SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน
                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
      เป็นรายบุคคล โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน




                             โดย
           ครูณัฐพล บัวอุไร        ตาแหน่ง ครู คศ.1
           ครู วราพร อุลหัสสา      ตาแหน่ง ครูอตราจ้าง
                                               ั




            โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
      สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บทคัดย่อ
เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
       โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้วิจัย   นายณัฐพล บัวอุไร, นางสาววราพร อุลหัสสา
         การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกาปี
การศึกษา2555 โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัว
ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากประชากรคือ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4จานวน 47 คน โดยใช้เครื่องมือ ระเบียนสะสม สมุดคู่มือครูที่ปรึกษา
และ แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
         ผลการวิจั ยพบว่านักเรี ย นส่ วนใหญ่พักอยู่กับ พ่อแม่ และความสั มพันธ์ของบุคคลในบ้านเป็น
ลักษณะอบอุ่น นักเรียน ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร ดูแลเอาใจใส่นักเรียน ด้าน
การให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ
ทุกข์จากนักเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทา ให้คาแนะนาสม่าเสมอ ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของ
บุคคลในบ้านของนักเรียน ส่วนใหญ่ 1-2 ชั่วโมง ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน
ส่วนใหญ่ในวันสาคัญทางศาสนา ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน
ส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอและช่วยเหลือได้ และบุคคลในบ้านสามารถให้ความช่วยมีความรู้เพียงพอและ
ช่วยเหลือได้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษการงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านการใช้เวลา
ในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2
ชั่วโมง ด้านการใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อน
คลายในแต่ล ะวัน โดยเฉลี่ ย นั กเรี ย นใช้เวลา 1-2 ชั่ว โมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้ อยเกินไป/เหมาะสม/ไม่
เหมาะสม) เหมาะสม ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละ
วัน โดยเฉลี่ย พบว่า นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไปเหมาะสม/ไม่เหมาะสม)
เหมาะสมด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่เข้านอนเวลา 4-5 ทุ่ม ด้านค่าใช้จ่าย
ประจาวันในโรงเรียนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ได้รั บเงินค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ (เพียงพอ/ไม่เพียงพอ)
และนักเรียนส่วนใหญ่ได้เก็บออมบ้าง ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าส่วนใหญ่
มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นได้ และมีจานวน10 คนที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน
ด้านความชอบในการเล่ นกีฬาพบว่านักเรียนชอบเล่นแบตมินตัน มีนักเรียนที่ไม่ชอบเล่นกีฬาดังระบุไว้ใน
ข้ออื่นๆ เป็นจานวน 3 คน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดีคื อพบว่าส่วนใหญ่เป็น
วิชาภาษาไทย และนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ความต้องการ
ในการประกอบอาชีพในอนาคตพบว่านักเรี ยนส่วนใหญ่ ต้องการประกอบอาชีพค้านการบริหารธุรกิจ
บัญชี กิจการค้าขาย ด้านลีลาการเรียนรู้พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา และมีนักเรียน
จานวนหนึ่งที่มีลีลาการเรียนรู้แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง) และแบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) ซึ่งเป็น
นักเรียนกลุ่มที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ
กิตติกรรมประกาศ

        วิจัยนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ก็ด้วยความร่วมมือจากครูที่ปรึกษาร่วม คือครูวราพร อุลหัสสา ที่ได้ช่วย
เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนามาใช้ในการรายงานผลได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังต้องขอขอบคุณ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ปีการศึกษา 2555 ทุกคน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม
เพื่อการวิจัยในครั้งนี้

          ขอขอบคุณคุณครูคาเพียร สอนทโชติ ที่ได้อนุเคราะห์ให้คาปรึกษาในการเขียนรายงานการวิจัยเพื่อ
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ขอขอบคุณคุณครูของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ทุกท่านที่
ได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

         ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร ครู และนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ                  ลาลูกกา
ที่ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้วิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล

                                                                      ณัฐพล บัวอุไร, วราพร อุลหัสสา
                                                                            มิถุนายน 2555
สารบัญ

เรื่อง                                              หน้า

 บทคัดย่อ                                             ก
 กิตติกรรมประกาศ                                      ข

 แนวคิดและเหตุผล                                     1
 คาถามวิจัย                                          1
 วัตถุประสงค์ของการวิจัย                             1
 ขอบเขตของการวิจัย                                   1
 นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย                        2
 วิธีการดาเนินการวิจัย                               2
 ประโยชน์ของการวิจัย                                 2
 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล                                3
 สรุปผลการวิจัย                                     16
 อภิปรายผล                                          21
 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย                              22
 บทเรียนความคิดใหม่ที่ได้จากการวิจัย                22
 บรรณานุกรม                                         23
 ภาคผนวก                                            24
      - ระเบียนสะสม
      - แบบสรุปข้อมูลจากระเบียนสะสม
      - แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
      - รายชื่อนักเรียนในชั้นเรียนที่ทาวิจัย
สารบัญตาราง

ตารางที่                                                                              หน้า
ตารางที่ 1  แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลด้านการพักอาศัย                                     3
ตารางที่ 2  แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลใน
            บ้าน                                                                             3
ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของ
            ผู้ปกครอง                                                                        4
ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการ
            ใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จาก
            นักเรียน                                                                         4
ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ
            งานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน                                                       5
ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวน
            การเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ                                               5
ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง
            อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละ
            วันโดยเฉลี่ย                                                                     6
ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง
            อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย                               6
ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน                      7
ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวัน
            ในโรงเรียนของนักเรียน                                                            7
ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการเก็บออมของนักเรียน                          8
ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคล
            ในบ้านของนักเรียน                                                                8
ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของ
            บุคคลในบ้าน                                                                      9
ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน
            ของนักเรียน                                                                      9
ตารางที่                                                                              หน้า
ตารางที่ 15   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
              อาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาใน
              การทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน                             10
ตารางที่ 16   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
              อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ
              ทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน                                10
ตารางที่ 17   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่
              นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้
              คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน                   11
ตารางที่ 18   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่
              นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน
              เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา
              ภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน                             12
ตารางที่ 19   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความชอบในการเล่นกีฬา                       12
ตารางที่ 20   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา
              คะแนนได้ดี                                                                   13
ตารางที่ 21   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา
              คะแนนได้ไม่ดี                                                                14
ตารางที่ 22   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพใน
              อนาคต                                                                        15
ตารางที่ 23   แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน                 16
แนวคิดและเหตุผล
           ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.
2545 มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้อง
ดาเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนา
ผู้เรียนที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน จาเป็นที่ครู
ต้องมีเทคนิควิธีการในการรวบรวมข้อมูล และสามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมเพื่อการรู้จักและ
เข้าใจผู้เรียน ตลอดจนสามารถนาข้อมูลที่ได้จากการใช้เครื่องมือต่างๆมาวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการ
วางแผนช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนต่อไป
           ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูจึงทาการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบเพื่อนาข้อมูลที่
ได้ไปวางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง
บุคคล

คาถามวิจัย
        1. นักเรียนแต่ละคนมีลักษณะสาคัญอย่างไร
        2. นักเรียนแต่ละคนมีจุดน่าสนใจที่ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องอะไรบ้าง
        3. ลักษณะสภาพแวดล้อมที่บ้านของนักเรียนมีส่วนส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการ
        พัฒนาการ
           เรียนรู้ของนักเรียนอย่างไรบ้าง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
        เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวด้านต่าง ๆ ของนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ลาลูกกา
 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4

ขอบเขตของการวิจัย
      การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4 ที่อยู่ในความดูแลของผู้วิจัย
จานวน 47 คน


                                                                                                         1
นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
        1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่เรียนในโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2555
        2. สถานภาพส่วนตัว หมายถึง ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน สภาพการใช้ชีวิตประจาวันใน
บ้าน ตลอดจนความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้าน

วิธีการดาเนินการวิจัย
         1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2555 จานวน 47 คน
         2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
              2.1 ระเบียนสะสม
              2.2 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
         3. การสร้างเครื่องมือวิจัย
             ผู้รายงานใช้เครื่องมือในการวิจัยซึ่งสร้าง โดยงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ
งานวิจัย
             เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
         4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
              4.1 ผู้รายงานให้นักเรียนกรอกข้อมูลสถานภาพส่วนตัวในระเบียนสะสม
              4.2 แจกแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้นักเรียนทา
              4.3 ศึกษาข้อมูลอื่น ๆ ประกอบ
         5. การวิเคราะห์ข้อมูล
              ผู้รายงานดาเนินการดังนี้นาระเบียนสะสม และแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลมา
         วิเคราะห์
              รายด้าน โดยใช้ค่าความถี่และร้อยละ

ประโยชน์ของการวิจัย
        1. ทาให้ครูประจาวิชารู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
        2. นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง




                                                                                             2
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
        การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน ผู้รายงานได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดย
การแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ เสนอเป็นตารางประกอบคาบรรยาย แสดงดังตารางที่ 1 –
ตารางที่ 23


ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัย

รายการ : ปัจจุบันนักเรียนอาศัยอยู่กับ                      ความถี่        ร้อยละ       อันดับ
 พ่อ/แม่ (และพี่น้อง)                                       35           74.46           1
 ลุง/ป้า/น้า/อา                                              -              -            6
 ปู่/ย่า/ตา/ยาย                                              2            4.25           3
 พ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆ                                 8           17.02           2
 อยู่หอพัก/บ้านพักกับเพื่อน                                  1            2.12           4
 อื่นๆ                                                       1            2.12           5

        จากตารางที่ 1 การศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน35คน คิดเป็น
ร้อยละ74.46 ตามด้วยการพักอาศัยอยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน8 คน คิดเป็นร้อย
ละ17.02 และพักอาศัยอยู่กับปู่/ย่า/ตา/ยายจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25ตามลาดับ
ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์
ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน

รายการ : ความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน            ความถี่         ร้อยละ            อันดับ
 อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ                                    36            76.59               1
 เฉยๆ พูดคุยกันบ้าง                                       9            19.14               2
 ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ                  2            4.25                3
 ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง                               1            2.12                4

       จากตารางที่ 2 พบว่าความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 กับบุคคลในบ้าน
ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ76.59 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง
                                                                                                3
จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ19.14 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ จานวน 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 4.25 ตามลาดับ

ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแล
เอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง

รายการ : ผู้ปกครองมีเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียน        ความถี่        ร้อยละ           อันดับ
 มีเวลามาก                                              20           42.55              1
 มีเวลาให้พอสมควร                                       20           42.55              2
 ไม่ค่อยมีเวลา                                           6           12.76              3
 ไม่มีเวลาเลย                                            1           2.12               4

        จากตารางที่ 3 พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ มีเวลา
ลามาก จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 ตามด้วยมีเวลาให้พอสมควร จานวน 20 คน คิด
เป็นร้อยละ 42.55 และไม่ค่อยมีเวลา จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ

ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้
คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ
ทุกข์จากนักเรียน

รายการ : ผู้ปกครองให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้          ความถี่         ร้อยละ           อันดับ
ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับ
ฟังความทุกข์จากนักเรียน
 ให้คาแนะนาฯเสมอๆ                                        19            40.42              1
 ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย                                 12            25.53              3
 ให้คาแนะ นาฯ บางครั้ง                                   15            31.91              2
 ไม่ค่อยให้คาแนะ นาฯ                                     7             14.89              4
 ไม่เคยเลย                                                -              -

       จากตารางที่ 4 พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ
แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯ
เสมอๆจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯบางครั้งจานวน

                                                                                               4
15 คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย จานวน 12 คน คิด
เป็นร้อยละ 25.53 ตามลาดับ

ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาใน
การทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน
รายการ : ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ
                                                   ความถี่           ร้อยละ            อันดับ
งานต่างๆของนักเรียนที่บ้านคือ
 พ่อ/แม่และพี่น้อง                                   33             70.21                1
 ลุง/ป้า/น้า/อา                                       -                -                 6
 ปู่/ย่า/ตา/ยาย                                       1              2.12                4
 พ่อ/แม่และญาติๆ                                      1              2.12                5
 ไม่มีใครเลย                                          7             14.89                2
 อื่นๆ                                                5             10.63                3

          จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่
บ้านส่วนใหญ่เป็นพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน33 คน คิดเป็นร้อยละ70.21 ตามด้วยไม่มีใครเลย
จานวน7คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 และอื่นๆ จานวน5คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ (และ
เป็นที่น่าสนใจคือมีจานวนนักเรียน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทา
การบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านเลย)

ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาใน
การศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ
รายการ : นักเรียนใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/
ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่          ความถี่           ร้อยละ           อันดับ
ละวันโดยเฉลี่ย
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง                               7              14.89               2
 1 -2 ชั่วโมง                                    29              61.70               1
 2-3 ชั่วโมง                                      7              14.89               3
 มากกว่า 3 ชั่วโมง                                4               4.25               4

จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/
รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 29 คน คิดเป็น

                                                                                           5
ร้อยละ 61.70 ตามด้วยจานวนนักเรียน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงใน
การอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง7คน คิดเป็นร้อยละ
14.89 ที่ใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน

ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้
เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่
ละวันโดยเฉลี่ย
  รายการ : นักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง
อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อ                 ความถี่           ร้อยละ          อันดับ
ความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง                                           2                4.25            4
 1 -2 ชั่วโมง                                                20               42.55            1
 2-3 ชั่วโมง                                                  6               12.76            3
 มากกว่า 3 ชั่วโมง                                           14               29.78            2

        จากตารางที่ 7 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือ
การ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย1-2ชั่วโมงเป็นส่วน
ใหญ่จานวน20คน คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วยจานวนนักเรียน14คน คิดเป็นร้อยละ29.78ที่ใช้
เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อ
ความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียนเพียง2คน คิดเป็นร้อยละ4.25ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงใน
การดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่
ละวัน

ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน          ด้านการใช้เวลา
สืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย
รายการ : นักเรียนใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง
อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดย              ความถี่             ร้อยละ           อันดับ
เฉลี่ย
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง                                       7                14.89               4
 1 -2 ชั่วโมง                                             23               48.93               1
 2-3 ชั่วโมง                                              9                19.14               2
 มากกว่า 3 ชั่วโมง                                        8                17.02               3

                                                                                                6
จากตารางที่ 8 พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย
โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็น
จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 48.93 ตามด้วยใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงเป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อย
ละ 19.14 และใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงเป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับ

ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน         ด้านช่วงเวลาที่
นักเรียนเข้านอน
รายการ : ช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน                ความถี่                ร้อยละ            อันดับ
 2-3 ทุ่ม                                             1                   2.12                5
 3 - 4 ทุ่ม                                          20                  42.55                1
 4 - 5 ทุ่ม                                          16                  34.04                2
 5 ทุ่ม- เที่ยงคืน                                    7                  14.89                3
 หลังเที่ยงคืนไปแล้ว                                  3                   6.38                4

         จากตารางที่ 9 พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 อยู่ที่เวลา
3-4 ทุ่ม เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 ตามด้วยช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 16 คน คิด
เป็นร้อยละ 34.04 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89
ตามลาดับ

ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความ
พอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของนักเรียน

รายการ : ความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันใน
                                                           ความถี่        ร้อยละ            อันดับ
โรงเรียนของนักเรียน
 เพียงพอ                                                    44           39.61                1
 ไม่เพียงพอ                                                 3            6.38                 2

      จากตารางที่ 10 พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ
จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ39.61ไม่เพียงพอเป็นจานวน3คน คิดเป็นร้อยละ6.38




                                                                                                     7
ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บ
ออมของนักเรียน

รายการ : การเก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนม              ความถี่        ร้อยละ        อันดับ
ประจาวัน
 เก็บออมเสมอ                                            15           31.91             2
 เก็บออมบ้าง                                            31           65.95             1
 ไม่เคยเก็บออมเลย                                       1            2.12              3

        จากตารางที่ 11 พบว่านักเรียนได้เก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวันเก็บออม
บ้างเป็นจานวน 31คน คิดเป็นร้อยละ 65.95 ได้ เก็บออมเสมอ เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อย
ละ 31.91 และเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียนที่ไม่เคยเก็บออมเลย เป็นจานวน1คน คิดเป็นร้อยละ
2.12

ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของ
การอ่านหนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน

รายการ : ความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคลใน
                                                         ความถี่        ร้อยละ          อันดับ
บ้านของนักเรียน
 เสมอๆ                                                    6             12.76              4
 ค่อนข้างบ่อย                                             13            27.65              2
 บางครั้ง                                                 19            40.42              1
 นานๆครั้ง                                                9             19.14              3
 ไม่เคยเลย                                                 -              -                5

        จากตารางที่ 12 พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่อ่าน
หนังสือ บางครั้งเป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 ตามด้วยอ่านหนังสือค่อนข้างบ่อย เป็น
จานวน 13 คน คิดเป็นร้อย 27.65 และที่อ่านหนังสือนานๆครั้ง เป็นจานวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ
19.14 ตามลาดับ




                                                                                                 8
ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทา
กิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน
รายการ : นักเรียนและบุคคลในบ้านไปร่วมกิจกรรม
                                                   ความถี่          ร้อยละ            อันดับ
ทางศาสนามากน้อยเพียงใด
 ทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ                   11           23.4               3
 ส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา                       18           38.29              1
 ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง                   14           29.78              2
นานๆครั้งจะได้ไป                                     3           6.38               4
 ไม่เคยเลย                                           -             -                5

         จากตารางที่ 13 พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา
จานวน18คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันไปในวันสาคัญทาง
ศาสนาเป็นบางครั้ง จานวน14 คน คิดเป็นร้อยละ 29.78 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน ทุก
วันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 23.40 ตามลาดับ

ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน

รายการ : ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน
                                                        ความถี่          ร้อยละ       อันดับ
ของนักเรียน
 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถ                32           68.08         1
สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้
 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ              2           4.25          3
สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้
 มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่          9           19.14         2
มีเครื่องพิมพ์
 มีเฉพาะคอมพิวเตอร์                                       2           4.25          4
 ไม่มีคอมพิวเตอร์                                         2           4.25          5

       จากตารางที่ 14 พบว่าที่บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4จานวน32คน คิดเป็น
ร้อยละ68.08 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ ตามด้วย

                                                                                               9
จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 มีคอมพิวเตอร์สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มี
เครื่องพิมพ์และจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ
สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้

ตารางที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้
คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน
 รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัย
อยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้
                                                             ความถี่          ร้อยละ         อันดับ
คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษ
ให้แก่นักเรียน
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี                                  8          17.02             3
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้                                       9          40.42             2
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย                                       17          36.17             1
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย                                   4           8.51             4

        จากตารางที่ 15 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
ภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็น
ร้อยละ 36.17 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้
เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มี
ความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับ และเป็นที่
น่าสนใจว่ามีนักเรียน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย

ตารางที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา
ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน
รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/
                                                           ความถี่        ร้อยละ      อันดับ
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงาน
วิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี                               8          17.02         3

                                                                                                 10
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้                                   27           57.44          1
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย                                    12           25.53          2
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย                               1            2.12           4

        จากตารางที่ 16 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เป็นจานวน 27 คน คิดเป็นร้อย
ละ 57.44 ตามด้วยมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย
เป็นจานวน .12 คน คิดเป็นร้อยละ 25.53 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มี
ความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับและเป็นที่
น่าสนใจว่ามีนักเรียน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย

ตารางที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา
ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน
รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
อาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/                 ความ
                                                                          ร้อยละ      อันดับ
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงาน                   ถี่
วิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี                               21         44.68         1
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้                                    20         42.55         2
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย                                      -           -           4
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย                                 6         12.76         3

          จากตารางที่ 17 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 21 คน คิด
เป็นร้อยละ 44.68รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอ
ช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
อาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลยเป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ และ
เป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย


                                                                                               11
ตารางที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน
เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงาน
อาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน
รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัย
อยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งาน
ฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการ                 ความถี่    ร้อยละ        อันดับ
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการ
งานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี                             21        44.68           2
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้                                  22        46.80           1
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย                                    4        8.51            3
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย                               -          -             4

         จากตารางที่ 18 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และ
ประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/
ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 46.80 รองลงมาคือมี
บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 21 คน
คิดเป็นร้อยละ 44.68 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย
เป็นจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51ตามลาดับ

ตารางที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบ
ในการเล่นกีฬา

รายการ : ความชอบในการเล่นกีฬา                             ความถี่       ร้อยละ        อันดับ
 ฟุตบอล                                                  12          25.53           2
 บาสเกตบอล                                                3          6.38            5
 วอลเล่ย์บอล                                              6          12.76           3
 เทเบิลเทนนิส                                             4          8.51            4
 เทนนิส                                                   -            -
 มวย                                                      -            -

                                                                                               12
 เปตอง                                                          -           -
 แบตมินตัน                                                     18         38.29           1
 ตะกร้อ                                                         1         2.12            7
 อื่นๆ ระบุ............................                         3         6.38            6

       จากตารางที่ 19 พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
ส่วนใหญ่ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล
เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 25.53 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอลเป็นจานวน6คน คิดเป็นร้อย
ละ 12.76ตามลาดับ

ตารางที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียน
เรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี

รายการ : วิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา          ความถี่             ร้อยละ          อันดับ
คะแนนได้ดี
 คณิตศาสตร์                                                6             12.76            3
 วิทยาศาสตร์                                               4             8.51             6
 ภาษาไทย                                                  13             27.65            1
 ภาษาอังกฤษ                                                9             19.14            2
 สังคม                                                     6             12.76            4
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี                                   3             6.38             7
พละ สุขศึกษา                                               6             12.76            5

        จากตารางที่ 20 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและ
ทาคะแนนได้ดีคือวิชาภาษาไทย เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 27.65 ตามด้วยวิชา
ภาษาอังกฤษเป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 และวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 6 คน คิด
เป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ




                                                                                                     13
ตารางที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่
นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี
รายการ : วิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา       ความถี่           ร้อยละ              อันดับ
คะแนนได้ไม่ดี

 คณิตศาสตร์                                             28            59.57           1
 วิทยาศาสตร์                                             3            6.38            3
 ภาษาไทย                                                 2            4.25            4
 ภาษาอังกฤษ                                             15            31.91           2
 สังคม                                                   -              -             -
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี                                 -              -             -
พละ สุขศึกษา                                             -              -             -

         จากตารางที่ 21 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อย
เข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีคือวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 59.57 ตามด้วย
วิชาภาษาอังกฤษ เป็นจานวน15คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 6.38 ตามลาดับ




                                                                                                14
ตารางที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการ
ในการประกอบอาชีพในอนาคต

รายการ : ความต้องการในการประกอบอาชีพใน
                                                       ความถี่          ร้อยละ      อันดับ
อนาคต
 แพทย์ / เภสัช / ทันตแพทย์ / พยาบาล /                    4           8.51          5
จิตแพทย์
 วิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์                 4           8.51          6
 บุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การปกครอง                    5           10.6          4
ทหาร ตารวจ เป็นต้น                                                      3
 บุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงาน               9           19.1          2
ราชการต่างๆ เป็นต้น                                                     4
 บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการ          13           27.6          1
ค้าขาย เป็นต้น                                                          5
 บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ                  3           6.38          7
โปรแกรม เป็นต้น
 บุคลากรด้านบันเทิง /สื่อสารมวลชน /                      2           4.25          8
สานักพิมพ์ นักแปล นักเขียน เป็นต้น
 บุคลากรด้านการบริการ เช่น พนักงานต้อนรับ                2           4.25          9
โอเปอเรเตอร์ ไกด์ เป็นต้น
 อื่นๆ ระบุ                                              6           12.7          3
                                                                       6

       จากตารางที่ 22 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพ
บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อย
ละ 27.65 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ
เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 และอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การ
ปกครอง ทหาร ตารวจ เป็นต้นเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ




                                                                                             15
ตารางที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการ
เรียนรู้ของนักเรียน
รายการ : ลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน               ความถี่           ร้อยละ              อันดับ
แบบที่ 1 แบบอิสระ (พึ่งตนเอง)                       9              19                     3
แบบที่ 2 แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง)                 5              11                    4.5
แบบที่ 3 แบบร่วมมือ (แบบพึ่งกลุ่ม)                  11             23                     1
แบบที่ 4 แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น)                 10             21                     2
แบบที่ 5 แบบแข่งขัน                                 5              11                    4.5
แบบที่ 6 แบบมีส่วนร่วม                              7              15                     6

       จากตารางที่ 23 พบว่าลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เป็น
แบบร่วมมือจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ตามด้วยแบบพึ่งพา จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ
21 และแบบอิสระ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19 ตามลาดับ

สรุปผลการวิจัย
1. จากการศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีท4/4 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่และพี่น้อง จานวน35คน คิดเป็นร้อยละ74.46ตามด้วยการ
   ี่
พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่ พี่น้องและญาติๆ จานวน8คน คิดเป็นร้อยละ17.02และพักอาศัยอยู่กับปู่ ย่า
ตา ยายจานวน2คน คิดเป็นร้อยละ4.25ตามลาดับ


2. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน พบว่า
ความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4กับบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ
จานวน36 คน คิดเป็นร้อยละ76.59 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ
19.14 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25
ตามลาดับ

3. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง
พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาลามาก จานวน 20 คน
คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วยมีเวลาให้พอสมควร จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ42.55 และไม่
ค่อยมีเวลา จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ12.76 ตามลาดับ



                                                                                             16
4. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การ
ปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้
คาแนะนาฯ เสมอๆจานวน19คน คิดเป็นร้อยละ40.42 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯ
บางครั้ง

5 . ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของ
นักเรียนที่บ้านพบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน ส่วนใหญ่
เป็นพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 70.21 ตามด้วยไม่มีใครเลย จานวน 7 คน
คิดเป็นร้อยละ14.89 และอื่นๆจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจ
คือมีจานวนนักเรียน7คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงาน
ต่างๆของนักเรียนที่บ้านเลย)

6. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การ
ทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทา
การบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน29 คน
คิดเป็นร้อยละ61.70 ตามด้วยจานวนนักเรียน7 คน คิดเป็นร้อยละ14.89 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1
ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง7คน คิด
เป็นร้อยละ14.89 ที่ใช้เวลา2-3ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/
ชิ้นงาน

7. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือ
การ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายโดยเฉลี่ยในแต่ละวัน พบว่านักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4/4ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิง
ผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย1-2ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน20คน คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วย
จานวนนักเรียน14คน คิดเป็นร้อยละ29.78ที่ใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง
อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียนเพียง2คน คิด
เป็นร้อยละ4.25ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย
หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน

8. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/
หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันพบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย
โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4ส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2 ชั่วโมงเป็น


                                                                                                 17
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยguest41395d
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 

Similar to รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ

รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1chaimate
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 

Similar to รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ (20)

รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
260112114701
260112114701260112114701
260112114701
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 

More from Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 

รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบ

  • 1. รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 เป็นรายบุคคล โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ครูณัฐพล บัวอุไร ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครู วราพร อุลหัสสา ตาแหน่ง ครูอตราจ้าง ั โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. บทคัดย่อ เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร, นางสาววราพร อุลหัสสา การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกาปี การศึกษา2555 โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัว ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4จานวน 47 คน โดยใช้เครื่องมือ ระเบียนสะสม สมุดคู่มือครูที่ปรึกษา และ แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ผลการวิจั ยพบว่านักเรี ย นส่ วนใหญ่พักอยู่กับ พ่อแม่ และความสั มพันธ์ของบุคคลในบ้านเป็น ลักษณะอบอุ่น นักเรียน ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร ดูแลเอาใจใส่นักเรียน ด้าน การให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ ทุกข์จากนักเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทา ให้คาแนะนาสม่าเสมอ ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของ บุคคลในบ้านของนักเรียน ส่วนใหญ่ 1-2 ชั่วโมง ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่ในวันสาคัญทางศาสนา ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน ส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอและช่วยเหลือได้ และบุคคลในบ้านสามารถให้ความช่วยมีความรู้เพียงพอและ ช่วยเหลือได้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษการงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านการใช้เวลา ในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2 ชั่วโมง ด้านการใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อน คลายในแต่ล ะวัน โดยเฉลี่ ย นั กเรี ย นใช้เวลา 1-2 ชั่ว โมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้ อยเกินไป/เหมาะสม/ไม่ เหมาะสม) เหมาะสม ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละ วัน โดยเฉลี่ย พบว่า นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไปเหมาะสม/ไม่เหมาะสม) เหมาะสมด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่เข้านอนเวลา 4-5 ทุ่ม ด้านค่าใช้จ่าย ประจาวันในโรงเรียนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ได้รั บเงินค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ (เพียงพอ/ไม่เพียงพอ) และนักเรียนส่วนใหญ่ได้เก็บออมบ้าง ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าส่วนใหญ่ มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นได้ และมีจานวน10 คนที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน ด้านความชอบในการเล่ นกีฬาพบว่านักเรียนชอบเล่นแบตมินตัน มีนักเรียนที่ไม่ชอบเล่นกีฬาดังระบุไว้ใน ข้ออื่นๆ เป็นจานวน 3 คน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดีคื อพบว่าส่วนใหญ่เป็น วิชาภาษาไทย และนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ความต้องการ ในการประกอบอาชีพในอนาคตพบว่านักเรี ยนส่วนใหญ่ ต้องการประกอบอาชีพค้านการบริหารธุรกิจ
  • 3. บัญชี กิจการค้าขาย ด้านลีลาการเรียนรู้พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา และมีนักเรียน จานวนหนึ่งที่มีลีลาการเรียนรู้แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง) และแบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) ซึ่งเป็น นักเรียนกลุ่มที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ
  • 4. กิตติกรรมประกาศ วิจัยนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ก็ด้วยความร่วมมือจากครูที่ปรึกษาร่วม คือครูวราพร อุลหัสสา ที่ได้ช่วย เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนามาใช้ในการรายงานผลได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังต้องขอขอบคุณ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ปีการศึกษา 2555 ทุกคน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม เพื่อการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณคุณครูคาเพียร สอนทโชติ ที่ได้อนุเคราะห์ให้คาปรึกษาในการเขียนรายงานการวิจัยเพื่อ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ขอขอบคุณคุณครูของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ทุกท่านที่ ได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร ครู และนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ที่ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้วิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล ณัฐพล บัวอุไร, วราพร อุลหัสสา มิถุนายน 2555
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข แนวคิดและเหตุผล 1 คาถามวิจัย 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 ขอบเขตของการวิจัย 1 นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 2 วิธีการดาเนินการวิจัย 2 ประโยชน์ของการวิจัย 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3 สรุปผลการวิจัย 16 อภิปรายผล 21 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 22 บทเรียนความคิดใหม่ที่ได้จากการวิจัย 22 บรรณานุกรม 23 ภาคผนวก 24 - ระเบียนสะสม - แบบสรุปข้อมูลจากระเบียนสะสม - แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - รายชื่อนักเรียนในชั้นเรียนที่ทาวิจัย
  • 6. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลด้านการพักอาศัย 3 ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลใน บ้าน 3 ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของ ผู้ปกครอง 4 ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการ ใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จาก นักเรียน 4 ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ งานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน 5 ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวน การเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ 5 ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละ วันโดยเฉลี่ย 6 ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 6 ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน 7 ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวัน ในโรงเรียนของนักเรียน 7 ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการเก็บออมของนักเรียน 8 ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคล ในบ้านของนักเรียน 8 ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของ บุคคลในบ้าน 9 ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน ของนักเรียน 9
  • 7. ตารางที่ หน้า ตารางที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาใน การทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน 10 ตารางที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ ทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน 10 ตารางที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่ นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้ คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน 11 ตารางที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่ นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา ภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน 12 ตารางที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความชอบในการเล่นกีฬา 12 ตารางที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา คะแนนได้ดี 13 ตารางที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา คะแนนได้ไม่ดี 14 ตารางที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพใน อนาคต 15 ตารางที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน 16
  • 8. แนวคิดและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้อง ดาเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนา ผู้เรียนที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน จาเป็นที่ครู ต้องมีเทคนิควิธีการในการรวบรวมข้อมูล และสามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมเพื่อการรู้จักและ เข้าใจผู้เรียน ตลอดจนสามารถนาข้อมูลที่ได้จากการใช้เครื่องมือต่างๆมาวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการ วางแผนช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนต่อไป ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูจึงทาการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบเพื่อนาข้อมูลที่ ได้ไปวางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง บุคคล คาถามวิจัย 1. นักเรียนแต่ละคนมีลักษณะสาคัญอย่างไร 2. นักเรียนแต่ละคนมีจุดน่าสนใจที่ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องอะไรบ้าง 3. ลักษณะสภาพแวดล้อมที่บ้านของนักเรียนมีส่วนส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาการ เรียนรู้ของนักเรียนอย่างไรบ้าง วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวด้านต่าง ๆ ของนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4 ที่อยู่ในความดูแลของผู้วิจัย จานวน 47 คน 1
  • 9. นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่เรียนในโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2555 2. สถานภาพส่วนตัว หมายถึง ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน สภาพการใช้ชีวิตประจาวันใน บ้าน ตลอดจนความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้าน วิธีการดาเนินการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2555 จานวน 47 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ระเบียนสะสม 2.2 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3. การสร้างเครื่องมือวิจัย ผู้รายงานใช้เครื่องมือในการวิจัยซึ่งสร้าง โดยงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ งานวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4.1 ผู้รายงานให้นักเรียนกรอกข้อมูลสถานภาพส่วนตัวในระเบียนสะสม 4.2 แจกแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้นักเรียนทา 4.3 ศึกษาข้อมูลอื่น ๆ ประกอบ 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงานดาเนินการดังนี้นาระเบียนสะสม และแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลมา วิเคราะห์ รายด้าน โดยใช้ค่าความถี่และร้อยละ ประโยชน์ของการวิจัย 1. ทาให้ครูประจาวิชารู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 2
  • 10. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ผู้รายงานได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดย การแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ เสนอเป็นตารางประกอบคาบรรยาย แสดงดังตารางที่ 1 – ตารางที่ 23 ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัย รายการ : ปัจจุบันนักเรียนอาศัยอยู่กับ ความถี่ ร้อยละ อันดับ  พ่อ/แม่ (และพี่น้อง) 35 74.46 1  ลุง/ป้า/น้า/อา - - 6  ปู่/ย่า/ตา/ยาย 2 4.25 3  พ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆ 8 17.02 2  อยู่หอพัก/บ้านพักกับเพื่อน 1 2.12 4  อื่นๆ 1 2.12 5 จากตารางที่ 1 การศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน35คน คิดเป็น ร้อยละ74.46 ตามด้วยการพักอาศัยอยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน8 คน คิดเป็นร้อย ละ17.02 และพักอาศัยอยู่กับปู่/ย่า/ตา/ยายจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25ตามลาดับ ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน รายการ : ความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน ความถี่ ร้อยละ อันดับ  อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ 36 76.59 1  เฉยๆ พูดคุยกันบ้าง 9 19.14 2  ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ 2 4.25 3  ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง 1 2.12 4 จากตารางที่ 2 พบว่าความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 กับบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ76.59 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง 3
  • 11. จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ19.14 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 ตามลาดับ ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแล เอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง รายการ : ผู้ปกครองมีเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียน ความถี่ ร้อยละ อันดับ  มีเวลามาก 20 42.55 1  มีเวลาให้พอสมควร 20 42.55 2  ไม่ค่อยมีเวลา 6 12.76 3  ไม่มีเวลาเลย 1 2.12 4 จากตารางที่ 3 พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ มีเวลา ลามาก จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 ตามด้วยมีเวลาให้พอสมควร จานวน 20 คน คิด เป็นร้อยละ 42.55 และไม่ค่อยมีเวลา จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้ คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ ทุกข์จากนักเรียน รายการ : ผู้ปกครองให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ ความถี่ ร้อยละ อันดับ ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับ ฟังความทุกข์จากนักเรียน  ให้คาแนะนาฯเสมอๆ 19 40.42 1  ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย 12 25.53 3  ให้คาแนะ นาฯ บางครั้ง 15 31.91 2  ไม่ค่อยให้คาแนะ นาฯ 7 14.89 4  ไม่เคยเลย - - จากตารางที่ 4 พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯ เสมอๆจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯบางครั้งจานวน 4
  • 12. 15 คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย จานวน 12 คน คิด เป็นร้อยละ 25.53 ตามลาดับ ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาใน การทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน รายการ : ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ ความถี่ ร้อยละ อันดับ งานต่างๆของนักเรียนที่บ้านคือ  พ่อ/แม่และพี่น้อง 33 70.21 1  ลุง/ป้า/น้า/อา - - 6  ปู่/ย่า/ตา/ยาย 1 2.12 4  พ่อ/แม่และญาติๆ 1 2.12 5  ไม่มีใครเลย 7 14.89 2  อื่นๆ 5 10.63 3 จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่ บ้านส่วนใหญ่เป็นพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน33 คน คิดเป็นร้อยละ70.21 ตามด้วยไม่มีใครเลย จานวน7คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 และอื่นๆ จานวน5คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ (และ เป็นที่น่าสนใจคือมีจานวนนักเรียน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทา การบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านเลย) ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาใน การศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ รายการ : นักเรียนใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ ความถี่ ร้อยละ อันดับ ละวันโดยเฉลี่ย  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 7 14.89 2  1 -2 ชั่วโมง 29 61.70 1  2-3 ชั่วโมง 7 14.89 3  มากกว่า 3 ชั่วโมง 4 4.25 4 จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/ รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 29 คน คิดเป็น 5
  • 13. ร้อยละ 61.70 ตามด้วยจานวนนักเรียน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงใน การอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง7คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ที่ใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้ เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ ละวันโดยเฉลี่ย รายการ : นักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อ ความถี่ ร้อยละ อันดับ ความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 2 4.25 4  1 -2 ชั่วโมง 20 42.55 1  2-3 ชั่วโมง 6 12.76 3  มากกว่า 3 ชั่วโมง 14 29.78 2 จากตารางที่ 7 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือ การ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย1-2ชั่วโมงเป็นส่วน ใหญ่จานวน20คน คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วยจานวนนักเรียน14คน คิดเป็นร้อยละ29.78ที่ใช้ เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อ ความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียนเพียง2คน คิดเป็นร้อยละ4.25ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงใน การดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ ละวัน ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลา สืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย รายการ : นักเรียนใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดย ความถี่ ร้อยละ อันดับ เฉลี่ย  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 7 14.89 4  1 -2 ชั่วโมง 23 48.93 1  2-3 ชั่วโมง 9 19.14 2  มากกว่า 3 ชั่วโมง 8 17.02 3 6
  • 14. จากตารางที่ 8 พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็น จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 48.93 ตามด้วยใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงเป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อย ละ 19.14 และใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงเป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับ ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านช่วงเวลาที่ นักเรียนเข้านอน รายการ : ช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน ความถี่ ร้อยละ อันดับ  2-3 ทุ่ม 1 2.12 5  3 - 4 ทุ่ม 20 42.55 1  4 - 5 ทุ่ม 16 34.04 2  5 ทุ่ม- เที่ยงคืน 7 14.89 3  หลังเที่ยงคืนไปแล้ว 3 6.38 4 จากตารางที่ 9 พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 อยู่ที่เวลา 3-4 ทุ่ม เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 ตามด้วยช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 16 คน คิด เป็นร้อยละ 34.04 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ตามลาดับ ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความ พอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของนักเรียน รายการ : ความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันใน ความถี่ ร้อยละ อันดับ โรงเรียนของนักเรียน  เพียงพอ 44 39.61 1  ไม่เพียงพอ 3 6.38 2 จากตารางที่ 10 พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ39.61ไม่เพียงพอเป็นจานวน3คน คิดเป็นร้อยละ6.38 7
  • 15. ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บ ออมของนักเรียน รายการ : การเก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนม ความถี่ ร้อยละ อันดับ ประจาวัน  เก็บออมเสมอ 15 31.91 2  เก็บออมบ้าง 31 65.95 1  ไม่เคยเก็บออมเลย 1 2.12 3 จากตารางที่ 11 พบว่านักเรียนได้เก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวันเก็บออม บ้างเป็นจานวน 31คน คิดเป็นร้อยละ 65.95 ได้ เก็บออมเสมอ เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อย ละ 31.91 และเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียนที่ไม่เคยเก็บออมเลย เป็นจานวน1คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของ การอ่านหนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน รายการ : ความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคลใน ความถี่ ร้อยละ อันดับ บ้านของนักเรียน  เสมอๆ 6 12.76 4  ค่อนข้างบ่อย 13 27.65 2  บางครั้ง 19 40.42 1  นานๆครั้ง 9 19.14 3  ไม่เคยเลย - - 5 จากตารางที่ 12 พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่อ่าน หนังสือ บางครั้งเป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 ตามด้วยอ่านหนังสือค่อนข้างบ่อย เป็น จานวน 13 คน คิดเป็นร้อย 27.65 และที่อ่านหนังสือนานๆครั้ง เป็นจานวน 9 คนคิดเป็นร้อยละ 19.14 ตามลาดับ 8
  • 16. ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทา กิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน รายการ : นักเรียนและบุคคลในบ้านไปร่วมกิจกรรม ความถี่ ร้อยละ อันดับ ทางศาสนามากน้อยเพียงใด  ทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ 11 23.4 3  ส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา 18 38.29 1  ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง 14 29.78 2 นานๆครั้งจะได้ไป 3 6.38 4  ไม่เคยเลย - - 5 จากตารางที่ 13 พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา จานวน18คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันไปในวันสาคัญทาง ศาสนาเป็นบางครั้ง จานวน14 คน คิดเป็นร้อยละ 29.78 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน ทุก วันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 23.40 ตามลาดับ ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน รายการ : ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน ความถี่ ร้อยละ อันดับ ของนักเรียน  มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถ 32 68.08 1 สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้  มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ 2 4.25 3 สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้  มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่ 9 19.14 2 มีเครื่องพิมพ์  มีเฉพาะคอมพิวเตอร์ 2 4.25 4  ไม่มีคอมพิวเตอร์ 2 4.25 5 จากตารางที่ 14 พบว่าที่บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4จานวน32คน คิดเป็น ร้อยละ68.08 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ ตามด้วย 9
  • 17. จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 มีคอมพิวเตอร์สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มี เครื่องพิมพ์และจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ ตารางที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้ คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัย อยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้ ความถี่ ร้อยละ อันดับ คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษ ให้แก่นักเรียน มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 8 17.02 3  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 9 40.42 2  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 17 36.17 1  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 4 8.51 4 จากตารางที่ 15 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน ภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็น ร้อยละ 36.17 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 40.42 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มี ความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับ และเป็นที่ น่าสนใจว่ามีนักเรียน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย ตารางที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ความถี่ ร้อยละ อันดับ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงาน วิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 8 17.02 3 10
  • 18.  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 27 57.44 1  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 12 25.53 2  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 1 2.12 4 จากตารางที่ 16 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน คณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เป็นจานวน 27 คน คิดเป็นร้อย ละ 57.44 ตามด้วยมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน .12 คน คิดเป็นร้อยละ 25.53 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มี ความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 17.02 ตามลาดับและเป็นที่ น่าสนใจว่ามีนักเรียน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.12 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย ตารางที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ความ ร้อยละ อันดับ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงาน ถี่ วิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 21 44.68 1  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 20 42.55 2  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย - - 4  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 6 12.76 3 จากตารางที่ 17 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 21 คน คิด เป็นร้อยละ 44.68รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอ ช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 42.55 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลยเป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ และ เป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 11
  • 19. ตารางที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงาน อาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน รายการ : บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัย อยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งาน ฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการ ความถี่ ร้อยละ อันดับ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 21 44.68 2  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 22 46.80 1  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 4 8.51 3  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย - - 4 จากตารางที่ 18 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และ ประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 46.80 รองลงมาคือมี บุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 44.68 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.51ตามลาดับ ตารางที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบ ในการเล่นกีฬา รายการ : ความชอบในการเล่นกีฬา ความถี่ ร้อยละ อันดับ  ฟุตบอล 12 25.53 2  บาสเกตบอล 3 6.38 5  วอลเล่ย์บอล 6 12.76 3  เทเบิลเทนนิส 4 8.51 4  เทนนิส - -  มวย - - 12
  • 20.  เปตอง - -  แบตมินตัน 18 38.29 1  ตะกร้อ 1 2.12 7  อื่นๆ ระบุ............................ 3 6.38 6 จากตารางที่ 19 พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 25.53 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอลเป็นจานวน6คน คิดเป็นร้อย ละ 12.76ตามลาดับ ตารางที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียน เรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี รายการ : วิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา ความถี่ ร้อยละ อันดับ คะแนนได้ดี  คณิตศาสตร์ 6 12.76 3  วิทยาศาสตร์ 4 8.51 6  ภาษาไทย 13 27.65 1  ภาษาอังกฤษ 9 19.14 2  สังคม 6 12.76 4  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 6.38 7 พละ สุขศึกษา 6 12.76 5 จากตารางที่ 20 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและ ทาคะแนนได้ดีคือวิชาภาษาไทย เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 27.65 ตามด้วยวิชา ภาษาอังกฤษเป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 และวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 12.76 ตามลาดับ 13
  • 21. ตารางที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่ นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี รายการ : วิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา ความถี่ ร้อยละ อันดับ คะแนนได้ไม่ดี  คณิตศาสตร์ 28 59.57 1  วิทยาศาสตร์ 3 6.38 3  ภาษาไทย 2 4.25 4  ภาษาอังกฤษ 15 31.91 2  สังคม - - -  การงานอาชีพและเทคโนโลยี - - - พละ สุขศึกษา - - - จากตารางที่ 21 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อย เข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีคือวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 59.57 ตามด้วย วิชาภาษาอังกฤษ เป็นจานวน15คน คิดเป็นร้อยละ 31.91 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6.38 ตามลาดับ 14
  • 22. ตารางที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการ ในการประกอบอาชีพในอนาคต รายการ : ความต้องการในการประกอบอาชีพใน ความถี่ ร้อยละ อันดับ อนาคต  แพทย์ / เภสัช / ทันตแพทย์ / พยาบาล / 4 8.51 5 จิตแพทย์  วิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ 4 8.51 6  บุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การปกครอง 5 10.6 4 ทหาร ตารวจ เป็นต้น 3  บุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงาน 9 19.1 2 ราชการต่างๆ เป็นต้น 4  บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการ 13 27.6 1 ค้าขาย เป็นต้น 5  บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ 3 6.38 7 โปรแกรม เป็นต้น  บุคลากรด้านบันเทิง /สื่อสารมวลชน / 2 4.25 8 สานักพิมพ์ นักแปล นักเขียน เป็นต้น  บุคลากรด้านการบริการ เช่น พนักงานต้อนรับ 2 4.25 9 โอเปอเรเตอร์ ไกด์ เป็นต้น  อื่นๆ ระบุ 6 12.7 3 6 จากตารางที่ 22 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพ บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อย ละ 27.65 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 และอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การ ปกครอง ทหาร ตารวจ เป็นต้นเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ 15
  • 23. ตารางที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการ เรียนรู้ของนักเรียน รายการ : ลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน ความถี่ ร้อยละ อันดับ แบบที่ 1 แบบอิสระ (พึ่งตนเอง) 9 19 3 แบบที่ 2 แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง) 5 11 4.5 แบบที่ 3 แบบร่วมมือ (แบบพึ่งกลุ่ม) 11 23 1 แบบที่ 4 แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) 10 21 2 แบบที่ 5 แบบแข่งขัน 5 11 4.5 แบบที่ 6 แบบมีส่วนร่วม 7 15 6 จากตารางที่ 23 พบว่าลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ส่วนใหญ่เป็น แบบร่วมมือจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ตามด้วยแบบพึ่งพา จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 21 และแบบอิสระ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19 ตามลาดับ สรุปผลการวิจัย 1. จากการศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีท4/4 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่และพี่น้อง จานวน35คน คิดเป็นร้อยละ74.46ตามด้วยการ ี่ พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่ พี่น้องและญาติๆ จานวน8คน คิดเป็นร้อยละ17.02และพักอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยายจานวน2คน คิดเป็นร้อยละ4.25ตามลาดับ 2. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน พบว่า ความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4กับบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน36 คน คิดเป็นร้อยละ76.59 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 19.14 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 ตามลาดับ 3. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาลามาก จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วยมีเวลาให้พอสมควร จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ42.55 และไม่ ค่อยมีเวลา จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ12.76 ตามลาดับ 16
  • 24. 4. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การ ปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้ คาแนะนาฯ เสมอๆจานวน19คน คิดเป็นร้อยละ40.42 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯ บางครั้ง 5 . ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของ นักเรียนที่บ้านพบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน ส่วนใหญ่ เป็นพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 70.21 ตามด้วยไม่มีใครเลย จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ14.89 และอื่นๆจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.63 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจ คือมีจานวนนักเรียน7คน คิดเป็นร้อยละ 14.89 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงาน ต่างๆของนักเรียนที่บ้านเลย) 6. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การ ทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทา การบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน29 คน คิดเป็นร้อยละ61.70 ตามด้วยจานวนนักเรียน7 คน คิดเป็นร้อยละ14.89 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง7คน คิด เป็นร้อยละ14.89 ที่ใช้เวลา2-3ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ ชิ้นงาน 7. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือ การ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายโดยเฉลี่ยในแต่ละวัน พบว่านักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/4ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิง ผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย1-2ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน20คน คิดเป็นร้อยละ42.55 ตามด้วย จานวนนักเรียน14คน คิดเป็นร้อยละ29.78ที่ใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียนเพียง2คน คิด เป็นร้อยละ4.25ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน 8. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/ หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันพบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4ส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2 ชั่วโมงเป็น 17