SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
โดย มาโนช จันทร์แจ่ม
ศึกษานิเทศก์ คศ.3 สพท.รบ.1
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ทาไมต้องทาวิจัยในขั้นเรียน ?
นับตั้งแต่ประเทศไทยได้ดาเนินการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยตรา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ขึ้น นับเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ครูผู้สอนได้
ปรับตัวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
มากขึ้น โดยเห็นความสาคัญของการวิจัยว่า เป็นเครื่องมือสาคัญในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียน
การสอน ดังมาตราที่ 30 ที่ว่า “..ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ
ผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา...” (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2542:14,16) จากการ
ที่มีการกาหนดให้ใช้วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ไว้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
2542 แสดงให้เห็นว่า วิจัย เป็นกระบวนการสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่
ครูผู้สอนจะต้องสนใจ พัฒนาตนเองให้เป็นนักวิจัย สามารถทาวิจัยควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการ
สอน เป็นวิจัยระหว่างปฏิบัติงานที่ใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ครูผู้สอน และนักเรียนหลายประการ เช่น ช่วยลดปัญหาในชั้นเรียนได้ดีและทันท่วงที นักเรียนได้รับ
การ ช่วยเหลือ ให้มีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ครูผู้สอนเกิด
ความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในชั้นเรียนอย่างเหมาะสม สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่าง
เป็นระบบ ประสบผลสาเร็จตามเป้ าหมาย ผลที่ได้เป็นที่น่าเชื่อถือ และเกิดความมั่นใจในการทางาน
ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าวในปัจจุบัน ครูผู้สอนทุกคนจึงควรจะต้องทาวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในขั้นเรียนเป็นอย่างไร ?
วิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่ทาโดยครูผู้สอนในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่
เกิดขึ้นในชั้นเรียนเป็นครั้ง ๆ ไป เป็นวิจัยที่ต้องทาอย่างรวดเร็ว และนาผลมาใช้ปรับปรุงการเรียน
การสอนทันที เป็นการหาความรู้หรือวิธีการใหม่ ๆ รวมทั้งประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่มาใช้แก้ปัญหาหรือ
พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยมีการใช้กระบวนการในการแก้ปัญหาและดาเนินการอย่างเป็นระบบ
ผลการวิจัยจะใช้ได้เฉพาะกลุ่มที่ทาการศึกษา และมีการสะท้อนข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานต่าง ๆ
ของตนเอง การวิจัยในชั้นเรียนจะยืดหยุ่น เหมาะสมกับภารกิจการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีลักษณะเดียวกับ
วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิจัยประยุกต์ ในปัจจุบันมีการเรียกวิจัย
ในชั้นเรียนแตกต่างกันไป เช่น วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยอย่างง่ายและ
วิจัยหน้าเดียว เป็นต้น
- 2 -
วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเป็นแนวทางหลักในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน
มีขั้นตอนสาคัญตามแนวคิดของ คาร์ และเคมมิส (Carr and Kemmis.1986:3) ดังนี้
ขั้นที่ 1 วางแผน (Plan)
ขั้นที่ 2 ปฏิบัติ (Act)
ขั้นที่ 3 สังเกต (Observe)
ขั้นที่ 4 สะท้อนความคิด (Reflect)
ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นของวิจัยปฏิบัติการจะเชื่อมโยงต่อเนื่องกันเป็นกระบวนการ ในการ
นามาปฏิบัติจริง จะมีการดาเนินงานต่อเนื่องกันหลาย ๆ รอบ หรือหลาย ๆ วงจร ดังแผนภูมิ
แผนภูมิแสดงกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการของคาร์ และเคมมิส (Carr and Kemmis)
จากภาพแสดงให้เห็นขั้นตอนของ การวิจัยปฏิบัติการทั้ง 4 ขั้น ที่ปฏิบัติต่อเนื่องกัน
เมื่อดาเนินการครบทั้ง 4 ขั้นแล้ว ถ้าหากยังพบจุดอ่อน หรือผลที่ได้ยังไม่น่าพอใจ ก็สามารถปรับปรุง
แผนปฏิบัติ และดาเนินการต่อเนื่องเป็นวงจรที่ 2 และถ้าหากยังมีข้อบกพร่องอยู่อีก ก็สามารถปรับปรุง
แผนและปฏิบัติได้อีกเป็นวงจรที่ 3 และต่อเนื่องได้หลายวงจร จนกว่าจะได้ผลเป็นที่น่าพอใจ
วางแผน (Plan)
สะท้อนความคิด
(REFLECT)
ปฏิบัติ
(ACT)
สังเกต (OBSERVE)
ปรับแผน
(REVISED PLAN)
สะท้อนความคิด
(REFLECT)
ปฏิบัติ
(ACT)
สังเกต (OBSERVE)
วงจรที่ 3 (CYCLE 3)
วงจรที่ 1 (CYCLE 1) วงจรที่ 2 (CYCLE 2)
- 3 -
จากกระบวนการวิจัยปฏิบัติการทั้ง 4 ขั้นตอน ได้มีการนามากาหนดเป็นขั้นย่อย ๆ ขึ้น
เพื่อให้เกิดความสะดวก ชัดเจนในการทาวิจัยในชั้นเรียน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ศึกษาปัญหา
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ขั้นที่ 3 หาวิธีแก้ปัญหาหรือนวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหา
ขั้นที่ 4 พัฒนานวัตกรรม วิธีการแก้ปัญหา หรือวิธีการพัฒนา
ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรม
ขั้นที่ 6 เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นที่ 7 สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิดและรายงานผล
ในการกาหนดเป็นขั้นตอนการทาวิจัยในชั้นเรียนจะเห็นได้ว่าทั้งสองส่วนคือ
กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน และกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จะมีความสอดคล้องกันดังแผนภูมิ
- 4 -
แผนภูมิแสดงความสอดคล้องของการวิจัยในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ
1. ศึกษาปัญหา
2. หาสาเหตุของปัญหา
3. หาวิธีแก้ปัญหา
7. สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิด
ปรับปรุงและรายงานผล
5. จัดกิจกรรมแก้ปัญหา
หรือใช้นวัตกรรม
6. เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
4.พัฒนานวัตกรรมและ
วิธีการแก้ปัญหา
วางแผน
(Plan)
ปฏิบัติตามแผน
(Act)
สังเกตผลการปฏิบัติ
(Observe)
สะท้อนความคิด
(Reflect & Revise)
- 5 -
วิจัยในชั้นเรียนทาอย่างไร?
ในการทาวิจัยในชั้นเรียน ครูผู้สอนจะต้องลงมือทาทันทีเมื่อทราบปัญหา หรือต้องการ
พัฒนาผู้เรียนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยลงมือดาเนินการตามขั้นตอนที่แนะนาไว้ทีละขั้นตอน
จนครบ 7 ขั้นตอน ซึ่งมีหลักสาคัญในการจัดทาดังนี้
1. ศึกษาปัญหา
การศึกษาปัญหาเป็นขั้นตอนที่ครูผู้สอนต้องศึกษาว่า มีสิ่งใดเกิดขึ้นในการจัดการ
เรียนรู้ สิ่งที่ศึกษาได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมหรือความประพฤติ และบุคลิกภาพของ
ผู้เรียน เป็นการศึกษาเพื่อหาสภาพปัญหาหรือจุดที่ต้องพัฒนา โดยข้อมูลที่ศึกษาควรหาจากแหล่งที่
หลากหลาย ทั้งแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร และประเภทบุคคลเมื่อได้ข้อมูลแล้ว จากนั้นจึงรวบรวมให้
เป็นหมวดหมู่
2. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ทราบว่า อะไรคือ
สาเหตุที่แท้จริงและเป็นเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา เป็นการช่วยให้ครูผู้สอนสามารถแก้ปัญหาและ
พัฒนาการเรียนการสอนได้ตรงจุด ได้ผลดี ซึ่งการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สามารถทาได้
หลายวิธี เช่น การวิเคราะห์โดยใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone)
ใช้ตารางวิเคราะห์และการใช้คาถาม เป็นต้น ดังตัวอย่างที่แนะนาไว้บางวิธี ต่อไปนี้
- 6 -
ตัวอย่างการใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
การใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) วิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
ดาเนินการได้ดังนี้
แบบทดสอบ
ขาดการ
วิเคราะห์
เครื่องมือ
ประเมิน
ไม่ดี
เน้น
การสอบ
ปรนัย
นักเรียนเขียน
เรียงความ
ไม่ได้
สื่อการ
เรียนรู้
ไม่ดี
ไม่จูงใจ
ผู้เรียน
ขาดความรู้
พื้นฐาน
สะกด
คาผิด
ไม่เข้าใจ
โครงสร้าง
ประโยค
กระบวน
การเรียนรู้
มีจุดอ่อน
ขาดการส่งเสริม
รายบุคคล
รายกลุ่ม
ไม่ทาโครงสร้าง
ก่อนเขียนเรียงความ
กิจกรรมการฝึกเขียน
มีน้อย
นักเรียน
แต่งกาย
ผิดระเบียบ
แต่งกายตามแบบดารา/คนดัง
(สาเหตุรอง)
นักเรียนไม่มีส่วนร่วมในการ
กาหนดกฎระเบียบ (สาเหตุรอง)
วิธีการดูแลกากับ
ไม่เหมาะสมกับวัยนักเรียน
(สาเหตุรอง)
ครูขาดหลักจิตวิทยา
ในการกากับดูแล
(สาเหตุรอง)
ครูและผู้เกี่ยวข้อง
ไม่เห็นความสาคัญ
(สาเหตุรอง)
- 7 -
ชั้นแรก เริ่มจากเขียนปัญหาไว้กลางหน้ากระดาษ จากนั้นจึงวิเคราะห์หาสาเหตุหลัก
ของปัญหาทีละสาเหตุ แล้วจึงลากเส้นโยงจากปัญหาและเขียนสาเหตุที่วิเคราะห์ได้ไว้รอบ ๆ ปัญหา
โดยเขียนไว้เท่าที่วิเคราะห์ได้ ในหนึ่งปัญหาอาจมีสาเหตุหลักหลายสาเหตุก็ได้ อาจใช้วิธีระดมสมอง
ร่วมกับเพื่อนครูหรือทาเพียงลาพังก็ได้
ขั้นที่สอง พิจารณาสาเหตุหลักของปัญหาทีละประเด็น ว่ามีสาเหตุรองหรือย่อย ๆ
อะไรบ้าง จากนั้นจึงโยงเส้นเขียนสาเหตุรองให้เชื่อมต่อกับสาเหตุหลัก หนึ่งสาเหตุหลักอาจมีหลาย
สาเหตุรองก็ได้
ขั้นที่สาม เมื่อได้สาเหตุหลักและสาเหตุรองเพียงพอแล้ว จึงพิจารณาอีกครึ่งหนึ่งว่า
สาเหตุใดบ้างที่ส่งผลโดยตรงให้เกิดปัญหา และสาเหตุใดบ้างที่ส่งผลทางอ้อมไม่ใช่ประเด็นที่ก่อให้เกิด
ปัญหาโดยตรง แล้วเลือกประเด็นที่เป็นสาเหตุสาคัญที่ส่งผลโดยตรงต่อปัญหาทั้งสาเหตุหลักและ
สาเหตุรองบันทึกไว้เพื่อดาเนินการต่อไป
ตัวอย่างการใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone) วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
อิทธิพลจากสังคมที่มี
ค่านิยมที่ผิด (สาเหตุหลัก)
สังคมขาดตัวแบบ
หรือตัวอย่างที่ดี(สาเหตุรอง)
คิดว่าการผิดระเบียบ
เป็นเรื่องโก้เก๋ เด่นดัง
(สาเหตุรอง)
ไม่มีการ
มอบหมาย
หน้าที่ให้
ชัดเจน
(สาเหตุรอง)การกาหนดและรักษา
กฎระเบียบของโรงเรียน
ไม่เหมาะสม (สาเหตุหลัก)
การบริหารจัดการ
ของโรงเรียน
ไม่เป็นระบบ (สาเหตุหลัก)
- 8 -
การใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone) วิเคราะห์ปัญหา ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นแรก เริ่มจากวาดภาพก้างปลา โดยมีส่วนหัวทางขวามือ แล้วลากเส้น
ก้างแกนกลางและวาดหาง จากนั้นจึงเขียนประเด็นปัญหาไว้ในหัวปลา
ขั้นที่สอง เริ่มวิเคราะห์หาสาเหตุหลักของปัญหา เมื่อได้สาเหตุหลักแล้ว ให้เขียนไว้ที่
ปลายก้างย่อยที่วาดต่อจากด้านข้างของก้างแกนกลาง ถ้ามีสาเหตุหลักหลายประเด็น ให้ลากเส้น
ก้างย่อยจานวนเท่ากับสาเหตุที่วิเคราะห์ได้ ต่อเพิ่มทั้งด้านบนและด้านล่างของก้างแกนกลาง
ชั้นที่สาม พิจารณาสาเหตุหลักทีละสาเหตุว่า เกิดจากสาเหตุรองอะไรบ้างที่เป็น
สาเหตุเบื้องต้น แล้วเขียนสาเหตุรองไว้ปลายก้างฝอยที่ลากต่อจากด้านข้างของก้างย่อย ควรพิจารณา
สาเหตุหลักเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุรองให้ได้ครบทุกประเด็น
ขั้นที่สี่ พิจารณาทบทวน เพื่อเลือกสาเหตุที่ส่งผลโดยตรงต่อปัญหาทั้งสาเหตุหลัก
และสาเหตุรอง แล้วบันทึกไว้เพื่อดาเนินการต่อไป
3. หาวิธีแก้ปัญหา หรือหานวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหา
เมื่อทราบปัญหาแล้ว จึงกาหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา โดยเลือกวิธีที่มี
ความสอดคล้องกับปัญหา มั่นใจว่าจะช่วยแก้ปัญหาได้ดีที่สุด รวมทั้งมีความเป็นไปได้ที่จะ
ดาเนินการและมีความเหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ในการแก้ปัญหา
ส่วนมากควรมีการจัดทานวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา ซึ่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในที่นี้ หมายถึง
สิ่งใหม่ที่นามาใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลดีขึ้น อาจ
เป็นสิ่งที่มีผู้คิดค้นขึ้นมาก่อนแล้ว แต่เรานามาใช้ใหม่ หรือคิดขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ใหม่ก็ได้ นวัตกรรมที่นิยมพัฒนาขึ้น จาแนกตามหลักการด้านสื่อ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมทางการศึกษา และสามารถพัฒนาขึ้นใช้ได้ ได้แก่
3.1 สื่อประเภทวัสดุ (Software) เช่น หนังสือ แบบฝึก บัตรคา
ชุดการสอน ภาพเคลื่อนไหว บทเรียนคอมพิวเตอร์ เทปเพลง ซีดีเพลง แผ่นวีซีดี เป็นต้น
3.2 สื่อประเภทอุปกรณ์ (Hardware) เช่น เครื่องเล่นเทป เครื่องเล่น VCD
DVD คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
3.2 สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) เช่น
การใช้เกม เพลง นิทาน เทคนิควิธีจัดการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ
- 9 -
4. การพัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการพัฒนา
การพัฒนานวัตกรรม ควรมีการกาหนดขอบข่ายและโครงสร้างของนวัตกรรม
ให้ชัดเจน ระบุว่าใครเป็นผู้ใช้นวัตกรรม รวมทั้งกาหนดลักษณะของนวัตกรรมว่า ควรประกอบด้วย
อะไรบ้าง และลงมือจัดทานวัตกรรมแต่ละชนิดให้ครบตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ จากนั้นจึงนาไป
ทดลองใช้และหาประสิทธิภาพ สาหรับการหาประสิทธิภาพในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน เนื่องจาก
ต้องแก้ปัญหาระหว่างปฏิบัติงานให้ทันท่วงที จึงควรหาประสิทธิภาพเบื้องต้น ได้แก่ การให้ผู้เชี่ยวชาญ
หรือผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ โดยตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ จากนั้นจึงนามาปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนา และนาไปใช้ในการแก้ปัญหา
หรือพัฒนาผู้เรียนตามแผนที่กาหนดไว้
ในการประสิทธิภาพนี้ ถ้าครูผู้ทาวิจัยในชั้นเรียนต้องการให้นวัตกรรมที่
สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น อาจนาไปหาประสิทธิภาพเพิ่มเติม ก็สามารถทาได้ ::
ซึ่งมีหลายวิธี
5. จัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรม
การจัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรมนี้เป็นการนานวัตกรรมที่พัฒนา
ขึ้นไปใช้จริงในการแก้ปัญหาผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ และวิธีการที่กาหนดไว้ โดยต้องมีการเตรียม
ให้พร้อมและปฏิบัติให้ครบถ้วนตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ทุกขั้น
6. เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นการเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมือที่จัดทาและหาคุณภาพไว้ โดยต้องเก็บ
ข้อมูลให้ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูล การทาวิจัยในชั้นเรียนไม่
จาเป็นต้องใช้สถิติที่ยากและซับซ้อน การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนที่ดี ครูผู้สอนเพียงแค่วิเคราะห์
และ นาเสนอข้อมูล สะท้อนให้เห็นคุณภาพของผู้เรียนที่พัฒนาขึ้นว่าได้ผลตามวัตถุประสงค์ หรือ
สมมติฐานที่วางไว้ได้ชัดเจนเพียงใด ก็เพียงพอแล้ว สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น ถ้าเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพควรใช้วิธีการจัด
กลุ่มของ ข้อความที่ได้จากการบันทึก และนาเสนอให้เห็นประเด็นสาคัญ เห็นความสัมพันธ์ของ
ประเด็นหรือคาสาคัญ เป็นต้น
ในการวิเคราะห์ข้อมูล จะด้วยวิธีใดหรือใช้สถิติใดก็ตาม ช่วยให้ทราบว่า
คาตอบของคาถามวิจัยคืออะไร เมื่อได้คาตอบแล้ว ควรแปลผลหรือแปลความหมายจากข้อมูลที่
วิเคราะห์ไว้ว่า ผลที่ได้หรือสิ่งทีเกิดขึ้นนั้นมีอะไรบ้าง
- 10 -
7. สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิดและรายงานผล
การสรุปผล ควรสรุปให้ชัดเจนว่า งานวิจัยบรรลุตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่
อย่างไร เป็นการยืนยันว่าสามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตามต้องการหรือไม่ โดยการสรุป ควร
ใช้ข้อความที่กระชับ ตรงประเด็น นอกจากนี้ควรมีการตรวจสอบ เพื่อจะได้มั่นใจว่า งานวิจัยถูกต้อง
น่าเชื่อถือหรือไม่ โดยพิจารณาที่วิธีการเก็บข้อมูล ว่าเก็บได้ครบถ้วน ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่
พิจารณาว่าผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือหรือไม่ และระยะเวลาการเก็บข้อมูล เพียงพอ
เหมาะสมเพียงใด
นอกจากนี้ให้มีการสะท้อนความคิด โดยให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เพื่อนครู
ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน เป็นต้น เพื่อให้ความคิดหรือวิจารณ์เชิงบวก ให้ข้อสังเกตและแนวคิด
ที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข ให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น
ส่วนสุดท้ายคือการรายงานผล ในการรายงานผลวิจัยในชั้นเรียน
สามารถทาได้ 2 วิธีคือ
7.1 การเขียนรายงานตามแบบแผนการวิจัย โดยใช้รูปแบบที่มีมาตรฐาน
ซึ่งวิธีนี้เหมาะสาหรับวิจัยทางการศึกษา หากครูผู้ทาวิจัยในชั้นเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านการวิจัย
เป็นอย่างดีก็สามารถทาได้ ช่วยให้ได้รายงานการวิจัยที่สมบูรณ์
7.2 การเขียนรายงานตามรูปแบบของผู้วิจัย หรือการเขียนแบบย่อ วิธีนี้
เหมาะสาหรับการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งวิธีการรายงาน ควรนาเสนอสั้น ๆ ไปยึดรูปแบบ
ตายตัว แต่ต้องมีสาระครบถ้วน โดยเขียนเป็นความเรียงแยกเป็นย่อหน้าหรือนาเสนอตรงประเด็น
สาคัญเป็นข้อ ๆ ก็ได้ ตัวอย่างประเด็นสาคัญ เช่น ความสาคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์ของ
การวิจัย แนวคิดหลักที่ใช้แก้ปัญหา วิธีดาเนินการ ผลการวิจัยและสรุปผล การสะท้อนผล โดยแต่ละ
หัวข้อสรุปสั้น ๆ ให้เข้าใจ
ในการเขียนรายงานการวิจัย ตามรูปแบบของผู้วิจัยหรือแบบย่อนี้ ผู้วิจัย
สามารถนาเสนอข้อมูลผลการวิจัยในรูปของตารางหรือกราฟเพิ่มเติม จากการเขียนบรรยายสรุปก็ได้
จะช่วยให้น่าสนใจ และผลที่ได้จะน่าเชื่อถือมากขึ้น แต่ควรนาเสนอเฉพาะส่วนสาคัญเท่านั้น
จานวนหน้าของรายงานไม่ควรมากเกินไป ปัจจุบันไม่มีกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ไว้ว่าจานวนกี่หน้า เท่าที่
ปฏิบัติกันโดยทั่วไปมีตั้งแต่ 1 – 8 หน้า
- 11 -
จากที่กล่าวไว้ข้างต้น เป็นเพียงสาระสาคัญของการทาวิจัยในชั้นเรียนที่
สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานตามขั้นตอนการทาวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งดาเนินการตามแนวทางของการทา
วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) คงจะช่วยให้สามารถเห็นภาพการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนได้ตลอด
แนว ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ยาก อย่างไรก็ตาม ถ้าจะทาวิจัยในชั้นเรียนให้สาเร็จ ผู้วิจัยจะต้องมีความมุ่งมั่น
เสียสละ ศึกษาเพิ่มเติมให้ชัดเจน มีการวางแผนล่วงหน้า ลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งคงไม่ยุ่งยาก
จนเกินความสามารถของเพื่อนครูที่จะดาเนินการ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในอนาคต คงมีผู้ทาวิจัยใน
ชั้นเรียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลทีได้ก็คือ ปัญหาของผู้เรียนจะลดลงและสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ดี
ยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ตลอดไป
หนังสืออ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
Carr, W. and Kemmis, S. (1986) Becoming Critical : Education, Knowledge and Action
Research. Basingstoke :Falmer Press.

More Related Content

What's hot

เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)sopa sangsuy
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
บริหารงานการจัดการเรียนรู้
บริหารงานการจัดการเรียนรู้บริหารงานการจัดการเรียนรู้
บริหารงานการจัดการเรียนรู้tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (20)

Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
006ชุดการเรียนรู้ชุดที่6(1)
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
บริหารงานการจัดการเรียนรู้
บริหารงานการจัดการเรียนรู้บริหารงานการจัดการเรียนรู้
บริหารงานการจัดการเรียนรู้
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 

วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

  • 1. วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ โดย มาโนช จันทร์แจ่ม ศึกษานิเทศก์ คศ.3 สพท.รบ.1 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ทาไมต้องทาวิจัยในขั้นเรียน ? นับตั้งแต่ประเทศไทยได้ดาเนินการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยตรา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ขึ้น นับเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ครูผู้สอนได้ ปรับตัวในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มากขึ้น โดยเห็นความสาคัญของการวิจัยว่า เป็นเครื่องมือสาคัญในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียน การสอน ดังมาตราที่ 30 ที่ว่า “..ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา...” (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2542:14,16) จากการ ที่มีการกาหนดให้ใช้วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ไว้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แสดงให้เห็นว่า วิจัย เป็นกระบวนการสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ ครูผู้สอนจะต้องสนใจ พัฒนาตนเองให้เป็นนักวิจัย สามารถทาวิจัยควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการ สอน เป็นวิจัยระหว่างปฏิบัติงานที่ใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ครูผู้สอน และนักเรียนหลายประการ เช่น ช่วยลดปัญหาในชั้นเรียนได้ดีและทันท่วงที นักเรียนได้รับ การ ช่วยเหลือ ให้มีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้านเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ครูผู้สอนเกิด ความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในชั้นเรียนอย่างเหมาะสม สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่าง เป็นระบบ ประสบผลสาเร็จตามเป้ าหมาย ผลที่ได้เป็นที่น่าเชื่อถือ และเกิดความมั่นใจในการทางาน ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าวในปัจจุบัน ครูผู้สอนทุกคนจึงควรจะต้องทาวิจัยในชั้นเรียน วิจัยในขั้นเรียนเป็นอย่างไร ? วิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่ทาโดยครูผู้สอนในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ เกิดขึ้นในชั้นเรียนเป็นครั้ง ๆ ไป เป็นวิจัยที่ต้องทาอย่างรวดเร็ว และนาผลมาใช้ปรับปรุงการเรียน การสอนทันที เป็นการหาความรู้หรือวิธีการใหม่ ๆ รวมทั้งประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่มาใช้แก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยมีการใช้กระบวนการในการแก้ปัญหาและดาเนินการอย่างเป็นระบบ ผลการวิจัยจะใช้ได้เฉพาะกลุ่มที่ทาการศึกษา และมีการสะท้อนข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของตนเอง การวิจัยในชั้นเรียนจะยืดหยุ่น เหมาะสมกับภารกิจการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีลักษณะเดียวกับ วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิจัยประยุกต์ ในปัจจุบันมีการเรียกวิจัย ในชั้นเรียนแตกต่างกันไป เช่น วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยอย่างง่ายและ วิจัยหน้าเดียว เป็นต้น
  • 2. - 2 - วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเป็นแนวทางหลักในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน มีขั้นตอนสาคัญตามแนวคิดของ คาร์ และเคมมิส (Carr and Kemmis.1986:3) ดังนี้ ขั้นที่ 1 วางแผน (Plan) ขั้นที่ 2 ปฏิบัติ (Act) ขั้นที่ 3 สังเกต (Observe) ขั้นที่ 4 สะท้อนความคิด (Reflect) ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นของวิจัยปฏิบัติการจะเชื่อมโยงต่อเนื่องกันเป็นกระบวนการ ในการ นามาปฏิบัติจริง จะมีการดาเนินงานต่อเนื่องกันหลาย ๆ รอบ หรือหลาย ๆ วงจร ดังแผนภูมิ แผนภูมิแสดงกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการของคาร์ และเคมมิส (Carr and Kemmis) จากภาพแสดงให้เห็นขั้นตอนของ การวิจัยปฏิบัติการทั้ง 4 ขั้น ที่ปฏิบัติต่อเนื่องกัน เมื่อดาเนินการครบทั้ง 4 ขั้นแล้ว ถ้าหากยังพบจุดอ่อน หรือผลที่ได้ยังไม่น่าพอใจ ก็สามารถปรับปรุง แผนปฏิบัติ และดาเนินการต่อเนื่องเป็นวงจรที่ 2 และถ้าหากยังมีข้อบกพร่องอยู่อีก ก็สามารถปรับปรุง แผนและปฏิบัติได้อีกเป็นวงจรที่ 3 และต่อเนื่องได้หลายวงจร จนกว่าจะได้ผลเป็นที่น่าพอใจ วางแผน (Plan) สะท้อนความคิด (REFLECT) ปฏิบัติ (ACT) สังเกต (OBSERVE) ปรับแผน (REVISED PLAN) สะท้อนความคิด (REFLECT) ปฏิบัติ (ACT) สังเกต (OBSERVE) วงจรที่ 3 (CYCLE 3) วงจรที่ 1 (CYCLE 1) วงจรที่ 2 (CYCLE 2)
  • 3. - 3 - จากกระบวนการวิจัยปฏิบัติการทั้ง 4 ขั้นตอน ได้มีการนามากาหนดเป็นขั้นย่อย ๆ ขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวก ชัดเจนในการทาวิจัยในชั้นเรียน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาปัญหา ขั้นที่ 2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ขั้นที่ 3 หาวิธีแก้ปัญหาหรือนวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหา ขั้นที่ 4 พัฒนานวัตกรรม วิธีการแก้ปัญหา หรือวิธีการพัฒนา ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรม ขั้นที่ 6 เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นที่ 7 สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิดและรายงานผล ในการกาหนดเป็นขั้นตอนการทาวิจัยในชั้นเรียนจะเห็นได้ว่าทั้งสองส่วนคือ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน และกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จะมีความสอดคล้องกันดังแผนภูมิ
  • 4. - 4 - แผนภูมิแสดงความสอดคล้องของการวิจัยในชั้นเรียนกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ 1. ศึกษาปัญหา 2. หาสาเหตุของปัญหา 3. หาวิธีแก้ปัญหา 7. สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิด ปรับปรุงและรายงานผล 5. จัดกิจกรรมแก้ปัญหา หรือใช้นวัตกรรม 6. เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 4.พัฒนานวัตกรรมและ วิธีการแก้ปัญหา วางแผน (Plan) ปฏิบัติตามแผน (Act) สังเกตผลการปฏิบัติ (Observe) สะท้อนความคิด (Reflect & Revise)
  • 5. - 5 - วิจัยในชั้นเรียนทาอย่างไร? ในการทาวิจัยในชั้นเรียน ครูผู้สอนจะต้องลงมือทาทันทีเมื่อทราบปัญหา หรือต้องการ พัฒนาผู้เรียนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยลงมือดาเนินการตามขั้นตอนที่แนะนาไว้ทีละขั้นตอน จนครบ 7 ขั้นตอน ซึ่งมีหลักสาคัญในการจัดทาดังนี้ 1. ศึกษาปัญหา การศึกษาปัญหาเป็นขั้นตอนที่ครูผู้สอนต้องศึกษาว่า มีสิ่งใดเกิดขึ้นในการจัดการ เรียนรู้ สิ่งที่ศึกษาได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมหรือความประพฤติ และบุคลิกภาพของ ผู้เรียน เป็นการศึกษาเพื่อหาสภาพปัญหาหรือจุดที่ต้องพัฒนา โดยข้อมูลที่ศึกษาควรหาจากแหล่งที่ หลากหลาย ทั้งแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร และประเภทบุคคลเมื่อได้ข้อมูลแล้ว จากนั้นจึงรวบรวมให้ เป็นหมวดหมู่ 2. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ทราบว่า อะไรคือ สาเหตุที่แท้จริงและเป็นเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา เป็นการช่วยให้ครูผู้สอนสามารถแก้ปัญหาและ พัฒนาการเรียนการสอนได้ตรงจุด ได้ผลดี ซึ่งการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สามารถทาได้ หลายวิธี เช่น การวิเคราะห์โดยใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone) ใช้ตารางวิเคราะห์และการใช้คาถาม เป็นต้น ดังตัวอย่างที่แนะนาไว้บางวิธี ต่อไปนี้
  • 6. - 6 - ตัวอย่างการใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา การใช้ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) วิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา ดาเนินการได้ดังนี้ แบบทดสอบ ขาดการ วิเคราะห์ เครื่องมือ ประเมิน ไม่ดี เน้น การสอบ ปรนัย นักเรียนเขียน เรียงความ ไม่ได้ สื่อการ เรียนรู้ ไม่ดี ไม่จูงใจ ผู้เรียน ขาดความรู้ พื้นฐาน สะกด คาผิด ไม่เข้าใจ โครงสร้าง ประโยค กระบวน การเรียนรู้ มีจุดอ่อน ขาดการส่งเสริม รายบุคคล รายกลุ่ม ไม่ทาโครงสร้าง ก่อนเขียนเรียงความ กิจกรรมการฝึกเขียน มีน้อย
  • 7. นักเรียน แต่งกาย ผิดระเบียบ แต่งกายตามแบบดารา/คนดัง (สาเหตุรอง) นักเรียนไม่มีส่วนร่วมในการ กาหนดกฎระเบียบ (สาเหตุรอง) วิธีการดูแลกากับ ไม่เหมาะสมกับวัยนักเรียน (สาเหตุรอง) ครูขาดหลักจิตวิทยา ในการกากับดูแล (สาเหตุรอง) ครูและผู้เกี่ยวข้อง ไม่เห็นความสาคัญ (สาเหตุรอง) - 7 - ชั้นแรก เริ่มจากเขียนปัญหาไว้กลางหน้ากระดาษ จากนั้นจึงวิเคราะห์หาสาเหตุหลัก ของปัญหาทีละสาเหตุ แล้วจึงลากเส้นโยงจากปัญหาและเขียนสาเหตุที่วิเคราะห์ได้ไว้รอบ ๆ ปัญหา โดยเขียนไว้เท่าที่วิเคราะห์ได้ ในหนึ่งปัญหาอาจมีสาเหตุหลักหลายสาเหตุก็ได้ อาจใช้วิธีระดมสมอง ร่วมกับเพื่อนครูหรือทาเพียงลาพังก็ได้ ขั้นที่สอง พิจารณาสาเหตุหลักของปัญหาทีละประเด็น ว่ามีสาเหตุรองหรือย่อย ๆ อะไรบ้าง จากนั้นจึงโยงเส้นเขียนสาเหตุรองให้เชื่อมต่อกับสาเหตุหลัก หนึ่งสาเหตุหลักอาจมีหลาย สาเหตุรองก็ได้ ขั้นที่สาม เมื่อได้สาเหตุหลักและสาเหตุรองเพียงพอแล้ว จึงพิจารณาอีกครึ่งหนึ่งว่า สาเหตุใดบ้างที่ส่งผลโดยตรงให้เกิดปัญหา และสาเหตุใดบ้างที่ส่งผลทางอ้อมไม่ใช่ประเด็นที่ก่อให้เกิด ปัญหาโดยตรง แล้วเลือกประเด็นที่เป็นสาเหตุสาคัญที่ส่งผลโดยตรงต่อปัญหาทั้งสาเหตุหลักและ สาเหตุรองบันทึกไว้เพื่อดาเนินการต่อไป ตัวอย่างการใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone) วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา อิทธิพลจากสังคมที่มี ค่านิยมที่ผิด (สาเหตุหลัก) สังคมขาดตัวแบบ หรือตัวอย่างที่ดี(สาเหตุรอง) คิดว่าการผิดระเบียบ เป็นเรื่องโก้เก๋ เด่นดัง (สาเหตุรอง) ไม่มีการ มอบหมาย หน้าที่ให้ ชัดเจน (สาเหตุรอง)การกาหนดและรักษา กฎระเบียบของโรงเรียน ไม่เหมาะสม (สาเหตุหลัก) การบริหารจัดการ ของโรงเรียน ไม่เป็นระบบ (สาเหตุหลัก)
  • 8. - 8 - การใช้แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone) วิเคราะห์ปัญหา ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ ขั้นแรก เริ่มจากวาดภาพก้างปลา โดยมีส่วนหัวทางขวามือ แล้วลากเส้น ก้างแกนกลางและวาดหาง จากนั้นจึงเขียนประเด็นปัญหาไว้ในหัวปลา ขั้นที่สอง เริ่มวิเคราะห์หาสาเหตุหลักของปัญหา เมื่อได้สาเหตุหลักแล้ว ให้เขียนไว้ที่ ปลายก้างย่อยที่วาดต่อจากด้านข้างของก้างแกนกลาง ถ้ามีสาเหตุหลักหลายประเด็น ให้ลากเส้น ก้างย่อยจานวนเท่ากับสาเหตุที่วิเคราะห์ได้ ต่อเพิ่มทั้งด้านบนและด้านล่างของก้างแกนกลาง ชั้นที่สาม พิจารณาสาเหตุหลักทีละสาเหตุว่า เกิดจากสาเหตุรองอะไรบ้างที่เป็น สาเหตุเบื้องต้น แล้วเขียนสาเหตุรองไว้ปลายก้างฝอยที่ลากต่อจากด้านข้างของก้างย่อย ควรพิจารณา สาเหตุหลักเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุรองให้ได้ครบทุกประเด็น ขั้นที่สี่ พิจารณาทบทวน เพื่อเลือกสาเหตุที่ส่งผลโดยตรงต่อปัญหาทั้งสาเหตุหลัก และสาเหตุรอง แล้วบันทึกไว้เพื่อดาเนินการต่อไป 3. หาวิธีแก้ปัญหา หรือหานวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหา เมื่อทราบปัญหาแล้ว จึงกาหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา โดยเลือกวิธีที่มี ความสอดคล้องกับปัญหา มั่นใจว่าจะช่วยแก้ปัญหาได้ดีที่สุด รวมทั้งมีความเป็นไปได้ที่จะ ดาเนินการและมีความเหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ในการแก้ปัญหา ส่วนมากควรมีการจัดทานวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา ซึ่งนวัตกรรมการเรียนรู้ในที่นี้ หมายถึง สิ่งใหม่ที่นามาใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลดีขึ้น อาจ เป็นสิ่งที่มีผู้คิดค้นขึ้นมาก่อนแล้ว แต่เรานามาใช้ใหม่ หรือคิดขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ใหม่ก็ได้ นวัตกรรมที่นิยมพัฒนาขึ้น จาแนกตามหลักการด้านสื่อ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทางการศึกษา และสามารถพัฒนาขึ้นใช้ได้ ได้แก่ 3.1 สื่อประเภทวัสดุ (Software) เช่น หนังสือ แบบฝึก บัตรคา ชุดการสอน ภาพเคลื่อนไหว บทเรียนคอมพิวเตอร์ เทปเพลง ซีดีเพลง แผ่นวีซีดี เป็นต้น 3.2 สื่อประเภทอุปกรณ์ (Hardware) เช่น เครื่องเล่นเทป เครื่องเล่น VCD DVD คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 3.2 สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) เช่น การใช้เกม เพลง นิทาน เทคนิควิธีจัดการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ
  • 9. - 9 - 4. การพัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการพัฒนา การพัฒนานวัตกรรม ควรมีการกาหนดขอบข่ายและโครงสร้างของนวัตกรรม ให้ชัดเจน ระบุว่าใครเป็นผู้ใช้นวัตกรรม รวมทั้งกาหนดลักษณะของนวัตกรรมว่า ควรประกอบด้วย อะไรบ้าง และลงมือจัดทานวัตกรรมแต่ละชนิดให้ครบตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ จากนั้นจึงนาไป ทดลองใช้และหาประสิทธิภาพ สาหรับการหาประสิทธิภาพในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน เนื่องจาก ต้องแก้ปัญหาระหว่างปฏิบัติงานให้ทันท่วงที จึงควรหาประสิทธิภาพเบื้องต้น ได้แก่ การให้ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ โดยตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความสอดคล้องกับ จุดประสงค์ จากนั้นจึงนามาปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนา และนาไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาผู้เรียนตามแผนที่กาหนดไว้ ในการประสิทธิภาพนี้ ถ้าครูผู้ทาวิจัยในชั้นเรียนต้องการให้นวัตกรรมที่ สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น อาจนาไปหาประสิทธิภาพเพิ่มเติม ก็สามารถทาได้ :: ซึ่งมีหลายวิธี 5. จัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรม การจัดกิจกรรมแก้ปัญหาหรือใช้นวัตกรรมนี้เป็นการนานวัตกรรมที่พัฒนา ขึ้นไปใช้จริงในการแก้ปัญหาผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ และวิธีการที่กาหนดไว้ โดยต้องมีการเตรียม ให้พร้อมและปฏิบัติให้ครบถ้วนตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ทุกขั้น 6. เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมือที่จัดทาและหาคุณภาพไว้ โดยต้องเก็บ ข้อมูลให้ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูล การทาวิจัยในชั้นเรียนไม่ จาเป็นต้องใช้สถิติที่ยากและซับซ้อน การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนที่ดี ครูผู้สอนเพียงแค่วิเคราะห์ และ นาเสนอข้อมูล สะท้อนให้เห็นคุณภาพของผู้เรียนที่พัฒนาขึ้นว่าได้ผลตามวัตถุประสงค์ หรือ สมมติฐานที่วางไว้ได้ชัดเจนเพียงใด ก็เพียงพอแล้ว สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น ถ้าเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพควรใช้วิธีการจัด กลุ่มของ ข้อความที่ได้จากการบันทึก และนาเสนอให้เห็นประเด็นสาคัญ เห็นความสัมพันธ์ของ ประเด็นหรือคาสาคัญ เป็นต้น ในการวิเคราะห์ข้อมูล จะด้วยวิธีใดหรือใช้สถิติใดก็ตาม ช่วยให้ทราบว่า คาตอบของคาถามวิจัยคืออะไร เมื่อได้คาตอบแล้ว ควรแปลผลหรือแปลความหมายจากข้อมูลที่ วิเคราะห์ไว้ว่า ผลที่ได้หรือสิ่งทีเกิดขึ้นนั้นมีอะไรบ้าง
  • 10. - 10 - 7. สรุปผล ตรวจสอบ สะท้อนความคิดและรายงานผล การสรุปผล ควรสรุปให้ชัดเจนว่า งานวิจัยบรรลุตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ อย่างไร เป็นการยืนยันว่าสามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตามต้องการหรือไม่ โดยการสรุป ควร ใช้ข้อความที่กระชับ ตรงประเด็น นอกจากนี้ควรมีการตรวจสอบ เพื่อจะได้มั่นใจว่า งานวิจัยถูกต้อง น่าเชื่อถือหรือไม่ โดยพิจารณาที่วิธีการเก็บข้อมูล ว่าเก็บได้ครบถ้วน ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ พิจารณาว่าผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือหรือไม่ และระยะเวลาการเก็บข้อมูล เพียงพอ เหมาะสมเพียงใด นอกจากนี้ให้มีการสะท้อนความคิด โดยให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เพื่อนครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน เป็นต้น เพื่อให้ความคิดหรือวิจารณ์เชิงบวก ให้ข้อสังเกตและแนวคิด ที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข ให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น ส่วนสุดท้ายคือการรายงานผล ในการรายงานผลวิจัยในชั้นเรียน สามารถทาได้ 2 วิธีคือ 7.1 การเขียนรายงานตามแบบแผนการวิจัย โดยใช้รูปแบบที่มีมาตรฐาน ซึ่งวิธีนี้เหมาะสาหรับวิจัยทางการศึกษา หากครูผู้ทาวิจัยในชั้นเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านการวิจัย เป็นอย่างดีก็สามารถทาได้ ช่วยให้ได้รายงานการวิจัยที่สมบูรณ์ 7.2 การเขียนรายงานตามรูปแบบของผู้วิจัย หรือการเขียนแบบย่อ วิธีนี้ เหมาะสาหรับการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งวิธีการรายงาน ควรนาเสนอสั้น ๆ ไปยึดรูปแบบ ตายตัว แต่ต้องมีสาระครบถ้วน โดยเขียนเป็นความเรียงแยกเป็นย่อหน้าหรือนาเสนอตรงประเด็น สาคัญเป็นข้อ ๆ ก็ได้ ตัวอย่างประเด็นสาคัญ เช่น ความสาคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์ของ การวิจัย แนวคิดหลักที่ใช้แก้ปัญหา วิธีดาเนินการ ผลการวิจัยและสรุปผล การสะท้อนผล โดยแต่ละ หัวข้อสรุปสั้น ๆ ให้เข้าใจ ในการเขียนรายงานการวิจัย ตามรูปแบบของผู้วิจัยหรือแบบย่อนี้ ผู้วิจัย สามารถนาเสนอข้อมูลผลการวิจัยในรูปของตารางหรือกราฟเพิ่มเติม จากการเขียนบรรยายสรุปก็ได้ จะช่วยให้น่าสนใจ และผลที่ได้จะน่าเชื่อถือมากขึ้น แต่ควรนาเสนอเฉพาะส่วนสาคัญเท่านั้น จานวนหน้าของรายงานไม่ควรมากเกินไป ปัจจุบันไม่มีกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ไว้ว่าจานวนกี่หน้า เท่าที่ ปฏิบัติกันโดยทั่วไปมีตั้งแต่ 1 – 8 หน้า
  • 11. - 11 - จากที่กล่าวไว้ข้างต้น เป็นเพียงสาระสาคัญของการทาวิจัยในชั้นเรียนที่ สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานตามขั้นตอนการทาวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งดาเนินการตามแนวทางของการทา วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) คงจะช่วยให้สามารถเห็นภาพการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนได้ตลอด แนว ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ยาก อย่างไรก็ตาม ถ้าจะทาวิจัยในชั้นเรียนให้สาเร็จ ผู้วิจัยจะต้องมีความมุ่งมั่น เสียสละ ศึกษาเพิ่มเติมให้ชัดเจน มีการวางแผนล่วงหน้า ลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งคงไม่ยุ่งยาก จนเกินความสามารถของเพื่อนครูที่จะดาเนินการ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในอนาคต คงมีผู้ทาวิจัยใน ชั้นเรียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลทีได้ก็คือ ปัญหาของผู้เรียนจะลดลงและสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ดี ยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ตลอดไป หนังสืออ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. Carr, W. and Kemmis, S. (1986) Becoming Critical : Education, Knowledge and Action Research. Basingstoke :Falmer Press.