดยในหมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อ
                 ํ
การศึกษาได้กาหนดบทบาทของรัฐในการจัดสรรโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
                                                                                ํ
การศึ ก ษา ตลอดจนส่ ง เสริ ม สนับ สนุ นการผลิ ต และพัฒ นาเทคโนโลยี เพื่ อ การศึ ก ษาทุ ก ประเภท
แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จและสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จึ ง มุ่ ง การเสริ ม สร้ า งขี ด
ความสามารถจากรากฐานของสั ง คมให้ เ ข้ม แข็ ง และรู ้ เ ท่ า ทัน โลก และมี ก ารจัด ทํา แผนพัฒ นา
สื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมเพื่อการพัฒนาคนและสังคม (พ.ศ. 2542-
2551) ขึ้ นเพื่อกําหนดทิศทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ตลอดจนการพัฒนา
ระบบสื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อประชาชนทุกกลุ่ม
ทุกพื้นที่อย่างทัวถึง
                   ่
           จากการวางนโยบายและแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารดังกล่ าว ผนวกกับ
วิสัยทัศน์ดานการศึกษาของประเทศที่มุ่งสร้างสรรค์สังคมแห่ งความรู ้ผานกระบวนการเรี ยนรู ้ตลอดชี วิต
             ้                                                           ่
จึงเห็นได้ชดว่าประเทศไทยได้มีการเตรี ยมความพร้อมและได้ดาเนิ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
               ั                                                 ํ
การสื่ อสารเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แล้วอย่างจริ งจัง และ ในปัจจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศการ
                                                                                    ั
สื่ อสารมีความก้าวหน้าครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่และสามารถเชื่ อมโยงกันได้ทวโลก ในการจัดการศึกษา
                                                                                      ั่
ทั้งในและนอกระบบก็ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อ
                              ํ
                                                       ั
เป็ นทางเลือกหรื อเป็ นการเสริ มความรู ้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกที่และ
ทุกเวลา ดังนั้น e-learning ก็จะยิงทวีบทบาทสําคัญมากขึ้นในวงการศึกษาของไทย และจะสามารถเป็ น
                                  ่
ตัวขับเคลื่อนทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบต่อไป เพราะปั จจุบนนี้ การใช้อินเตอร์ เน็ตั
ในประเทศไทยแพร่ ห ลายมากขึ้ น เพราะค่ า ใช้จ่ า ยถู ก ลง การที่ ค นไทยสามารถเข้า ถึ ง เทคโนโลยี
สารสนเทศมากขึ้ น นับ ว่า เป็ นนิ มิ ต หมายที่ ดีใ นการที่ จะนํา เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาช่ วยถ่ า ยทอด
การศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพของประชาชนไทย
          ดังนั้นจึงได้เกิดระบบ e-learning ขึ้นมา และระบบการจัดการเรี ยนการสอนบนเว็บ (Learning
Management System: LMS) ก็ เ ป็ นส่ วนหนึ่ ง ในการจัด การเรี ย นรู ้ ใ นรู ป แบบสื่ ออิ เลคทรอนิ ก ส์
(e-learning) ที่สามารถให้ครู สร้ างบทเรี ยนและสื่ อการเรี ยนรวมทั้งแบบทดสอบเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าไป
ศึกษาและแสดงความคิดเห็นได้ ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เพราะระบบการเรี ยนการสอน
แบบ e-learning จะไม่ผกติดกับชั้นเรี ยนในตัวระบบจะทําการจําลองห้องเรี ยนเสมือนเพื่อให้ผเู้ รี ยนเข้า
                           ู
ไปเรี ยนเนื้ อหาวิชาต่างๆ ได้ ผูเ้ รี ยนจะสามารถเข้าชั้นเรี ยนที่ไหนก็ได้ เวลาไหนก็ ได้ ขึ้นอยูกบสถานที่        ่ ั
นั้นมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถต่อ Internet ได้หรื อไม่ นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนยังกําหนดระยะเวลาการเรี ยน
ได้อย่าง อิสระ ตามความสามารถของแต่ละบุคคล ง่ายต่อการใช้ปรับกระบวนการเรี ยนการสอน เนื่อง
ด้วยการทํางานของระบบ e-learning นั้นเป็ นวิธีการทํางานในรู ปแบบเว็บไซต์ จึงทําให้ใช้งานได้ง่าย
ผู้ เ รี ย น เ พี ย ง         แ ค่ ค ลิ ก เ ม า ส์ ห รื อ พิ ม พ์ แ ป้ น คี ย์ บ อ ร์ ด ก็ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ง า น ไ ด้ แ ล้ ว
              นอกจากนี้ ยงมีระบบติดตามบันทึกข้อมูลของผูเ้ รี ยน อาทิ เวลาเข้าเรี ยน , คะแนนเก็บ , คะแนน
                         ั
สอบ ดังนั้นผูเ้ รี ยนสามารถ ตรวจสอบตัวเองได้ตลอดเวลา ส่ วนทางด้านผูสอนก็สามารถติดตามความ   ้
เคลื่ อ นไหวของผูเ้ รี ย นได้อย่า งละเอี ย ดตามความต้องการ การ เรี ย นแบบ e-learning นั้น มี ก าร
ติดต่อสื่ อสารกันระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนได้ท้ ง แบบเป็ นกลุ่ม และรายบุคคล สามารถรวมคะแนน และ
                               ้                      ั
แสดงผลการเรี ยน ให้ ส ะท้ อ นกลั บ                        อย่ า งทั น ที ท ั น ใด            ผ่ า นระบบเครื อข่ า ยได้
               การจัดการเรี ยนรู้ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 นี้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ผรายงาน        ู้
รับผิดชอบสอนรายวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ องทรั พยากรธรรมชาติ และการอนุ รักษ์ มี
ปั ญหาเรื่ องเวลาเรี ยน เนื่องจากนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ขอเวลาเรี ยนในการไปสมัครสอบเข้า
เรี ยนต่อที่สถาบันการศึกษาต่างๆ ไปรายงานตัวเพื่อยืนยันการเข้าเรี ยนมหาวิทยาลัย เข้ารับฟังการแนะ
แนวจากสถาบันการศึกษาต่างๆ รวมทั้งในภาคเรี ยนที่ 2 มักมีกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรี ยน ทําให้นกเรี ยน                        ั
บางส่ วนเรี ยนไม่ทน อาจส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในรายวิชานี้ต่าได้
                      ั                                                               ํ
              จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผูรายงานจึงสร้างและพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู้วิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์
                                           ้
พื้นฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning เพื่อแก้ปัญหาการเรี ยนการ
            ํ
สอนที่กาลังเกิดขึ้น

วัตถุประสงค์
           การรายงานผลการใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการ
อนุรักษ์ โดยระบบ e-learning โปรแกรม Moodle สําหรับนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในภาค
เรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2551 โดยมีวตถุประสงค์ดงนี้
                                    ั           ั
           1. เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เรี ยนจากสื่ อการจัดการเรี ยนรู้วชา
                                                                                                  ิ
ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
           2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อสื่ อการจัดการเรี ยนรู้วชา ว 43102 วิทยาศาสตร์
                                                                               ิ
พื้นฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning

สมมติฐานของการรายงาน
       1. นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
การอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก้าวหน้าอย่างมีนยสําคัญที่ระดับความ
                                                                                   ั
เชื่อมัน 0.05
       ่
          2. นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสื่ อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ องทรัพยากร
ธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning ในเกณฑ์ดี คือสู งกว่า 4.00 ตามมาตราประมาณค่า 5
ระดับ

การกาหนดตัวแปร
         ตัวแปรต้ น ได้แก่ สื่ อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการ
อนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
         ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และความคิดเห็นต่อสื่ อในรายวิชา ว 43102
วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐานเรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์
         ตัวแปรควบคุม ระยะเวลาในการเรี ยน

นิยามศัพท์เฉพาะ
         1. e-learning หมายถึง การเรี ยนผ่านทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึ งใช้การนําเสนอเนื้อหาทาง
คอมพิวเตอร์ ในรู ปของสื่ อ มัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิ ก
ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ
         2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
          3. ความคิดเห็นต่อสื่ อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อข้อความที่
กําหนด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ
          4. นัก เรี ยนในระดับชั้นมัธ ยมศึ กษาตอนปลาย หมายถึ ง นักเรี ยนช่ วงชั้นที่ 4 ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม

ขอบเขตของการศึกษา
        รายงานการใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุ รักษ์
                                                              ํ
โดยใช้ระบบ e-learning กับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่กาลังศึกษารายวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ
ชีวภาพ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 จํานวน 130 คน ของโรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง
จังหวัดพะเยา

ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
    ่
          1. ได้ทราบความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เรี ยนจากสื่ อการจัดการเรี ยนรู ้วิชา
ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุ รักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
2. ได้ทราบระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อสื่ อการจัดการเรี ยนรู ้วชาว 43102
                                                                                ิ
วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
บทที่ 2
                              แนวความคิดในการผลิตและเอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                                 ่

การสื่ อสารการเรี ยนรู้
             การสื่ อสาร หรื อ การสื่ อความหมาย (Communication) หมายถึง การถ่ายทอดเรื่ องราว การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรู้สึก เพื่อการติดต่อสื่ อสารข้อมูลซึ่ งกัน
และกัน (กิดานันท์ มลิทอง, 2540) รู ปแบบของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 2 รู ปแบบ คือ
             1. การสื่ อสารทางเดียว (One-Way Communication) เป็ นการส่ งข่าวสารหรื อการสื่ อความหมาย
ไปยังผูรับแต่เพียงฝ่ ายเดียว โดยที่ผรับไม่สามารถตอบสนองทันที(Immediate Response) กับผูส่ง แต่
           ้                                   ู้                                                   ้
อาจจะมีผลป้ อนกลับไปยังผูส่งในภายหลังได้ การสื่ อสารในรู ปแบบนี้ จึงเป็ นการที่ผูส่งและผูรับไม่
                                       ้                                                      ้         ้
สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทนที           ั
             2. การสื่ อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็ นการสื่ อสารหรื อการสื่ อความหมายที่
ผูรับมีโอกาสตอบสนองมายังผูส่งได้ในทันที โดยที่ผส่งและผูรับอาจจะอยูต่อหน้ากันหรื ออาจอยูคนละ
    ้                                    ้              ู้     ้            ่                         ่
สถานที่ก็ได้ แต่ท้ งสองฝ่ ายจะสามารถมีการเจรจาหรื อการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ต่างฝ่ ายต่างผลัดกันทํา
                          ั
หน้าที่เป็ นทั้งผูส่งและผูรับในเวลาเดี ยวกันดังนั้น ในการที่จะเกิดการเรี ยนรู ้ ข้ ึนได้น้ ี มักจะพบว่าต้อง
                      ้          ้
อาศัยกระบวนการของการสื่ อสารในรู ปแบบของการสื่ อสารทางเดี ยวและการสื่ อสารสองทาง ใน
ลักษณะของการให้สิ่งเร้าเพื่อกระตุนให้ผเู ้ รี ยนมีการแปลความหมายของเนื้อหาบทเรี ยนนั้น และ
                                             ้
ให้มีการตอบสนองเพื่อเกิดเป็ นการเรี ยนรู ้ข้ ึน
             ลักษณะของสิ่ งเร้าและการตอบสนองในการสื่ อสารนี้ หมายถึง การที่ผูสอนให้สิ่งเร้าหรื อส่ ง
                                                                                      ้
แรงกระตุนไปยังผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู้ รี ยนมีการตอบสนองออกมา โดยผูสอนอาจใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
              ้                                                    ้
เช่น คอมพิวเตอร์ เป็ นผูส่งเนื้ อหาบทเรี ยน ส่ วนการตอบสนองของผูเ้ รี ยน ได้แก่ คําพูด การเขียน รวมถึง
                               ้
กระบวนการทั้งหมดทางด้านความคิด การเรี ยนรู้ การเรี ยนรู ้ซ่ ึ งอาศัยรู ปแบบการสื่ อสารที่เกี่ยวข้องกับ
การให้สิ่งเร้าหรื อแรงกระตุน การแปลความหมาย และการตอบสนองนั้นมีดงนี้
                                   ้                                          ั
             1. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว เช่น การสอนแก่ผเู้ รี ยนจํานวนมากในห้องเรี ยน
ขนาดใหญ่โดยการฉายวีดิทศน์ โทรทัศน์วงจรปิ ด หรื อวิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผเู ้ รี ยนที่เรี ยนอยูที่
                                     ั                                                                    ่
บ้าน ซึ่ งการเรี ยนการสอนในลักษณะเช่นนี้ ควรจะมีการอธิ บายความหมายของเนื้ อหาบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน
เข้าใจก่อนการเรี ยน หรื ออาจจะมีการอภิปรายภายหลังจากการเรี ยน หรื อดูเรื่ องราวนั้นแล้วก็ได้ เพื่อให้
ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจและแปลความหมายในสิ่ งเร้านั้นอย่างถูกต้องตรงกัน จะได้มีการตอบสนองและ
เกิดการเรี ยนรู ้ได้ในทํานองเดียวกัน
             2. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทาง อาจทําได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่ องช่วย
สอน เช่ น การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยหรื อการใช้เครื่ องช่วยสอนเนื้ อหาจะถูกส่ งจากเครื่ องไปยัง
ผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผูเ้ รี ยนทําการตอบสนองโดยส่ งคําตอบหรื อข้อมูลกลับไปยังเครื่ องอีกครั้งหนึ่ ง การเรี ยน
การสอนในลักษณะนี้มีขอดีหลายประการเช่น ความฉับพลันของการให้คาตอบจากโปรแกรมบทเรี ยนที่
                              ้                                                  ํ
วางไว้เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ผเู ้ รี ยน เป็ นการทําให้ง่ายต่อการเรี ยนรู ้และทําให้การถ่ายทอดความรู ้
บรรลุผลด้วยดี เป็ นต้น ถึ งแม้วาการเรี ยนรู ้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทางนี้ จะมีประสิ ทธิ ภาพดี ต่อการ
                                      ่
เรี ยนรู ้ มากกว่าการสื่ อสารทางเดี ยวก็ตาม แต่บางครั้งแล้วในลักษณะของการศึ กษาบางอย่างมีความ
จําเป็ นต้องใช้การเรี ยนการสอนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว เพื่อการให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยน ทั้งนี้ เพราะ
จํานวนผูเ้ รี ยนอาจจะมีมาก และมีอุปกรณ์ช่วยสอนไม่เพียงพอ เป็ นต้น
             สื่ อการเรียนรู้
             กิดานันท์ มลิทอง (2540) กล่าวว่า สื่ อนับว่าเป็ นสิ่ งที่มีบทบาทอย่างมากในการเรี ยนการสอน
เนื่องจากเป็ นตัวกลางที่ช่วยให้การสื่ อสารระหว่างผูสอนและผูเ้ รี ยนดําเนิ นไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทํา
                                                         ้
ให้ผูเ้ รี ย นมี ค วามเข้า ใจเนื้ อ หาบทเรี ย นได้ต รงกับ ที่ ผูส อนต้อ งการ การใช้สื่ อ การสอนนั้นผูส อน
                                                                ้                                         ้
จําเป็ นต้องศึกษาถึงลักษณะเฉพาะ และคุณสมบัติของสื่ อแต่ละชนิ ดเพื่อเลือกสื่ อให้ตรงกับวัตถุประสงค์
                                                              ั
การสอน และสามารถจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อให้กระบวนการเรี ยนการสอนดําเนิน
ไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                                               ่
             สื่ อการสอน (Instructional Media) หมายถึง สื่ อชนิดใดก็ตามไม่วาจะเป็ นเทปบันทึกเสี ยง สไลด์
วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทศน์ แผนภูมิ ภาพนิ่ ง ฯลฯ ซึ่ งบรรจุเนื้ อหาเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน เพื่อใช้เป็ น
                          ั
เครื่ องมือหรื อช่องทางสําหรับผูสอนส่ งไปถึ งผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ ตามวัตถุ ประสงค์หรื อ
                                        ้
จุดมุ่งหมายที่ผสอนวางไว้ได้เป็ นอย่างดี
                    ู้
             เอดการ์ เดล (Edgar Dale)ได้จดแบ่งสื่ อการสอนเพื่อเป็ นแนวทางในการอธิ บายถึงความสัมพันธ์
                                             ั
ระหว่างสื่ อโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ในขณะเดียวกันก็เป็ นการแสดงขั้นตอนของประสบการณ์การเรี ยนรู ้
และการใช้สื่อแต่ละประเภทในกระบวนการเรี ยนรู ้ ด้วย โดยพัฒนาความคิดของ Bruner ซึ่ งเป็ น
นักจิตวิทยา นํามาสร้างเป็ น “กรวยประสบการณ์” (Cone of Experiencess) โดยแบ่งเป็ นขั้นตอนดังนี้
             1. ประสบการณ์ตรง โดยการให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์ตรงจากของจริ ง เช่น การจับต้อง
และการเห็น เป็ นต้น
             2. ประสบการณ์รอง เป็ นการเรี ยนโดยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนจากสิ่ งที่ใกล้เคียงความเป็ นจริ งที่สุด ซึ่ ง
อาจเป็ นการจําลองก็ได้
             3. ประสบการณ์นาฏกรรมหรื อการแสดง เป็ นการแสดงบทบาทสมมติหรื อการแสดงละคร
เนื่องจากข้อจํากัดด้วยยุคสมัยเวลา และสถานที่ เช่นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ หรื อเรื่ องราวที่
เป็ นนามธรรม เป็ นต้น
             4. การสาธิต เป็ นการแสดงหรื อการทําเพื่ อประกอบคําอธิ บายเพื่อให้เห็นลําดับขั้นตอนของการ
กระทํานั้น
             5. การศึกษานอกสถานที่ เป็ นการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ต่างๆ ภายนอกสถานที่เรี ยน อาจเป็ น
การเยียมชมสถานที่ การสัมภาษณ์บุคคลต่าง ๆ เป็ นต้น
        ่
6. นิ ทรรศการ เป็ นการจัดแสดงสิ่ งของต่าง ๆ เพื่อให้สาระประโยชน์แก่ผูชม โดยการนํา       ้
ประสบการณ์หลายอย่างผสมผสานกันมากที่สุด
            7. โทรทัศน์ โดยใช้ท้ งโทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอนเพื่อให้ขอมูลความรู ้แก่ผเู ้ รี ยน
                                        ั                                                      ้
                    ่
หรื อผูชมที่อยูในห้องเรี ยนหรื ออยูทางบ้าน
          ้                                ่
            8. ภาพยนตร์ เป็ นภาพที่บนทึกเรื่ องราวลงบนฟิ ล์มเพื่อให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์ ท้ งภาพและ
                                             ั                                                           ั
เสี ยงโดยใช้ประสาทตาและหู
            9. การบันทึกเสี ยง วิทยุ ภาพนิ่ ง อาจเป็ นทั้งในรู ปของแผ่นเสี ยง เทปบันทึกเสี ยง วิทยุ รู ปภาพ
สไลด์ ข้อมูลที่อยู่ในขั้นนี้ จะให้ประสบการณ์ แก่ผูเ้ รี ยนที่ถึงแม้จะอ่านหนังสื อไม่ออกแต่ก็จะสามารถ
เข้าใจเนื้อหาได้
            10. ทัศนสัญลักษณ์ เช่นแผนที่ แผนภูมิหรื อเครื่ องหมายต่างๆที่เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่ งของต่าง ๆ
            11. วจนสัญลักษณ์ ได้แก่ตวหนังสื อในภาษาเขียน และเสี ยงพูดของคนในภาษาพูดการใช้กรวย
                                               ั
ประสบการณ์ ของเดลจะเริ่ มต้นด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมอยู่ในเหตุการณ์หรื อการกระทําจริ งเพื่อให้
ผูเ้ รี ยนมีประสบการณ์ตรงเกิดขึ้นก่อน แล้วจึงเรี ยนรู ้โดยการเฝ้ าสังเกตในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่ งเป็ นขั้น
ต่อไปของการได้รับประสบการณ์รอง ต่อจากนั้นจึงเป็ นการเรี ยนรู ้ดวยการรับประสบการณ์โดยผ่านสื่ อ
                                                                            ้
ต่างๆ และท้ายที่สุดเป็ นการให้ผเู้ รี ยนเรี ยนจากสัญลักษณ์ซ่ ึงเป็ นเสมือนตัวแทนของเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้น
            นักจิตวิทยาท่านหนึ่งชื่อ เจโรม บรุ นเนอร์ (Jerome Bruner) ได้ออกแบบโครงสร้างของกิจกรรม
การสอนไว้รูปแบบหนึ่ง โดยประกอบด้วยมโนทัศน์ดานการกระทําโดยตรง (Enactive) การเรี ยนรู้ดวย
                                                                  ้                                                 ้
ภาพ (Iconic) และการเรี ยนรู้ดวยนามธรรม(Abstract) เมื่อเปรี ยบเทียบกับกรวยประสบการณ์ของเดลกับ
                                      ้
ลักษณะสําคัญ 3 ประการของการเรี ยนรู ้ของบรุ นเนอร์ แล้วจะเห็นว่ามีลกษณะใกล้เคียงและเป็ นคู่ขนาน
                                                                                ั
กัน (กิดานันท์ มลิทอง,2540)
            สื่ อกับผู้เรียน
            1. เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้การเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพราะจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความเข้าใจเนื้ อหา
บทเรี ยนที่ยงยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและสามารถช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดในเรื่ อง
                 ุ่
นั้นได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
                                                                    ั
            2. สื่ อจะช่วยกระตุนและสร้างความสนใจให้กบผูเ้ รี ยน ทําให้เกิดความสนุ กสนานและไม่รู้สึก
                                    ้
เบื่อหน่ายการเรี ยน
            3. การใช้สื่อจะทําให้ผเู้ รี ยนมีความเข้าใจตรงกัน และเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่เรี ยนนั้น
            4. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนการสอนมากขึ้น ทําให้เกิดมนุ ษยสัมพันธ์อนดี          ั
ในระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันเองและกับผูสอนด้วย     ้
            5. ช่ วยสร้ า งเสริ ม ลักษณะที่ ดีใ นการศึ ก ษาค้นคว้าหาความรู ้ ช่ วยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ดความคิ ด
สร้างสรรค์จากการใช้สื่อเหล่านั้น
6. ช่ วยแก้ปัญหาเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยการจัดให้มีการใช้สื่อในการศึกษา
รายบุคคล
            สื่ อกับผู้สอน
            1. การใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ประกอบการเรี ยนการสอน เป็ นการช่วยให้บรรยากาศในการ
สอนน่าสนใจยิ่งขึ้น ทําให้ผสอนมีความสนุ กสนานในการสอนมากกว่าวิธีการที่เคยใช้การบรรยายแต่
                                      ู้
เพียงอย่างเดียว และเป็ นการสร้างความเชื่อมันในตัวเองให้เพิมขึ้นด้วย
                                                    ่            ่
            2. สื่ อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผูสอนในด้านการเตรี ยมเนื้อหา เพราะบางครั้งอาจให้ผเู ้ รี ยนศึกษา
                                                  ้
เนื้อหาจากสื่ อได้เอง
            3. เป็ นการกระตุนให้ผสอนตื่นตัวอยูเ่ สมอในการเตรี ยมและผลิตวัสดุใหม่ๆ เพื่อใช้เป็ นสื่ อการ
                                  ้      ู้
สอน ตลอดจนคิดค้นเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การเรี ยนรู ้น่าสนใจยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามสื่ อการสอนจะมี
คุณค่าก็ต่อเมื่อผูสอนได้นาไปใช้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี ดังนั้น ก่อนที่จะนําสื่ อแต่ละอย่างไปใช้ผสอน
                       ้            ํ                                                                          ู้
จึงควรจะได้ศึกษาถึงลักษณะและคุณสมบัติของสื่ อการสอน ข้อดีและข้อจํากัดอันเกี่ ยวเนื่ องกับตัวสื่ อ
และการใช้สื่อแต่ละอย่าง ตลอดจนการผลิตและใช้สื่อให้เหมาะสมกับสภาพการเรี ยนการสอนด้วย
ทั้งนี้เพื่อให้การจัดกิจกรรมการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ที่วางไว้
            หลักการเลือกสื่ อการสอน
            การเลื อ กสื่ อ การสอนเพื่ อ นํา มาใช้ ป ระกอบการสอนเพื่ อ ให้ ผู ้เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพนั้นเป็ นสิ่ งสําคัญยิง โดยในการเลือกสื่ อผูสอนจะต้องตั้งวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรมในการ
                                            ่                 ้
เรี ย นให้แน่ นอนเสี ยก่ อน เพื่อใช้วตถุ ประสงค์น้ ันเป็ นตัวชี้ นา ในการเลื อกสื่ อการสอนที่ เหมาะสม
                                                ั                    ํ
นอกจากนี้ยงมีหลักการอื่น ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา คือ
                 ั
            1. สื่ อนั้นต้องสัมพันธ์กบเนื้อหาบทเรี ยนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน
                                              ั
            2. เลือกสื่ อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็ นสื่ อที่ส่งผลต่อการเรี ยนรู ้มากที่สุด
            3. เป็ นสื่ อที่เหมาะกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน
                                                        ุ่
            4. สื่ อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ยงยากซับซ้อนเกินไป
            5. เป็ นสื่ อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็ นจริ ง
            6. มีราคาไม่แพงเกินไป หรื อถ้าจะผลิตควรคุมกับเวลาและการลงทุน
                                                            ้

ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวิทยาการเรี ยนรู้
           ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541) ได้กล่าวทฤษฏีการเรี ยนรู ้และจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวข้องกับ
การออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา มีดงนี้
                                          ั
           1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เป็ นทฤษฎีซ่ ึ งเชื่ อว่าจิตวิทยาเป็ นเสมือนการศึกษาทาง
วิทยาศาสตร์ ของพฤติกรรมมนุษย์ (Scientific Study of Human Behavior) และการเรี ยนรู้ของมนุษย์เป็ น
สิ่ งที่สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมภายนอก นอกจากนี้ ยงมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ ง
                                                       ั
เร้าและการตอบสนอง( Stimuli and Response ) เชื่ อว่าการตอบสนองต่อสิ่ งเร้ าของมนุ ษย์จะเกิ ดขึ้น
ควบคู่กนในช่ วงเวลาที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยงเชื่ อว่าการเรี ยนรู ้ ของมนุ ษย์เป็ นพฤติกรรมแบบแสดง
            ั                                         ั
อาการกระทํา (Operant Conditioning) ซึ่ งมีการเสริ มแรง ( Reinforcement) เป็ นตัวการ โดยทฤษฏี
พฤติกรรมนิ ยมนี้ จะไม่พูดถึงความนึ กคิดภายในของมนุ ษย์ ความทรงจํา ภาพ ความรู้สึก โดยถือว่าคํา
เหล่านี้ เป็ นคําต้องห้าม (Taboo) ซึ่ งทฤษฎีน้ ี ส่งผลต่อการเรี ยนการสอนที่สาคัญในยุคนั้น ในลักษณะที่
                                                                             ํ
การเรี ยนเป็ นชุดของพฤติกรรมซึ่ งจะต้องเกิดขึ้นตามลําดับที่แน่ชด การที่ผเู้ รี ยนจะบรรลุวตถุประสงค์ได้
                                                                   ั                      ั
นั้นจะต้องมีการเรี ยนตามขั้น ตอนเป็ นวัตถุประสงค์ๆ ไป ผลที่ได้จากการเรี ยนขั้นแรกนี้ จะเป็ นพื้นฐาน
ของการเรี ยนในขั้นต่อ ๆ ไป ในที่สุดสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎี
พฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรี ยนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear) โดยผูเ้ รี ยนทุกคนจะได้รับ
การนําเสนอเนื้ อหาในลําดับที่เหมือนกันและตายตัว ซึ่ งเป็ นลําดับที่ผสอนได้พิจารณาแล้วว่าเป็ นลําดับ
                                                                         ู้
การสอนที่ดีและผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากที่สุด นอกจากนั้นจะมีการตั้งคําถาม
ๆ ผูเ้ รี ยนอย่างสมํ่าเสมอโดยหากผูเ้ รี ยนตอบถูกก็จะได้รับการตอบสนองในรู ปผลป้ อนกลับทางบวกหรื อ
รางวัล (Reward) ในทางตรงกันข้ามหากผูเ้ รี ยนตอบผิดก็จะได้รับการตอบสนองในรู ปของผลป้ อนกลับ
ในทางลบและคําอธิบายหรื อการลงโทษ ( Punishment) ซึ่ งผลป้ อนกลับนี้ถือเป็ นการเสริ มแรงเพื่อให้
เกิดพฤติกรรมที่ตองการ สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะ
                      ้
                                                    ํ
บังคับให้ผเู ้ รี ยนผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ตามจุดประสงค์เสี ยก่อน จึงจะสามารถผ่านไป
ศึกษาต่อยังเนื้ อหาของวัตถุประสงค์ต่อไปได้หากไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ผเู ้ รี ยนจะต้องกลับไปศึกษา
                                                                       ํ
ในเนื้อหาเดิมอีกครั้งจะกว่าจะผ่านการประเมิน
                2. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้(Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับ
สกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุ ษย์ไว้วาเป็ นเหมือนการ่
ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์น้ นเป็ นเรื่ องของภายในจิตใจมนุ ษย์ไม่ใช้ผา
                                                                 ั                                     ้
ขาวที่เมื่อใส่ สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็ นสี น้ น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์ จิตใจ และความรู้สึกภายใน
                                             ั
ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรี ยนการสอนก็ควรที่จะคํานึ งถึงความแตกต่างภายในของ
มนุษย์ดวย ในช่วงนี้ มีแนวคิดต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการจํา ( Short Term Memory ,
              ้
Long Term Memory and Retention) แนวคิดเกี่ยวกับการแบ่งความรู ้ออกเป็ น 3 ลักษณะคือ ความรู้ใน
ลักษณะเป็ นขั้นตอน (Procedural Knowledge) ซึ่ งเป็ นความรู ้ที่อธิ บายว่าทําอย่างไรและเป็ นองค์ความรู ้ที่
ต้องการลําดับการเรี ยนรู้ที่ชดเจน ความรู้ในลักษณะการอธิ บาย (Declarative Knowledge) ซึ่ งได้แก่
                                ั
ความรู ้ที่อธิ บายว่าคืออะไร และความรู้ในลักษณะเงื่อนไข (Conditional Knowledge)ซึ่ งได้แก่ความรู ้ที่
อธิ บายว่าเมื่อไร และทําไม ซึ่ งความรู้ 2 ประเภทหลังนี้ ไม่ตองการลําดับการเรี ยนรู ้ที่ตายตัว ทฤษฎี
                                                                     ้
ปั ญญานิ ยมนี้ ส่งผลต่อการเรี ยนการสอนที่สําคัญในยุคนั้น กล่าวคือ ทฤษฎีปัญญานิ ยมทําให้เกิดแนวคิด
เกี่ยวกับการออกแบบในลักษณะสาขา (Branching)ของคราวเดอร์ (Crowder) ซึ่ งเป็ นการออกแบบใน
ลักษณะสาขา หากเมื่อเปรี ยบเทียบกับบทเรี ยนที่ออกแบบตามแนวคิดของพฤติกรรมนิ ยมแล้ว จะทําให้
ผูเ้ รี ยนมีอิสระมากขึ้นในการควบคุ มการเรี ยนด้วยตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีอิสระมากขึ้นในการ
เลือกลําดับของการนําเสนอเนื้อหาบทเรี ยนที่เหมาะสมกับตน สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตาม
แนวคิดของทฤษฎีปัญญานิ ยมก็จะมีโครงสร้างของบทเรี ยนในลักษณะสาขาอีกเช่นเดียวกัน โดยผูเ้ รี ยน
ทุกคนจะได้รับการเสนอเนื้ อหาในลําดับที่ไม่เหมือนกันโดยเนื้ อหาที่จะได้รับการนําเสนอต่อไปนั้นจะ
          ่ ั
ขึ้นอยูกบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
              3. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) ภายใต้ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) นี้ ยงได้            ั
เกิดทฤษฎีโครงสร้างความรู ้ ( Scheme Theory) ขึ้นซึ่ งเป็ นแนวคิดที่เชื่ อว่าโครงสร้างภายในของความรู ้ที่
มนุ ษย์มีอยูน้ นจะมีลกษณะเป็ นโหนดหรื อกลุ่มที่มีการเชื่ อมโยงกันอยู่ ในการที่มนุ ษย์จะรับรู ้อะไรใหม่
                   ่ ั     ั
ๆ นั้น มนุ ษย์จะนําความรู ้ใหม่ ๆ ที่เพิ่งได้รับนั้นไปเชื่ อมโยงกับกลุ่มความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิ ม (Pre-existing
Knowledge) รู เมลฮาร์ ทและออโทนี่ (Rumelhart and Ortony,1977) ได้ให้ความหมายของคําโครงสร้าง
ความรู ้ไว้วาเป็ นโครงสร้างข้อมูลภายในสมองของมนุษย์ซ่ ึ งรวบรวมความรู ้เกี่ยวกับวัตถุ ลําดับเหตุการณ์
                 ่
รายการกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ หน้าที่ของโครงสร้างความรู ้น้ ี ก็คือ การนําไปสู่ การรับรู ้ขอมูล (Perception)
                                                                                                    ้
การรับรู ้ขอมูลนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากขาดโครงสร้างความรู ้ (Schema) ทั้งนี้ ก็เพราะการรับรู ้ขอมูล
               ้                                                                                             ้
นั้นเป็ นการสร้างความหมายโดยการถ่ายโอนความรู ้ใหม่เข้ากับความรู ้เดิม ภายในกรอบความรู้เดิม
ที่มีอยูและจากการกระตุนโดยเหตุการณ์หนึ่ง ๆ ที่ช่วยให้เกิดการเชื่ อมโยงความรู ้น้ น ๆ เข้าด้วยกัน การ
           ่                   ้                                                                  ั
รับรู ้ เป็ นสิ่ งสําคัญที่ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ เนื่ องจากไม่มีการเรี ยนรู ้ ใดที่เกิ ดขึ้นได้โดยปราศจากการรับรู ้
                             ํ
นอกจากโครงสร้ างความรู ้ จะช่ วยในการรับรู ้ และการเรี ยนรู ้ แล้วนั้น โครงสร้างความรู้ยง ช่ วยในการ   ั
ระลึก (Recall) ถึงสิ่ งต่างๆ ที่เราเคยเรี ยนรู้มา (Anderson,1984)
              การนําทฤษฎีโครงสร้างความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะส่ งผลให้
ลักษณะการนําเสนอเนื้ อหาที่มีการเชื่ อมโยงกันไปมา คล้ายใยแมงมุม(Webs) หรื อบทเรี ยนในลักษณะที่
เรี ยกว่า บทเรี ยนแบบสื่ อหลายมิติ (Hypermedia)ดังนั้นในการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา จึง
จําเป็ นต้องนําแนวคิดของทฤษฎีต่าง ๆ มาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะและโครงสร้างของ
องค์ความรู ้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยเพียงทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ ง ทั้งนี้ เพื่อให้ได้สื่อการ
                                                ํ
เรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ ตอบสนองต่อวิธีการเรี ยนรู ้ ท่ีแตกต่างกัน และตอบสนองลักษณะ
โครงสร้างขององค์ความรู ้ของสาขาวิชาต่าง ๆ ที่แตกต่างกันนันเอง         ่

สื่ อมัลติมีเดียเพือการศึกษาและสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
                   ่

          ประเภทของสื่ อมัลติมีเดียเพือการศึกษา
                                      ่
          ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) ได้กล่าวถึงสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา และความหมายของสื่ อ
มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาแต่ละประเภท ดังนี้
e-learning และ CAI ต่างก็สามารถนําเสนอเนื้ อหาบทเรี ยนในรู ปของสื่ อมัล ติ มีเดี ยทาง
คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ รูปแบบการเรี ยนการสอนทั้งสองยังถือเป็ นสื่ อรายบุคคล ซึ่ งมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนมี
โอกาสอ่านและทําความเข้าใจเนื้ อหาตามความสามารถของตน สามารถที่จะทบทวนเนื้ อหาตามความ
พอใจหรื อจนกว่าจะเข้าใจ สําหรับในด้านของการโต้ตอบกับบทเรี ยนและการให้ผลป้ อนกลับนั้น e –
                            ่ ั
Learning จะขึ้นอยูกบระดับของการนําเสนอและการนําไปใช้ หากมีการพัฒนา e-learning อย่างเต็ม
รู ปแบบในระดับ Interactive Online หรื อ High Quality Online และนําไปใช้ในลักษณะสื่ อเติมหรื อสื่ อ
หลัก ผูเ้ รี ยนไม่เพียงจะสามารถโต้ตอบกับบทเรี ยนได้อย่างมีความหมาย แต่ยงจะสามารถโต้ตอบกับ
                                                                                   ั
ผูสอนและกับผูเ้ รี ยนอื่นๆ ได้อย่างสะดวกผ่านทางระบบของe – Learning นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนยังสามารถที่
    ้
จะได้รับผลป้ อนกลับจากแบบฝึ กหัดและกิจกรรมที่ได้ออกแบบไว้ รวมทั้งจากครู ผสอนทางออนไลน์ได้
                                                                                     ู้
อีกด้วย ในขณะที่ CAIนั้ นลักษณะสําคัญของ CAI ที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ การออกแบบให้มีกิจกรรมที่
ผูเ้ รี ยนสามารถโต้ตอบกับบทเรี ยนได้อย่างมีความหมาย รวมทั้งการจัดให้มีผลป้ อนกลับโดยทันทีให้กบ        ั
ผูเ้ รี ยนเมื่อผูเ้ รี ยนตรวจสอบความเข้าใจของตนจากการทําแบบฝึ กหัด หรื อแบบทดสอบ
                                                                  ่
            ข้อแตกต่างสําคัญระหว่าง e-learning กับ CAI อาจอยูที่ การที่ e-learning จะใช้เว็บเทคโนโลยี
เป็ นสําคัญ ในขณะที่ CAI เป็ นลักษณะของการนําเอาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการเรี ยนการสอนตั้งแต่ยุค
1960 ซึ่ งแต่เดิมมานั้นไม่ได้มีการใช้เว็บเทคโนโลยีความหมายของคํานี้ จึงค่อนข้างยึดติดกับการนําเสนอ
                                                                                 ่
บนเครื่ อง Stand – Alone ไม่จาเป็ นต้องมีการเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายใดๆ แม้วาในระยะหลังจะมีความ
                                              ํ
พยายามใช้การใช้คาว่า CAI on Web บ้างแต่ก็ไม่ได้รับความนิ ยมในการเรี ยกเท่าใดนัก ความหมายของ
                             ํ
                                      ่
CAI จึงค่อนข้างจํากัดอยูในลักษณะ Off – line ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาบทเรี ยน
(Authoring System) ของ CAI และ e-learning จึงมีความแตกต่างกันตามไปด้วยผูเ้ รี ยนที่ศึกษาจาก CAI
จึงมักจะเป็ นการศึกษาจากซี ดีรอมเป็ นหลัก ในขณะที่ e-learning นั้นผูเ้ รี ยนสามารถที่จะศึกษาใน
ลักษณะใดระหว่างซี ดีรอมหรื อจากเว็บก็ได้
                                    ่
            ในปั จจุบนแม้วาจะมีความพยามในการสนับสนุ นให้ Authoring System สามารถปรับให้ใช้
                          ั
แสดงบนเว็บได้ แต่ยงพบปั ญหาในด้านขนาดของแฟ้ มข้อมูลที่ใหญ่และส่ งผลให้การโหลดข้อมูลช้า
                                ั
รวมทั้งปั ญหาในด้านการทํางานซึ่ งไม่สมบูรณ์นก e-learning และ WBI ต่างก็เป็ นผลจากกาผสมผสาน
                                                     ั
                                        ั
ระหว่างเว็บเทคโนโลยีกบกระบวนการออกแบบการเรี ยนการสอน เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพทางการ
เรี ยนรู ้และแก้ปัญหาในเรื่ องข้อจํากัดทางด้านสถานที่ และเวลาในการเรี ยน นอกจากนี้ เช่นเดียวกันกับ
WBI การพัฒนา e-learning จะต้องมีก ารนําเทคโนโลยีระบบบริ หารจัดการรายวิชา (Course
Management System) มาใช้ดวย เพื่อช่วยในการเตรี ยมเนื้ อหาและจัดการกับการสอนในด้านการจัดการ
                                          ้
(Management) อื่น ๆ เช่ นในเรื่ องของคําแนะนําการเรี ยน การประกาศต่าง ๆ ประมวลรายวิชา
รายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ ผูสอนรายชื่ อผูล งทะเบี ย นเรี ย น การมอบหมายงาน การจัดหาช่ องทางการ
                                  ้             ้
ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูสอน และผูเ้ รี ยนด้วยกัน คําแนะนําต่าง ๆ การสอบ การประเมินผล
                                            ้
รวมทั้งการให้ผลป้ อนกลับซึ่ งสามารถที่จะทําในลักษณะออนไลน์ได้ท้ งหมด ผูสอนเองก็สามารถใช้
                                                                               ั       ้
ระบบบริ หารจัดการรายวิชานี้ ในการตรวจสอบพฤติกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ในกรณี ที่ใช้การถ่ายทอด
เนื้อหาในลักษณะออนไลน์ รวมทั้งการตรวจสอบความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนจากการทําแบบทดสอบหรื อ
แบบฝึ กหัดที่ได้จดไว้สาหรับความแตกต่างระหว่าง e-learning กับ WBI นั้นแทบจะไม่มีเลยก็วาได้
                    ั     ํ                                                                         ่
ความแตกต่างอาจได้แก่การที่ e-learning เป็ นคําศัพท์ (Term) ที่เกิดขึ้นภายหลัง คําว่า WBI จึงเสมือนเป็ น
ผลของวิวฒนาการจาก WBI และเมื่อเว็บเทคโนโลยีโดยรวมมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ ว สิ่ งที่เคยทํา
            ั
ไม่ได้สําหรับ WBI ในอดีต ก็สามารถทําได้สําหรับ e-learning ในปั จจุบน ตัวอย่างเช่นในช่วง 4-5 ปี ที่
                                                                                 ั
                                                                          ่
แล้วเมื่อมีการพูดถึง WBI การโต้ตอบ(Interaction) ค่อนข้างจํากัดอยูที่การโต้ตอบกับครู ผสอนหรื อกับ ู้
เพื่อนเป็ นหลักโดยที่เทคโนโลยีการโต้ตอบกับเนื้อหาเป็ นสิ่ งที่ทาได้ยาก อย่างไรก็ดีเมื่อกล่าวถึง
                                                                      ํ
e-learningในปัจจุบนหากมีการพัฒนา e-learning อย่างเต็มรู ปแบบอย่างเต็มรู ปแบบในระดับ Interactive
                      ั
Online หรื อ High Quality Online การโต้ตอบสามารถทําได้อย่างไม่มีขอจํากัดอีกต่อไป เพราะปั จจุบน
                                                                             ้                           ั
เรามีเว็บเทคโนโลยีที่ช่วยสําหรับการออกแบบบทเรี ยนให้มีการโต้ตอบอย่างมีความหมายกับผูเ้ รี ยน และ
                                                                     ื ่
ดังนั้นจึงส่ งผลให้เกิดการพัฒนาในด้านการนําไปประยุกต์ใช้ที่ยดหยุนมากขึ้นกว่าเดิมมากนอกจากนี้ เดิม
ทีความหมายของ WBI จะจํา กัดอยู่ที่การสอนบนเว็บเท่านั้นเพราะแนวความคิ ดหลัก ก็คือเพื่อใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บเป็ นหลักและการเรี ยนการสอนมักจะเน้นเนื้ อหาในลักษณะ
ตัวหนังสื อ (Text –Based) และภาพประกอบหรื อวีดิทศน์ที่ไม่ซบซ้อนเท่านั้น ในขณะที่ในปั จจุบนผูที่
                                                             ั          ั                              ั ้
ศึกษาจาก e-learning จะสามารถเรี ยกดูเนื้อหาออนไลน์ก็ได้ หรื อสามารถเรี ยกดูจากแผ่น CD-ROM ก็ได้
โดยที่เนื้อหาสารสนเทศที่ออกแบบสําหรับ e-learning นั้นจะใช้เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ
(Interactive Technology) รวมทั้งมีการใช้เทคโนโลยีมลติมีเดีย (Mutimedia Technology)เป็ นสําคัญ
                                                           ั
                                                    ่
จากบทความดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุ ปได้วา สื่ อมัลติมีเดียแบ่งเป็ น 3ประเภทคือ
          1. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานในเครื่ องเดี่ยว (Stand Alone)
          2. การสอนบนเว็บ (WBI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานในระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตหรื อ
อินทราเน็ต
          3. e-learning เป็ นสื่ อมัลติ มีเดี ยเชิ งปฏิ สัมพันธ์ที่สามารถใช้งานได้ท้ งใน CD-ROM และ
                                                                                     ั
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต พร้อมทั้งมีระบบบริ หารจัดการรายวิชา ( CMSหรื อ LMS : Learning Management
System)
          ความหมายของสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
          ได้มี นัก การศึ ก ษาได้ใ ห้นิ ย ามความหมายของสื่ อ ผ่า นเครื อ ข่ า ยอิ นเทอร์ เน็ ต (Web Based
Instruction) เอาไว้หลายนิ ยามดังนี้ (อ้างถึงใน สรรรัชต์ ห่ อไพศาล,2544)คาน (Khan, 1997) ได้ให้คา           ํ
                                                                                   ่
จํากัดความของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่านเว็บ(WebBased Instruction) ไว้วา เป็ นการเรี ยนการสอนที่
อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์ มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของ
อินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย โดยส่ งเสริ มและสนับสนุนการเรี ยนรู ้อย่าง
มากมาย โดยส่ งเสริ มและสนับสนุนการเรี ยนรู ้ในทุกทาง
            คลาร์ ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจัดความของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่านเว็บว่าเป็ นการเรี ยนการ
                                                ํ
สอนรายบุคคล ที่นาเสนอโดยการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สาธารณะหรื อส่ วนบุคคล และแสดงผลใน
                           ํ
                         ่
สรู ปของการใช้ผานเว็บบราวเซอร์ และสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ติดตั้งไว้ได้โดยผ่านทางเครื อข่าย
            รี แลน และกิลลานี (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้ความหมายของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่าน
เว็บเช่นกันว่า เป็ นการกระทําของคณะหนึ่งในการเตรี ยมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอมสตรักติวิ
ซึ มและการเรี ยนรู ้ในสถานการณ์ร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลไวด์
เว็บพาร์สัน (Parson,1997) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนการสอนผ่านเว็บว่า เป็ นการสอนที่นาเอาสิ่ งที่       ํ
ต้องการส่ งให้บางส่ วนหรื อทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ โดยเว็บสามารถกระทําได้หลากหลายรู ปแบบและ
หลากหลายขอบเขตที่เชื่อมโยงกัน ทั้งการเชื่อมต่อบทเรี ยน วัสดุช่วยการเรี ยนรู ้ และการศึกษาทางไกล
            ดริ สคอล (Driscoll,1997) ได้ให้ความหมายของอินเทอร์ เน็ตเพื่อการเรี ยนการสอนเอาไว้วาเป็ น      ่
การใช้ทกษะหรื อความรู ้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลไวด์เว็บเป็ นช่องทางในการเผยแพร่
          ั
สิ่ งเหล่านั้น
            คุณลักษณะของสื่ อผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
            จากการที่ สื่อผ่านเครื อข่ายอิ นเทอร์ เน็ตเป็ นส่ วนหนึ่ งของสื่ อมัลติ มีเดี ยเพื่อการศึกษา เราจึง
สามารถนําคุ ณลัก ษณะของสื่ อมัล ติ มี เดี ย เพื่ อการศึ ก ษามาใช้นิย ามคุ ณลักษณะของสื่ อผ่านเครื อข่ า ย
อินเทอร์เน็ตได้ โดยมีผกล่าวถึงคุณลักษณะของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่น่าสนใจดังนี้ (กรมวิชาการ
                                 ู้
,2544)
            1. เป้ าหมายคือการสอน อาจใช้ช่วยสอนหรื อสอนเสริ มก็ได้
            2. ผูเ้ รี ยนใช้เรี ยนด้วยตนเอง หรื อเรี ยนเป็ นกลุ่มย่อย 2-3 คน
            3. มีวตถุประสงค์ทวไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ โดยครอบคลุมทักษะความรู้ ความจํา ความ
                       ั             ั่
                                                              ่ ั
เข้าใจ และเจตคติ ส่ วนจะเน้นอย่างใดมากน้อย ขึ้นอยูกบวัตถุประสงค์และโครงสร้างของเนื้อหา
            4. เป็ นลักษณะการสื่ อสารแบบสองทาง
                                                                      ่
            5. ใช้เพื่อการเรี ยนการสอน แต่ไม่จากัดว่าจะต้องอยูในระบบโรงเรี ยนเท่านั้น
                                                     ํ
            6. ระบบคอมพิวเตอร์สื่อมัลติมีเดียเป็ นชุดของฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้ในการส่ งและรับข้อมูล
            7. รู ปแบบการสอนจะเน้นการออกแบบการสอน การมีปฏิสัมพันธ์ การตรวจสอบความรู้โดย
ประยุกต์ทฤษฎีจิตวิทยา และทฤษฎีการเรี ยนรู้เป็ นหลัก
            8. โปรแกรมได้รับการออกแบบให้ผเู ้ รี ยนเป็ นผูควบคุมกิจกรรมการเรี ยนทั้งหมด
                                                                  ้
            9. การตรวจสอบประสิ ทธิ ภาพของสื่ อนับเป็ นขั้นตอนที่สาคัญที่ตองกระทํา
                                                                           ํ     ้
            บทบาทของสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
            จากการที่สื่อผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเป็ นส่ วนหนึ่ งของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา จึงสามารถ
อ้างอิงเอกสารที่กล่าวถึงบทบาทของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาได้ดงนี้        ั
กรมวิชาการ (2544) กล่าวว่า สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่
นักการศึกษาให้ความสนใจเป็ นอย่างยิ่ง พัฒนาการของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนในประเทศ
ตะวันตกตั้งแต่ปี ค.ศ.1980 เป็ นต้นมา มีความรุ ดหน้าอย่างเด่นชัด ยิ่งเมื่อมองภาพการใช้งานร่ วมกันกับ
ระบบเครื อข่ายด้วยแล้ว บทบาทของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนจะยิงโดดเด่นไปอีกนานอย่างไร้
                                                                             ่
ขอบเขต รู ปแบบต่างๆของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนได้รับการพัฒนาขึ้นตามความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จนกระทังเมื่ อกล่ าวถึ งสื่ อมัลติมีเดี ย ทุกคนจะมองภาพตรงกันคื อ การ
                                        ่
ผสมผสานสื่ อ หลากหลายรู ป แบบเพื่ อ นํ า เสนอผ่ า นระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละควบคุ ม ด้ ว ยระบบ
คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนได้รับการบันทึกไว้บนแผ่นซี ดีรอมและเรี ยก
                        ั
                     ่
บทเรี ยนลักษณะนี้ วา CAI เมื่อกล่าวถึง CAI จึงหมายถึงสื่ อมัลติมีเดียที่นาเสนอบทเรี ยนโดยมีภาพ และ
                                                                          ํ
เสี ย งเป็ นองค์ ป ระกอบหลัก โดยภาพและเสี ย งเหล่ า นี้ อาจอยู่ ใ นรู ป แบบของข้อ ความ ภาพนิ่ ง
                                           ่ ั
ภาพเคลื่อนไหว หรื อวีดิทศน์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบการออกแบบบทเรี ยน ส่ วนเสี ยงนั้นอาจเป็ นเสี ยงจริ ง เสี ยง
                          ั
บรรยาย และอื่น ๆ ที่เหมาะสม โดยทั้งหมดจะถ่ายทอดผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งต่อเป็ นระบบเครื อข่าย
หรื อคอมพิวเตอร์ ส่วนบุ คคลเมื่อเทคโนโลยีเครื อข่ายมี ความก้าวหน้ามากขึ้น การเรี ยนการสอนผ่าน
ระบบเครื อข่ายก็ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นตามลําดับเช่นกัน เครื อข่ายใยแมงมุมโลกหรื อที่เรี ยกกัน
โดยทัวไปว่าเว็บ (Web) ได้รับการพัฒนาและการตอบสนองจากผูใช้อย่างรวดเร็ ว เริ่ มตั้งแต่ ค.ศ. 1990
        ่                                                             ้
เว็บกลายเป็ นช่องทางการติดต่อสื่ อสารที่ธุรกิจทัวโลกให้ความสนใจ ซึ่ งรวมทั้งธุ รกิจด้านการศึกษาด้วย
                                                    ่
โดยเฉพาะด้านการศึกษานั้น เว็บได้เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนทุกหนทุกแห่ งในโลกมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลที่อยู่
ในเว็บได้ใกล้เคียงกันการเรี ยนการสอนบนเว็บ ( Web Based Instruction) ได้รับความสนใจจากนัก
การศึกษาเป็ นอย่างมากในช่วง ค.ศ. 1995 ถึงปั จจุบน งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรี ยนการ
                                                       ั          ั
สอนทั้งระบบการสอน และการออกแบบบทเรี ยนได้เกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ขณะเดี ยวกันการพัฒนา
โปรแกรมสร้างบทเรี ยนหรื องานด้านมัลติมีเดี ยเพื่อสนับสนุ นการสร้ างบทเรี ยนบนเว็บมีความก้าวหน้า
ขึ้น โปรแกรมสนับสนุ นการสร้างงานเหล่านี้ ลวนมีคุณภาพสู ง ใช้งานได้ง่าย เช่น โปรแกรม Microsoft
                                                  ้
Frontpageโปรแกรม Macromedia Dreamweaver โปรแกรม Macromedia Director โปรแกรม
Macromedia Flash โปรแกรม Macromedia Firework ฯลฯ นอกจากโปรแกรมดังกล่าวแล้ว โปรแกรม
ช่วยสร้างมัลติมีเดียอื่น ๆ ที่ได้รับความนิยมในการนํามาสร้างบทเรี ยนมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอน
เช่ น Macromedia Authorware และ ToolBook ก็ได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้งานบนเว็บได้จาก
                                            ่
บทความดังกล่าวข้างต้นเป็ นที่ยนยันได้วา ความต้องการและความจําเป็ นในการพัฒนาสื่ อมัลติมีเดียเพื่อ
                                ื
การเรี ยนการสอนมีสูงมาก ซึ่ งสอดคล้องกับผลสรุ ปของข้อมูลจากแบบสํารวจความต้องการจําเป็ นของ
ศูนย์นวัตกรรมและการนิเทศทางไกล จึงมีความเห็นว่าสมควรนิ เทศอบรมการพัฒนาสื่ อผ่านเครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ต ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาของกรมสามัญศึกษา เพื่อให้เทคโนโลยีการสอนของประเทศ
ไทยมีความเจริ ญและก้าวทันนานาประเทศ กับทั้งสามารถเชื่อมโยงสื่ อการสอนเข้ากับแหล่งอ้างอิง
ความรู ้ทวโลกได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
           ั่
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท

More Related Content

What's hot

หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

What's hot (20)

หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Viewers also liked

รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการptv534224
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองChamoi Buarabutthong
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (13)

รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 

Similar to รายงานการใช้สื่อ5บท

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar to รายงานการใช้สื่อ5บท (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

รายงานการใช้สื่อ5บท

  • 1. บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและเหตุผล ํ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดเป้ าหมายไว้วา ในอนาคตคนไทยทุก่ คนจะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และจะมีความสามารถในทักษะกระบวนการเรี ยนรู้ดวย ้ ตนเองทําให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิต โดยในหมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อ ํ การศึกษาได้กาหนดบทบาทของรัฐในการจัดสรรโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการใช้เทคโนโลยีเพื่อ ํ การศึ ก ษา ตลอดจนส่ ง เสริ ม สนับ สนุ นการผลิ ต และพัฒ นาเทคโนโลยี เพื่ อ การศึ ก ษาทุ ก ประเภท แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จและสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) จึ ง มุ่ ง การเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถจากรากฐานของสั ง คมให้ เ ข้ม แข็ ง และรู ้ เ ท่ า ทัน โลก และมี ก ารจัด ทํา แผนพัฒ นา สื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมเพื่อการพัฒนาคนและสังคม (พ.ศ. 2542- 2551) ขึ้ นเพื่อกําหนดทิศทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ตลอดจนการพัฒนา ระบบสื่ อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อประชาชนทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่อย่างทัวถึง ่ จากการวางนโยบายและแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารดังกล่ าว ผนวกกับ วิสัยทัศน์ดานการศึกษาของประเทศที่มุ่งสร้างสรรค์สังคมแห่ งความรู ้ผานกระบวนการเรี ยนรู ้ตลอดชี วิต ้ ่ จึงเห็นได้ชดว่าประเทศไทยได้มีการเตรี ยมความพร้อมและได้ดาเนิ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ั ํ การสื่ อสารเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แล้วอย่างจริ งจัง และ ในปัจจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศการ ั สื่ อสารมีความก้าวหน้าครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่และสามารถเชื่ อมโยงกันได้ทวโลก ในการจัดการศึกษา ั่ ทั้งในและนอกระบบก็ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อ ํ ั เป็ นทางเลือกหรื อเป็ นการเสริ มความรู ้ความเข้าใจให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้ทุกที่และ ทุกเวลา ดังนั้น e-learning ก็จะยิงทวีบทบาทสําคัญมากขึ้นในวงการศึกษาของไทย และจะสามารถเป็ น ่ ตัวขับเคลื่อนทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบต่อไป เพราะปั จจุบนนี้ การใช้อินเตอร์ เน็ตั ในประเทศไทยแพร่ ห ลายมากขึ้ น เพราะค่ า ใช้จ่ า ยถู ก ลง การที่ ค นไทยสามารถเข้า ถึ ง เทคโนโลยี สารสนเทศมากขึ้ น นับ ว่า เป็ นนิ มิ ต หมายที่ ดีใ นการที่ จะนํา เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาช่ วยถ่ า ยทอด การศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพของประชาชนไทย ดังนั้นจึงได้เกิดระบบ e-learning ขึ้นมา และระบบการจัดการเรี ยนการสอนบนเว็บ (Learning Management System: LMS) ก็ เ ป็ นส่ วนหนึ่ ง ในการจัด การเรี ย นรู ้ ใ นรู ป แบบสื่ ออิ เลคทรอนิ ก ส์ (e-learning) ที่สามารถให้ครู สร้ างบทเรี ยนและสื่ อการเรี ยนรวมทั้งแบบทดสอบเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าไป ศึกษาและแสดงความคิดเห็นได้ ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เพราะระบบการเรี ยนการสอน แบบ e-learning จะไม่ผกติดกับชั้นเรี ยนในตัวระบบจะทําการจําลองห้องเรี ยนเสมือนเพื่อให้ผเู้ รี ยนเข้า ู
  • 2. ไปเรี ยนเนื้ อหาวิชาต่างๆ ได้ ผูเ้ รี ยนจะสามารถเข้าชั้นเรี ยนที่ไหนก็ได้ เวลาไหนก็ ได้ ขึ้นอยูกบสถานที่ ่ ั นั้นมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถต่อ Internet ได้หรื อไม่ นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนยังกําหนดระยะเวลาการเรี ยน ได้อย่าง อิสระ ตามความสามารถของแต่ละบุคคล ง่ายต่อการใช้ปรับกระบวนการเรี ยนการสอน เนื่อง ด้วยการทํางานของระบบ e-learning นั้นเป็ นวิธีการทํางานในรู ปแบบเว็บไซต์ จึงทําให้ใช้งานได้ง่าย ผู้ เ รี ย น เ พี ย ง แ ค่ ค ลิ ก เ ม า ส์ ห รื อ พิ ม พ์ แ ป้ น คี ย์ บ อ ร์ ด ก็ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ง า น ไ ด้ แ ล้ ว นอกจากนี้ ยงมีระบบติดตามบันทึกข้อมูลของผูเ้ รี ยน อาทิ เวลาเข้าเรี ยน , คะแนนเก็บ , คะแนน ั สอบ ดังนั้นผูเ้ รี ยนสามารถ ตรวจสอบตัวเองได้ตลอดเวลา ส่ วนทางด้านผูสอนก็สามารถติดตามความ ้ เคลื่ อ นไหวของผูเ้ รี ย นได้อย่า งละเอี ย ดตามความต้องการ การ เรี ย นแบบ e-learning นั้น มี ก าร ติดต่อสื่ อสารกันระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยนได้ท้ ง แบบเป็ นกลุ่ม และรายบุคคล สามารถรวมคะแนน และ ้ ั แสดงผลการเรี ยน ให้ ส ะท้ อ นกลั บ อย่ า งทั น ที ท ั น ใด ผ่ า นระบบเครื อข่ า ยได้ การจัดการเรี ยนรู้ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 นี้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ผรายงาน ู้ รับผิดชอบสอนรายวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ องทรั พยากรธรรมชาติ และการอนุ รักษ์ มี ปั ญหาเรื่ องเวลาเรี ยน เนื่องจากนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ขอเวลาเรี ยนในการไปสมัครสอบเข้า เรี ยนต่อที่สถาบันการศึกษาต่างๆ ไปรายงานตัวเพื่อยืนยันการเข้าเรี ยนมหาวิทยาลัย เข้ารับฟังการแนะ แนวจากสถาบันการศึกษาต่างๆ รวมทั้งในภาคเรี ยนที่ 2 มักมีกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรี ยน ทําให้นกเรี ยน ั บางส่ วนเรี ยนไม่ทน อาจส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในรายวิชานี้ต่าได้ ั ํ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผูรายงานจึงสร้างและพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู้วิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ ้ พื้นฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning เพื่อแก้ปัญหาการเรี ยนการ ํ สอนที่กาลังเกิดขึ้น วัตถุประสงค์ การรายงานผลการใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการ อนุรักษ์ โดยระบบ e-learning โปรแกรม Moodle สําหรับนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในภาค เรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2551 โดยมีวตถุประสงค์ดงนี้ ั ั 1. เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เรี ยนจากสื่ อการจัดการเรี ยนรู้วชา ิ ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อสื่ อการจัดการเรี ยนรู้วชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ ิ พื้นฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning สมมติฐานของการรายงาน 1. นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
  • 3. การอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก้าวหน้าอย่างมีนยสําคัญที่ระดับความ ั เชื่อมัน 0.05 ่ 2. นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสื่ อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ องทรัพยากร ธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning ในเกณฑ์ดี คือสู งกว่า 4.00 ตามมาตราประมาณค่า 5 ระดับ การกาหนดตัวแปร ตัวแปรต้ น ได้แก่ สื่ อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการ อนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และความคิดเห็นต่อสื่ อในรายวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐานเรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ ตัวแปรควบคุม ระยะเวลาในการเรี ยน นิยามศัพท์เฉพาะ 1. e-learning หมายถึง การเรี ยนผ่านทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึ งใช้การนําเสนอเนื้อหาทาง คอมพิวเตอร์ ในรู ปของสื่ อ มัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ 2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 3. ความคิดเห็นต่อสื่ อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อข้อความที่ กําหนด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 4. นัก เรี ยนในระดับชั้นมัธ ยมศึ กษาตอนปลาย หมายถึ ง นักเรี ยนช่ วงชั้นที่ 4 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ขอบเขตของการศึกษา รายงานการใช้สื่อวิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุ รักษ์ ํ โดยใช้ระบบ e-learning กับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่กาลังศึกษารายวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ ชีวภาพ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 จํานวน 130 คน ของโรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ 1. ได้ทราบความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เรี ยนจากสื่ อการจัดการเรี ยนรู ้วิชา ว 43102 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุ รักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
  • 4. 2. ได้ทราบระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อสื่ อการจัดการเรี ยนรู ้วชาว 43102 ิ วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน เรื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ โดยใช้ระบบ e-learning
  • 5. บทที่ 2 แนวความคิดในการผลิตและเอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ การสื่ อสารการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร หรื อ การสื่ อความหมาย (Communication) หมายถึง การถ่ายทอดเรื่ องราว การ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรู้สึก เพื่อการติดต่อสื่ อสารข้อมูลซึ่ งกัน และกัน (กิดานันท์ มลิทอง, 2540) รู ปแบบของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 2 รู ปแบบ คือ 1. การสื่ อสารทางเดียว (One-Way Communication) เป็ นการส่ งข่าวสารหรื อการสื่ อความหมาย ไปยังผูรับแต่เพียงฝ่ ายเดียว โดยที่ผรับไม่สามารถตอบสนองทันที(Immediate Response) กับผูส่ง แต่ ้ ู้ ้ อาจจะมีผลป้ อนกลับไปยังผูส่งในภายหลังได้ การสื่ อสารในรู ปแบบนี้ จึงเป็ นการที่ผูส่งและผูรับไม่ ้ ้ ้ สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทนที ั 2. การสื่ อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็ นการสื่ อสารหรื อการสื่ อความหมายที่ ผูรับมีโอกาสตอบสนองมายังผูส่งได้ในทันที โดยที่ผส่งและผูรับอาจจะอยูต่อหน้ากันหรื ออาจอยูคนละ ้ ้ ู้ ้ ่ ่ สถานที่ก็ได้ แต่ท้ งสองฝ่ ายจะสามารถมีการเจรจาหรื อการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ต่างฝ่ ายต่างผลัดกันทํา ั หน้าที่เป็ นทั้งผูส่งและผูรับในเวลาเดี ยวกันดังนั้น ในการที่จะเกิดการเรี ยนรู ้ ข้ ึนได้น้ ี มักจะพบว่าต้อง ้ ้ อาศัยกระบวนการของการสื่ อสารในรู ปแบบของการสื่ อสารทางเดี ยวและการสื่ อสารสองทาง ใน ลักษณะของการให้สิ่งเร้าเพื่อกระตุนให้ผเู ้ รี ยนมีการแปลความหมายของเนื้อหาบทเรี ยนนั้น และ ้ ให้มีการตอบสนองเพื่อเกิดเป็ นการเรี ยนรู ้ข้ ึน ลักษณะของสิ่ งเร้าและการตอบสนองในการสื่ อสารนี้ หมายถึง การที่ผูสอนให้สิ่งเร้าหรื อส่ ง ้ แรงกระตุนไปยังผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู้ รี ยนมีการตอบสนองออกมา โดยผูสอนอาจใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ้ ้ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็ นผูส่งเนื้ อหาบทเรี ยน ส่ วนการตอบสนองของผูเ้ รี ยน ได้แก่ คําพูด การเขียน รวมถึง ้ กระบวนการทั้งหมดทางด้านความคิด การเรี ยนรู้ การเรี ยนรู ้ซ่ ึ งอาศัยรู ปแบบการสื่ อสารที่เกี่ยวข้องกับ การให้สิ่งเร้าหรื อแรงกระตุน การแปลความหมาย และการตอบสนองนั้นมีดงนี้ ้ ั 1. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว เช่น การสอนแก่ผเู้ รี ยนจํานวนมากในห้องเรี ยน ขนาดใหญ่โดยการฉายวีดิทศน์ โทรทัศน์วงจรปิ ด หรื อวิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผเู ้ รี ยนที่เรี ยนอยูที่ ั ่ บ้าน ซึ่ งการเรี ยนการสอนในลักษณะเช่นนี้ ควรจะมีการอธิ บายความหมายของเนื้ อหาบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน เข้าใจก่อนการเรี ยน หรื ออาจจะมีการอภิปรายภายหลังจากการเรี ยน หรื อดูเรื่ องราวนั้นแล้วก็ได้ เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจและแปลความหมายในสิ่ งเร้านั้นอย่างถูกต้องตรงกัน จะได้มีการตอบสนองและ เกิดการเรี ยนรู ้ได้ในทํานองเดียวกัน 2. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทาง อาจทําได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่ องช่วย สอน เช่ น การใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยหรื อการใช้เครื่ องช่วยสอนเนื้ อหาจะถูกส่ งจากเครื่ องไปยัง ผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผูเ้ รี ยนทําการตอบสนองโดยส่ งคําตอบหรื อข้อมูลกลับไปยังเครื่ องอีกครั้งหนึ่ ง การเรี ยน
  • 6. การสอนในลักษณะนี้มีขอดีหลายประการเช่น ความฉับพลันของการให้คาตอบจากโปรแกรมบทเรี ยนที่ ้ ํ วางไว้เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ผเู ้ รี ยน เป็ นการทําให้ง่ายต่อการเรี ยนรู ้และทําให้การถ่ายทอดความรู ้ บรรลุผลด้วยดี เป็ นต้น ถึ งแม้วาการเรี ยนรู ้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทางนี้ จะมีประสิ ทธิ ภาพดี ต่อการ ่ เรี ยนรู ้ มากกว่าการสื่ อสารทางเดี ยวก็ตาม แต่บางครั้งแล้วในลักษณะของการศึ กษาบางอย่างมีความ จําเป็ นต้องใช้การเรี ยนการสอนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว เพื่อการให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยน ทั้งนี้ เพราะ จํานวนผูเ้ รี ยนอาจจะมีมาก และมีอุปกรณ์ช่วยสอนไม่เพียงพอ เป็ นต้น สื่ อการเรียนรู้ กิดานันท์ มลิทอง (2540) กล่าวว่า สื่ อนับว่าเป็ นสิ่ งที่มีบทบาทอย่างมากในการเรี ยนการสอน เนื่องจากเป็ นตัวกลางที่ช่วยให้การสื่ อสารระหว่างผูสอนและผูเ้ รี ยนดําเนิ นไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทํา ้ ให้ผูเ้ รี ย นมี ค วามเข้า ใจเนื้ อ หาบทเรี ย นได้ต รงกับ ที่ ผูส อนต้อ งการ การใช้สื่ อ การสอนนั้นผูส อน ้ ้ จําเป็ นต้องศึกษาถึงลักษณะเฉพาะ และคุณสมบัติของสื่ อแต่ละชนิ ดเพื่อเลือกสื่ อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ั การสอน และสามารถจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อให้กระบวนการเรี ยนการสอนดําเนิน ไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ่ สื่ อการสอน (Instructional Media) หมายถึง สื่ อชนิดใดก็ตามไม่วาจะเป็ นเทปบันทึกเสี ยง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทศน์ แผนภูมิ ภาพนิ่ ง ฯลฯ ซึ่ งบรรจุเนื้ อหาเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน เพื่อใช้เป็ น ั เครื่ องมือหรื อช่องทางสําหรับผูสอนส่ งไปถึ งผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ ตามวัตถุ ประสงค์หรื อ ้ จุดมุ่งหมายที่ผสอนวางไว้ได้เป็ นอย่างดี ู้ เอดการ์ เดล (Edgar Dale)ได้จดแบ่งสื่ อการสอนเพื่อเป็ นแนวทางในการอธิ บายถึงความสัมพันธ์ ั ระหว่างสื่ อโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ในขณะเดียวกันก็เป็ นการแสดงขั้นตอนของประสบการณ์การเรี ยนรู ้ และการใช้สื่อแต่ละประเภทในกระบวนการเรี ยนรู ้ ด้วย โดยพัฒนาความคิดของ Bruner ซึ่ งเป็ น นักจิตวิทยา นํามาสร้างเป็ น “กรวยประสบการณ์” (Cone of Experiencess) โดยแบ่งเป็ นขั้นตอนดังนี้ 1. ประสบการณ์ตรง โดยการให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์ตรงจากของจริ ง เช่น การจับต้อง และการเห็น เป็ นต้น 2. ประสบการณ์รอง เป็ นการเรี ยนโดยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนจากสิ่ งที่ใกล้เคียงความเป็ นจริ งที่สุด ซึ่ ง อาจเป็ นการจําลองก็ได้ 3. ประสบการณ์นาฏกรรมหรื อการแสดง เป็ นการแสดงบทบาทสมมติหรื อการแสดงละคร เนื่องจากข้อจํากัดด้วยยุคสมัยเวลา และสถานที่ เช่นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ หรื อเรื่ องราวที่ เป็ นนามธรรม เป็ นต้น 4. การสาธิต เป็ นการแสดงหรื อการทําเพื่ อประกอบคําอธิ บายเพื่อให้เห็นลําดับขั้นตอนของการ กระทํานั้น 5. การศึกษานอกสถานที่ เป็ นการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ต่างๆ ภายนอกสถานที่เรี ยน อาจเป็ น การเยียมชมสถานที่ การสัมภาษณ์บุคคลต่าง ๆ เป็ นต้น ่
  • 7. 6. นิ ทรรศการ เป็ นการจัดแสดงสิ่ งของต่าง ๆ เพื่อให้สาระประโยชน์แก่ผูชม โดยการนํา ้ ประสบการณ์หลายอย่างผสมผสานกันมากที่สุด 7. โทรทัศน์ โดยใช้ท้ งโทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอนเพื่อให้ขอมูลความรู ้แก่ผเู ้ รี ยน ั ้ ่ หรื อผูชมที่อยูในห้องเรี ยนหรื ออยูทางบ้าน ้ ่ 8. ภาพยนตร์ เป็ นภาพที่บนทึกเรื่ องราวลงบนฟิ ล์มเพื่อให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์ ท้ งภาพและ ั ั เสี ยงโดยใช้ประสาทตาและหู 9. การบันทึกเสี ยง วิทยุ ภาพนิ่ ง อาจเป็ นทั้งในรู ปของแผ่นเสี ยง เทปบันทึกเสี ยง วิทยุ รู ปภาพ สไลด์ ข้อมูลที่อยู่ในขั้นนี้ จะให้ประสบการณ์ แก่ผูเ้ รี ยนที่ถึงแม้จะอ่านหนังสื อไม่ออกแต่ก็จะสามารถ เข้าใจเนื้อหาได้ 10. ทัศนสัญลักษณ์ เช่นแผนที่ แผนภูมิหรื อเครื่ องหมายต่างๆที่เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่ งของต่าง ๆ 11. วจนสัญลักษณ์ ได้แก่ตวหนังสื อในภาษาเขียน และเสี ยงพูดของคนในภาษาพูดการใช้กรวย ั ประสบการณ์ ของเดลจะเริ่ มต้นด้วยการให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมอยู่ในเหตุการณ์หรื อการกระทําจริ งเพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีประสบการณ์ตรงเกิดขึ้นก่อน แล้วจึงเรี ยนรู ้โดยการเฝ้ าสังเกตในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่ งเป็ นขั้น ต่อไปของการได้รับประสบการณ์รอง ต่อจากนั้นจึงเป็ นการเรี ยนรู ้ดวยการรับประสบการณ์โดยผ่านสื่ อ ้ ต่างๆ และท้ายที่สุดเป็ นการให้ผเู้ รี ยนเรี ยนจากสัญลักษณ์ซ่ ึงเป็ นเสมือนตัวแทนของเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้น นักจิตวิทยาท่านหนึ่งชื่อ เจโรม บรุ นเนอร์ (Jerome Bruner) ได้ออกแบบโครงสร้างของกิจกรรม การสอนไว้รูปแบบหนึ่ง โดยประกอบด้วยมโนทัศน์ดานการกระทําโดยตรง (Enactive) การเรี ยนรู้ดวย ้ ้ ภาพ (Iconic) และการเรี ยนรู้ดวยนามธรรม(Abstract) เมื่อเปรี ยบเทียบกับกรวยประสบการณ์ของเดลกับ ้ ลักษณะสําคัญ 3 ประการของการเรี ยนรู ้ของบรุ นเนอร์ แล้วจะเห็นว่ามีลกษณะใกล้เคียงและเป็ นคู่ขนาน ั กัน (กิดานันท์ มลิทอง,2540) สื่ อกับผู้เรียน 1. เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้การเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพราะจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความเข้าใจเนื้ อหา บทเรี ยนที่ยงยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและสามารถช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดในเรื่ อง ุ่ นั้นได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว ั 2. สื่ อจะช่วยกระตุนและสร้างความสนใจให้กบผูเ้ รี ยน ทําให้เกิดความสนุ กสนานและไม่รู้สึก ้ เบื่อหน่ายการเรี ยน 3. การใช้สื่อจะทําให้ผเู้ รี ยนมีความเข้าใจตรงกัน และเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่เรี ยนนั้น 4. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนการสอนมากขึ้น ทําให้เกิดมนุ ษยสัมพันธ์อนดี ั ในระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันเองและกับผูสอนด้วย ้ 5. ช่ วยสร้ า งเสริ ม ลักษณะที่ ดีใ นการศึ ก ษาค้นคว้าหาความรู ้ ช่ วยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ดความคิ ด สร้างสรรค์จากการใช้สื่อเหล่านั้น
  • 8. 6. ช่ วยแก้ปัญหาเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยการจัดให้มีการใช้สื่อในการศึกษา รายบุคคล สื่ อกับผู้สอน 1. การใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ประกอบการเรี ยนการสอน เป็ นการช่วยให้บรรยากาศในการ สอนน่าสนใจยิ่งขึ้น ทําให้ผสอนมีความสนุ กสนานในการสอนมากกว่าวิธีการที่เคยใช้การบรรยายแต่ ู้ เพียงอย่างเดียว และเป็ นการสร้างความเชื่อมันในตัวเองให้เพิมขึ้นด้วย ่ ่ 2. สื่ อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผูสอนในด้านการเตรี ยมเนื้อหา เพราะบางครั้งอาจให้ผเู ้ รี ยนศึกษา ้ เนื้อหาจากสื่ อได้เอง 3. เป็ นการกระตุนให้ผสอนตื่นตัวอยูเ่ สมอในการเตรี ยมและผลิตวัสดุใหม่ๆ เพื่อใช้เป็ นสื่ อการ ้ ู้ สอน ตลอดจนคิดค้นเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การเรี ยนรู ้น่าสนใจยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามสื่ อการสอนจะมี คุณค่าก็ต่อเมื่อผูสอนได้นาไปใช้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี ดังนั้น ก่อนที่จะนําสื่ อแต่ละอย่างไปใช้ผสอน ้ ํ ู้ จึงควรจะได้ศึกษาถึงลักษณะและคุณสมบัติของสื่ อการสอน ข้อดีและข้อจํากัดอันเกี่ ยวเนื่ องกับตัวสื่ อ และการใช้สื่อแต่ละอย่าง ตลอดจนการผลิตและใช้สื่อให้เหมาะสมกับสภาพการเรี ยนการสอนด้วย ทั้งนี้เพื่อให้การจัดกิจกรรมการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ หลักการเลือกสื่ อการสอน การเลื อ กสื่ อ การสอนเพื่ อ นํา มาใช้ ป ระกอบการสอนเพื่ อ ให้ ผู ้เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพนั้นเป็ นสิ่ งสําคัญยิง โดยในการเลือกสื่ อผูสอนจะต้องตั้งวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรมในการ ่ ้ เรี ย นให้แน่ นอนเสี ยก่ อน เพื่อใช้วตถุ ประสงค์น้ ันเป็ นตัวชี้ นา ในการเลื อกสื่ อการสอนที่ เหมาะสม ั ํ นอกจากนี้ยงมีหลักการอื่น ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา คือ ั 1. สื่ อนั้นต้องสัมพันธ์กบเนื้อหาบทเรี ยนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน ั 2. เลือกสื่ อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็ นสื่ อที่ส่งผลต่อการเรี ยนรู ้มากที่สุด 3. เป็ นสื่ อที่เหมาะกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน ุ่ 4. สื่ อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ยงยากซับซ้อนเกินไป 5. เป็ นสื่ อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็ นจริ ง 6. มีราคาไม่แพงเกินไป หรื อถ้าจะผลิตควรคุมกับเวลาและการลงทุน ้ ทฤษฎีการเรียนรู้ และจิตวิทยาการเรี ยนรู้ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541) ได้กล่าวทฤษฏีการเรี ยนรู ้และจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา มีดงนี้ ั 1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เป็ นทฤษฎีซ่ ึ งเชื่ อว่าจิตวิทยาเป็ นเสมือนการศึกษาทาง วิทยาศาสตร์ ของพฤติกรรมมนุษย์ (Scientific Study of Human Behavior) และการเรี ยนรู้ของมนุษย์เป็ น สิ่ งที่สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมภายนอก นอกจากนี้ ยงมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ ง ั
  • 9. เร้าและการตอบสนอง( Stimuli and Response ) เชื่ อว่าการตอบสนองต่อสิ่ งเร้ าของมนุ ษย์จะเกิ ดขึ้น ควบคู่กนในช่ วงเวลาที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยงเชื่ อว่าการเรี ยนรู ้ ของมนุ ษย์เป็ นพฤติกรรมแบบแสดง ั ั อาการกระทํา (Operant Conditioning) ซึ่ งมีการเสริ มแรง ( Reinforcement) เป็ นตัวการ โดยทฤษฏี พฤติกรรมนิ ยมนี้ จะไม่พูดถึงความนึ กคิดภายในของมนุ ษย์ ความทรงจํา ภาพ ความรู้สึก โดยถือว่าคํา เหล่านี้ เป็ นคําต้องห้าม (Taboo) ซึ่ งทฤษฎีน้ ี ส่งผลต่อการเรี ยนการสอนที่สาคัญในยุคนั้น ในลักษณะที่ ํ การเรี ยนเป็ นชุดของพฤติกรรมซึ่ งจะต้องเกิดขึ้นตามลําดับที่แน่ชด การที่ผเู้ รี ยนจะบรรลุวตถุประสงค์ได้ ั ั นั้นจะต้องมีการเรี ยนตามขั้น ตอนเป็ นวัตถุประสงค์ๆ ไป ผลที่ได้จากการเรี ยนขั้นแรกนี้ จะเป็ นพื้นฐาน ของการเรี ยนในขั้นต่อ ๆ ไป ในที่สุดสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎี พฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรี ยนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear) โดยผูเ้ รี ยนทุกคนจะได้รับ การนําเสนอเนื้ อหาในลําดับที่เหมือนกันและตายตัว ซึ่ งเป็ นลําดับที่ผสอนได้พิจารณาแล้วว่าเป็ นลําดับ ู้ การสอนที่ดีและผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากที่สุด นอกจากนั้นจะมีการตั้งคําถาม ๆ ผูเ้ รี ยนอย่างสมํ่าเสมอโดยหากผูเ้ รี ยนตอบถูกก็จะได้รับการตอบสนองในรู ปผลป้ อนกลับทางบวกหรื อ รางวัล (Reward) ในทางตรงกันข้ามหากผูเ้ รี ยนตอบผิดก็จะได้รับการตอบสนองในรู ปของผลป้ อนกลับ ในทางลบและคําอธิบายหรื อการลงโทษ ( Punishment) ซึ่ งผลป้ อนกลับนี้ถือเป็ นการเสริ มแรงเพื่อให้ เกิดพฤติกรรมที่ตองการ สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะ ้ ํ บังคับให้ผเู ้ รี ยนผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ตามจุดประสงค์เสี ยก่อน จึงจะสามารถผ่านไป ศึกษาต่อยังเนื้ อหาของวัตถุประสงค์ต่อไปได้หากไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ผเู ้ รี ยนจะต้องกลับไปศึกษา ํ ในเนื้อหาเดิมอีกครั้งจะกว่าจะผ่านการประเมิน 2. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้(Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับ สกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุ ษย์ไว้วาเป็ นเหมือนการ่ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์น้ นเป็ นเรื่ องของภายในจิตใจมนุ ษย์ไม่ใช้ผา ั ้ ขาวที่เมื่อใส่ สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็ นสี น้ น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์ จิตใจ และความรู้สึกภายใน ั ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรี ยนการสอนก็ควรที่จะคํานึ งถึงความแตกต่างภายในของ มนุษย์ดวย ในช่วงนี้ มีแนวคิดต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการจํา ( Short Term Memory , ้ Long Term Memory and Retention) แนวคิดเกี่ยวกับการแบ่งความรู ้ออกเป็ น 3 ลักษณะคือ ความรู้ใน ลักษณะเป็ นขั้นตอน (Procedural Knowledge) ซึ่ งเป็ นความรู ้ที่อธิ บายว่าทําอย่างไรและเป็ นองค์ความรู ้ที่ ต้องการลําดับการเรี ยนรู้ที่ชดเจน ความรู้ในลักษณะการอธิ บาย (Declarative Knowledge) ซึ่ งได้แก่ ั ความรู ้ที่อธิ บายว่าคืออะไร และความรู้ในลักษณะเงื่อนไข (Conditional Knowledge)ซึ่ งได้แก่ความรู ้ที่ อธิ บายว่าเมื่อไร และทําไม ซึ่ งความรู้ 2 ประเภทหลังนี้ ไม่ตองการลําดับการเรี ยนรู ้ที่ตายตัว ทฤษฎี ้ ปั ญญานิ ยมนี้ ส่งผลต่อการเรี ยนการสอนที่สําคัญในยุคนั้น กล่าวคือ ทฤษฎีปัญญานิ ยมทําให้เกิดแนวคิด เกี่ยวกับการออกแบบในลักษณะสาขา (Branching)ของคราวเดอร์ (Crowder) ซึ่ งเป็ นการออกแบบใน ลักษณะสาขา หากเมื่อเปรี ยบเทียบกับบทเรี ยนที่ออกแบบตามแนวคิดของพฤติกรรมนิ ยมแล้ว จะทําให้
  • 10. ผูเ้ รี ยนมีอิสระมากขึ้นในการควบคุ มการเรี ยนด้วยตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีอิสระมากขึ้นในการ เลือกลําดับของการนําเสนอเนื้อหาบทเรี ยนที่เหมาะสมกับตน สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตาม แนวคิดของทฤษฎีปัญญานิ ยมก็จะมีโครงสร้างของบทเรี ยนในลักษณะสาขาอีกเช่นเดียวกัน โดยผูเ้ รี ยน ทุกคนจะได้รับการเสนอเนื้ อหาในลําดับที่ไม่เหมือนกันโดยเนื้ อหาที่จะได้รับการนําเสนอต่อไปนั้นจะ ่ ั ขึ้นอยูกบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ 3. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) ภายใต้ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) นี้ ยงได้ ั เกิดทฤษฎีโครงสร้างความรู ้ ( Scheme Theory) ขึ้นซึ่ งเป็ นแนวคิดที่เชื่ อว่าโครงสร้างภายในของความรู ้ที่ มนุ ษย์มีอยูน้ นจะมีลกษณะเป็ นโหนดหรื อกลุ่มที่มีการเชื่ อมโยงกันอยู่ ในการที่มนุ ษย์จะรับรู ้อะไรใหม่ ่ ั ั ๆ นั้น มนุ ษย์จะนําความรู ้ใหม่ ๆ ที่เพิ่งได้รับนั้นไปเชื่ อมโยงกับกลุ่มความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิ ม (Pre-existing Knowledge) รู เมลฮาร์ ทและออโทนี่ (Rumelhart and Ortony,1977) ได้ให้ความหมายของคําโครงสร้าง ความรู ้ไว้วาเป็ นโครงสร้างข้อมูลภายในสมองของมนุษย์ซ่ ึ งรวบรวมความรู ้เกี่ยวกับวัตถุ ลําดับเหตุการณ์ ่ รายการกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ หน้าที่ของโครงสร้างความรู ้น้ ี ก็คือ การนําไปสู่ การรับรู ้ขอมูล (Perception) ้ การรับรู ้ขอมูลนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากขาดโครงสร้างความรู ้ (Schema) ทั้งนี้ ก็เพราะการรับรู ้ขอมูล ้ ้ นั้นเป็ นการสร้างความหมายโดยการถ่ายโอนความรู ้ใหม่เข้ากับความรู ้เดิม ภายในกรอบความรู้เดิม ที่มีอยูและจากการกระตุนโดยเหตุการณ์หนึ่ง ๆ ที่ช่วยให้เกิดการเชื่ อมโยงความรู ้น้ น ๆ เข้าด้วยกัน การ ่ ้ ั รับรู ้ เป็ นสิ่ งสําคัญที่ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ เนื่ องจากไม่มีการเรี ยนรู ้ ใดที่เกิ ดขึ้นได้โดยปราศจากการรับรู ้ ํ นอกจากโครงสร้ างความรู ้ จะช่ วยในการรับรู ้ และการเรี ยนรู ้ แล้วนั้น โครงสร้างความรู้ยง ช่ วยในการ ั ระลึก (Recall) ถึงสิ่ งต่างๆ ที่เราเคยเรี ยนรู้มา (Anderson,1984) การนําทฤษฎีโครงสร้างความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะส่ งผลให้ ลักษณะการนําเสนอเนื้ อหาที่มีการเชื่ อมโยงกันไปมา คล้ายใยแมงมุม(Webs) หรื อบทเรี ยนในลักษณะที่ เรี ยกว่า บทเรี ยนแบบสื่ อหลายมิติ (Hypermedia)ดังนั้นในการออกแบบสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา จึง จําเป็ นต้องนําแนวคิดของทฤษฎีต่าง ๆ มาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะและโครงสร้างของ องค์ความรู ้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยเพียงทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ ง ทั้งนี้ เพื่อให้ได้สื่อการ ํ เรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ ตอบสนองต่อวิธีการเรี ยนรู ้ ท่ีแตกต่างกัน และตอบสนองลักษณะ โครงสร้างขององค์ความรู ้ของสาขาวิชาต่าง ๆ ที่แตกต่างกันนันเอง ่ สื่ อมัลติมีเดียเพือการศึกษาและสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต ่ ประเภทของสื่ อมัลติมีเดียเพือการศึกษา ่ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) ได้กล่าวถึงสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา และความหมายของสื่ อ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาแต่ละประเภท ดังนี้
  • 11. e-learning และ CAI ต่างก็สามารถนําเสนอเนื้ อหาบทเรี ยนในรู ปของสื่ อมัล ติ มีเดี ยทาง คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ รูปแบบการเรี ยนการสอนทั้งสองยังถือเป็ นสื่ อรายบุคคล ซึ่ งมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนมี โอกาสอ่านและทําความเข้าใจเนื้ อหาตามความสามารถของตน สามารถที่จะทบทวนเนื้ อหาตามความ พอใจหรื อจนกว่าจะเข้าใจ สําหรับในด้านของการโต้ตอบกับบทเรี ยนและการให้ผลป้ อนกลับนั้น e – ่ ั Learning จะขึ้นอยูกบระดับของการนําเสนอและการนําไปใช้ หากมีการพัฒนา e-learning อย่างเต็ม รู ปแบบในระดับ Interactive Online หรื อ High Quality Online และนําไปใช้ในลักษณะสื่ อเติมหรื อสื่ อ หลัก ผูเ้ รี ยนไม่เพียงจะสามารถโต้ตอบกับบทเรี ยนได้อย่างมีความหมาย แต่ยงจะสามารถโต้ตอบกับ ั ผูสอนและกับผูเ้ รี ยนอื่นๆ ได้อย่างสะดวกผ่านทางระบบของe – Learning นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนยังสามารถที่ ้ จะได้รับผลป้ อนกลับจากแบบฝึ กหัดและกิจกรรมที่ได้ออกแบบไว้ รวมทั้งจากครู ผสอนทางออนไลน์ได้ ู้ อีกด้วย ในขณะที่ CAIนั้ นลักษณะสําคัญของ CAI ที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ การออกแบบให้มีกิจกรรมที่ ผูเ้ รี ยนสามารถโต้ตอบกับบทเรี ยนได้อย่างมีความหมาย รวมทั้งการจัดให้มีผลป้ อนกลับโดยทันทีให้กบ ั ผูเ้ รี ยนเมื่อผูเ้ รี ยนตรวจสอบความเข้าใจของตนจากการทําแบบฝึ กหัด หรื อแบบทดสอบ ่ ข้อแตกต่างสําคัญระหว่าง e-learning กับ CAI อาจอยูที่ การที่ e-learning จะใช้เว็บเทคโนโลยี เป็ นสําคัญ ในขณะที่ CAI เป็ นลักษณะของการนําเอาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการเรี ยนการสอนตั้งแต่ยุค 1960 ซึ่ งแต่เดิมมานั้นไม่ได้มีการใช้เว็บเทคโนโลยีความหมายของคํานี้ จึงค่อนข้างยึดติดกับการนําเสนอ ่ บนเครื่ อง Stand – Alone ไม่จาเป็ นต้องมีการเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายใดๆ แม้วาในระยะหลังจะมีความ ํ พยายามใช้การใช้คาว่า CAI on Web บ้างแต่ก็ไม่ได้รับความนิ ยมในการเรี ยกเท่าใดนัก ความหมายของ ํ ่ CAI จึงค่อนข้างจํากัดอยูในลักษณะ Off – line ดังนั้นเทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาบทเรี ยน (Authoring System) ของ CAI และ e-learning จึงมีความแตกต่างกันตามไปด้วยผูเ้ รี ยนที่ศึกษาจาก CAI จึงมักจะเป็ นการศึกษาจากซี ดีรอมเป็ นหลัก ในขณะที่ e-learning นั้นผูเ้ รี ยนสามารถที่จะศึกษาใน ลักษณะใดระหว่างซี ดีรอมหรื อจากเว็บก็ได้ ่ ในปั จจุบนแม้วาจะมีความพยามในการสนับสนุ นให้ Authoring System สามารถปรับให้ใช้ ั แสดงบนเว็บได้ แต่ยงพบปั ญหาในด้านขนาดของแฟ้ มข้อมูลที่ใหญ่และส่ งผลให้การโหลดข้อมูลช้า ั รวมทั้งปั ญหาในด้านการทํางานซึ่ งไม่สมบูรณ์นก e-learning และ WBI ต่างก็เป็ นผลจากกาผสมผสาน ั ั ระหว่างเว็บเทคโนโลยีกบกระบวนการออกแบบการเรี ยนการสอน เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพทางการ เรี ยนรู ้และแก้ปัญหาในเรื่ องข้อจํากัดทางด้านสถานที่ และเวลาในการเรี ยน นอกจากนี้ เช่นเดียวกันกับ WBI การพัฒนา e-learning จะต้องมีก ารนําเทคโนโลยีระบบบริ หารจัดการรายวิชา (Course Management System) มาใช้ดวย เพื่อช่วยในการเตรี ยมเนื้ อหาและจัดการกับการสอนในด้านการจัดการ ้ (Management) อื่น ๆ เช่ นในเรื่ องของคําแนะนําการเรี ยน การประกาศต่าง ๆ ประมวลรายวิชา รายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ ผูสอนรายชื่ อผูล งทะเบี ย นเรี ย น การมอบหมายงาน การจัดหาช่ องทางการ ้ ้ ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูสอน และผูเ้ รี ยนด้วยกัน คําแนะนําต่าง ๆ การสอบ การประเมินผล ้
  • 12. รวมทั้งการให้ผลป้ อนกลับซึ่ งสามารถที่จะทําในลักษณะออนไลน์ได้ท้ งหมด ผูสอนเองก็สามารถใช้ ั ้ ระบบบริ หารจัดการรายวิชานี้ ในการตรวจสอบพฤติกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ในกรณี ที่ใช้การถ่ายทอด เนื้อหาในลักษณะออนไลน์ รวมทั้งการตรวจสอบความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนจากการทําแบบทดสอบหรื อ แบบฝึ กหัดที่ได้จดไว้สาหรับความแตกต่างระหว่าง e-learning กับ WBI นั้นแทบจะไม่มีเลยก็วาได้ ั ํ ่ ความแตกต่างอาจได้แก่การที่ e-learning เป็ นคําศัพท์ (Term) ที่เกิดขึ้นภายหลัง คําว่า WBI จึงเสมือนเป็ น ผลของวิวฒนาการจาก WBI และเมื่อเว็บเทคโนโลยีโดยรวมมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ ว สิ่ งที่เคยทํา ั ไม่ได้สําหรับ WBI ในอดีต ก็สามารถทําได้สําหรับ e-learning ในปั จจุบน ตัวอย่างเช่นในช่วง 4-5 ปี ที่ ั ่ แล้วเมื่อมีการพูดถึง WBI การโต้ตอบ(Interaction) ค่อนข้างจํากัดอยูที่การโต้ตอบกับครู ผสอนหรื อกับ ู้ เพื่อนเป็ นหลักโดยที่เทคโนโลยีการโต้ตอบกับเนื้อหาเป็ นสิ่ งที่ทาได้ยาก อย่างไรก็ดีเมื่อกล่าวถึง ํ e-learningในปัจจุบนหากมีการพัฒนา e-learning อย่างเต็มรู ปแบบอย่างเต็มรู ปแบบในระดับ Interactive ั Online หรื อ High Quality Online การโต้ตอบสามารถทําได้อย่างไม่มีขอจํากัดอีกต่อไป เพราะปั จจุบน ้ ั เรามีเว็บเทคโนโลยีที่ช่วยสําหรับการออกแบบบทเรี ยนให้มีการโต้ตอบอย่างมีความหมายกับผูเ้ รี ยน และ ื ่ ดังนั้นจึงส่ งผลให้เกิดการพัฒนาในด้านการนําไปประยุกต์ใช้ที่ยดหยุนมากขึ้นกว่าเดิมมากนอกจากนี้ เดิม ทีความหมายของ WBI จะจํา กัดอยู่ที่การสอนบนเว็บเท่านั้นเพราะแนวความคิ ดหลัก ก็คือเพื่อใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บเป็ นหลักและการเรี ยนการสอนมักจะเน้นเนื้ อหาในลักษณะ ตัวหนังสื อ (Text –Based) และภาพประกอบหรื อวีดิทศน์ที่ไม่ซบซ้อนเท่านั้น ในขณะที่ในปั จจุบนผูที่ ั ั ั ้ ศึกษาจาก e-learning จะสามารถเรี ยกดูเนื้อหาออนไลน์ก็ได้ หรื อสามารถเรี ยกดูจากแผ่น CD-ROM ก็ได้ โดยที่เนื้อหาสารสนเทศที่ออกแบบสําหรับ e-learning นั้นจะใช้เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology) รวมทั้งมีการใช้เทคโนโลยีมลติมีเดีย (Mutimedia Technology)เป็ นสําคัญ ั ่ จากบทความดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุ ปได้วา สื่ อมัลติมีเดียแบ่งเป็ น 3ประเภทคือ 1. คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานในเครื่ องเดี่ยว (Stand Alone) 2. การสอนบนเว็บ (WBI) เป็ นสื่ อมัลติมีเดียที่เน้นการใช้งานในระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตหรื อ อินทราเน็ต 3. e-learning เป็ นสื่ อมัลติ มีเดี ยเชิ งปฏิ สัมพันธ์ที่สามารถใช้งานได้ท้ งใน CD-ROM และ ั เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต พร้อมทั้งมีระบบบริ หารจัดการรายวิชา ( CMSหรื อ LMS : Learning Management System) ความหมายของสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต ได้มี นัก การศึ ก ษาได้ใ ห้นิ ย ามความหมายของสื่ อ ผ่า นเครื อ ข่ า ยอิ นเทอร์ เน็ ต (Web Based Instruction) เอาไว้หลายนิ ยามดังนี้ (อ้างถึงใน สรรรัชต์ ห่ อไพศาล,2544)คาน (Khan, 1997) ได้ให้คา ํ ่ จํากัดความของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่านเว็บ(WebBased Instruction) ไว้วา เป็ นการเรี ยนการสอนที่ อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์ มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของ อินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย โดยส่ งเสริ มและสนับสนุนการเรี ยนรู ้อย่าง
  • 13. มากมาย โดยส่ งเสริ มและสนับสนุนการเรี ยนรู ้ในทุกทาง คลาร์ ก (Clark, 1996) ได้ให้คาจัดความของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่านเว็บว่าเป็ นการเรี ยนการ ํ สอนรายบุคคล ที่นาเสนอโดยการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สาธารณะหรื อส่ วนบุคคล และแสดงผลใน ํ ่ สรู ปของการใช้ผานเว็บบราวเซอร์ และสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ติดตั้งไว้ได้โดยผ่านทางเครื อข่าย รี แลน และกิลลานี (Relan and Gillani, 1997) ได้ให้ความหมายของสื่ อการเรี ยนการสอนผ่าน เว็บเช่นกันว่า เป็ นการกระทําของคณะหนึ่งในการเตรี ยมการคิดในกลวิธีการสอนโดยกลุ่มคอมสตรักติวิ ซึ มและการเรี ยนรู ้ในสถานการณ์ร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรในเวิลไวด์ เว็บพาร์สัน (Parson,1997) ได้ให้ความหมายของการเรี ยนการสอนผ่านเว็บว่า เป็ นการสอนที่นาเอาสิ่ งที่ ํ ต้องการส่ งให้บางส่ วนหรื อทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ โดยเว็บสามารถกระทําได้หลากหลายรู ปแบบและ หลากหลายขอบเขตที่เชื่อมโยงกัน ทั้งการเชื่อมต่อบทเรี ยน วัสดุช่วยการเรี ยนรู ้ และการศึกษาทางไกล ดริ สคอล (Driscoll,1997) ได้ให้ความหมายของอินเทอร์ เน็ตเพื่อการเรี ยนการสอนเอาไว้วาเป็ น ่ การใช้ทกษะหรื อความรู ้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลไวด์เว็บเป็ นช่องทางในการเผยแพร่ ั สิ่ งเหล่านั้น คุณลักษณะของสื่ อผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต จากการที่ สื่อผ่านเครื อข่ายอิ นเทอร์ เน็ตเป็ นส่ วนหนึ่ งของสื่ อมัลติ มีเดี ยเพื่อการศึกษา เราจึง สามารถนําคุ ณลัก ษณะของสื่ อมัล ติ มี เดี ย เพื่ อการศึ ก ษามาใช้นิย ามคุ ณลักษณะของสื่ อผ่านเครื อข่ า ย อินเทอร์เน็ตได้ โดยมีผกล่าวถึงคุณลักษณะของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่น่าสนใจดังนี้ (กรมวิชาการ ู้ ,2544) 1. เป้ าหมายคือการสอน อาจใช้ช่วยสอนหรื อสอนเสริ มก็ได้ 2. ผูเ้ รี ยนใช้เรี ยนด้วยตนเอง หรื อเรี ยนเป็ นกลุ่มย่อย 2-3 คน 3. มีวตถุประสงค์ทวไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ โดยครอบคลุมทักษะความรู้ ความจํา ความ ั ั่ ่ ั เข้าใจ และเจตคติ ส่ วนจะเน้นอย่างใดมากน้อย ขึ้นอยูกบวัตถุประสงค์และโครงสร้างของเนื้อหา 4. เป็ นลักษณะการสื่ อสารแบบสองทาง ่ 5. ใช้เพื่อการเรี ยนการสอน แต่ไม่จากัดว่าจะต้องอยูในระบบโรงเรี ยนเท่านั้น ํ 6. ระบบคอมพิวเตอร์สื่อมัลติมีเดียเป็ นชุดของฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้ในการส่ งและรับข้อมูล 7. รู ปแบบการสอนจะเน้นการออกแบบการสอน การมีปฏิสัมพันธ์ การตรวจสอบความรู้โดย ประยุกต์ทฤษฎีจิตวิทยา และทฤษฎีการเรี ยนรู้เป็ นหลัก 8. โปรแกรมได้รับการออกแบบให้ผเู ้ รี ยนเป็ นผูควบคุมกิจกรรมการเรี ยนทั้งหมด ้ 9. การตรวจสอบประสิ ทธิ ภาพของสื่ อนับเป็ นขั้นตอนที่สาคัญที่ตองกระทํา ํ ้ บทบาทของสื่ อผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต จากการที่สื่อผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเป็ นส่ วนหนึ่ งของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา จึงสามารถ อ้างอิงเอกสารที่กล่าวถึงบทบาทของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาได้ดงนี้ ั
  • 14. กรมวิชาการ (2544) กล่าวว่า สื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ นักการศึกษาให้ความสนใจเป็ นอย่างยิ่ง พัฒนาการของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนในประเทศ ตะวันตกตั้งแต่ปี ค.ศ.1980 เป็ นต้นมา มีความรุ ดหน้าอย่างเด่นชัด ยิ่งเมื่อมองภาพการใช้งานร่ วมกันกับ ระบบเครื อข่ายด้วยแล้ว บทบาทของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนจะยิงโดดเด่นไปอีกนานอย่างไร้ ่ ขอบเขต รู ปแบบต่างๆของสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนได้รับการพัฒนาขึ้นตามความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จนกระทังเมื่ อกล่ าวถึ งสื่ อมัลติมีเดี ย ทุกคนจะมองภาพตรงกันคื อ การ ่ ผสมผสานสื่ อ หลากหลายรู ป แบบเพื่ อ นํ า เสนอผ่ า นระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละควบคุ ม ด้ ว ยระบบ คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนสื่ อมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอนได้รับการบันทึกไว้บนแผ่นซี ดีรอมและเรี ยก ั ่ บทเรี ยนลักษณะนี้ วา CAI เมื่อกล่าวถึง CAI จึงหมายถึงสื่ อมัลติมีเดียที่นาเสนอบทเรี ยนโดยมีภาพ และ ํ เสี ย งเป็ นองค์ ป ระกอบหลัก โดยภาพและเสี ย งเหล่ า นี้ อาจอยู่ ใ นรู ป แบบของข้อ ความ ภาพนิ่ ง ่ ั ภาพเคลื่อนไหว หรื อวีดิทศน์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบการออกแบบบทเรี ยน ส่ วนเสี ยงนั้นอาจเป็ นเสี ยงจริ ง เสี ยง ั บรรยาย และอื่น ๆ ที่เหมาะสม โดยทั้งหมดจะถ่ายทอดผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งต่อเป็ นระบบเครื อข่าย หรื อคอมพิวเตอร์ ส่วนบุ คคลเมื่อเทคโนโลยีเครื อข่ายมี ความก้าวหน้ามากขึ้น การเรี ยนการสอนผ่าน ระบบเครื อข่ายก็ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นตามลําดับเช่นกัน เครื อข่ายใยแมงมุมโลกหรื อที่เรี ยกกัน โดยทัวไปว่าเว็บ (Web) ได้รับการพัฒนาและการตอบสนองจากผูใช้อย่างรวดเร็ ว เริ่ มตั้งแต่ ค.ศ. 1990 ่ ้ เว็บกลายเป็ นช่องทางการติดต่อสื่ อสารที่ธุรกิจทัวโลกให้ความสนใจ ซึ่ งรวมทั้งธุ รกิจด้านการศึกษาด้วย ่ โดยเฉพาะด้านการศึกษานั้น เว็บได้เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนทุกหนทุกแห่ งในโลกมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ ในเว็บได้ใกล้เคียงกันการเรี ยนการสอนบนเว็บ ( Web Based Instruction) ได้รับความสนใจจากนัก การศึกษาเป็ นอย่างมากในช่วง ค.ศ. 1995 ถึงปั จจุบน งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรี ยนการ ั ั สอนทั้งระบบการสอน และการออกแบบบทเรี ยนได้เกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ขณะเดี ยวกันการพัฒนา โปรแกรมสร้างบทเรี ยนหรื องานด้านมัลติมีเดี ยเพื่อสนับสนุ นการสร้ างบทเรี ยนบนเว็บมีความก้าวหน้า ขึ้น โปรแกรมสนับสนุ นการสร้างงานเหล่านี้ ลวนมีคุณภาพสู ง ใช้งานได้ง่าย เช่น โปรแกรม Microsoft ้ Frontpageโปรแกรม Macromedia Dreamweaver โปรแกรม Macromedia Director โปรแกรม Macromedia Flash โปรแกรม Macromedia Firework ฯลฯ นอกจากโปรแกรมดังกล่าวแล้ว โปรแกรม ช่วยสร้างมัลติมีเดียอื่น ๆ ที่ได้รับความนิยมในการนํามาสร้างบทเรี ยนมัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอน เช่ น Macromedia Authorware และ ToolBook ก็ได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้งานบนเว็บได้จาก ่ บทความดังกล่าวข้างต้นเป็ นที่ยนยันได้วา ความต้องการและความจําเป็ นในการพัฒนาสื่ อมัลติมีเดียเพื่อ ื การเรี ยนการสอนมีสูงมาก ซึ่ งสอดคล้องกับผลสรุ ปของข้อมูลจากแบบสํารวจความต้องการจําเป็ นของ ศูนย์นวัตกรรมและการนิเทศทางไกล จึงมีความเห็นว่าสมควรนิ เทศอบรมการพัฒนาสื่ อผ่านเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาของกรมสามัญศึกษา เพื่อให้เทคโนโลยีการสอนของประเทศ ไทยมีความเจริ ญและก้าวทันนานาประเทศ กับทั้งสามารถเชื่อมโยงสื่ อการสอนเข้ากับแหล่งอ้างอิง ความรู ้ทวโลกได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ั่