SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู หนาที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดย ครูบานนาขาโคก
                            แผนการจัดการเรียนรู ที่ 1
รายวิชา สังคมศึกษา                        หนวยการเรียนรูที่ 2    ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
เรื่อง พลเมืองดีของสังคม                 หนาที่พลเมือง ศีลธรรม        เวลา 6 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
                พลเมืองดีหมายถึงคนที่มีคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมตามคานิยมในสังคม

2. ผลการเรียนที่คาดหวัง
        1. ตระหนักในคุณคาในการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
        2. ตระหนักถึงบทบาทหนาทีของพลเมืองดีในสังคม
                                  ่
3. จุดประสงคการเรียนรู
        1. บอกความหมายพลเมืองดีได
        2. ปฏิบัติตนตามคุณธรรมที่สงเสริมความเปนพลเมืองดีได
        3. อธิบายลักษณะประชาธิปไตยได
        4. วิเคราะหผลของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่ดีได

4. เนื้อหาสาระ
         1. การเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
         2. การเปนพลเมืองดีของสังคม

5. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 1-3
         1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
         2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู
         3. นักเรียนดูวดีทัศนเกี่ยวกับประชาธิปไตย
                       ี
         4. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ทํากิจกรรมในใบงานที่ 1 และ 2
         5. นักเรียนกลุมเดิม แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับลักษณะพลเมืองดีในระบอบ
            ประชาธิปไตย
         6. นักเรียนทําแผนผังความคิดเรื่อง การเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย
คาบที่ 4-6
         1. นักเรียนกลุมเดิม ศึกษาและทําใบงานที่ 3-4
         2. นักเรียนกลุมเดิมพลัดกันเลาประสบการณของตนเกี่ยวกับการเปนพลเมืองดี และนํา
            ความรูไปปฏิบัติตนในสังคม ครอบครัวอยางไรบาง จากนั้นสงตัวแทนออกมา
            นําเสนอหนาชั้น
         3. ครูและนักเรียนชวยกันเสนอความคิดวาการกระทําใดของนักเรียนสอดคลองหนาที่
            ของพลเมืองที่ดี
            - รับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
            - การประนีประนอม
            - การแกปญหาโดยเหตุผล
                         
            - การชวยเหลือซึ่งกันและกัน
         4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของสังคม นักเรียนชวยกัน
            ยกตัวอยาง การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามหัวขอตอไปนี้
            - การปฏิบัติตามระเบียบกฎขอบังคับของโรงเรียน
            - ความรับผิดชอบในหนาทีของตน  ่
            - ความเสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม
            - การเขารวมกิจกรรมของโรงเรียน
         5. ครูสนทนากับนักเรียนเกียวกับขาวที่เกิดขึ้นในชีวตประจําวัน นักเรียนรวมกัน
                                      ่                    ิ
            วิเคราะหวา เปนการกระทําที่เปนพลเมืองดีอยางไร มีผลดีตอประเทศชาติอยางไร
         6. นักเรียนแตละกลุมทําใบงานที่ 5 สงตัวแทนนําเสนอหนาชั้น
         7. นักเรียนชวยกันสรุปการเปนพลเมืองดี
         8. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

6. แหลงเรียนรู
        1. หัวขอจากหนังสือพิมพ
        2. ใบงานที่ 1-5
        3. หนังสือแบบเรียน
        4. แผนผังความคิด
7. กระบวนการวัดผลประเมินผล
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
8. กิจกรรมเสนอแนะ
        ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

9. บันทึกผลหลังสอน

   ผลการสอน
   ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
   ปญหา / อุปสรรค
   ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
   ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
   ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….



                           ลงชื่อ……………………….ผูสอน
                            (…………………………….)
ใบงานที่ 1

                 เรื่อง วิเคราะหพฤติกรรมการเปนพลเมืองดีของสังคม

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง ลักษณะพลเมืองดี ความยาวประมาณ 15-20 บรรทัด
ใบงานที่ 2
   คําชี้แจง ใหนกเรียนจัดกลุม กลุมละ 5-6 คน นําเรียงความเรื่อง ลักษณะพลเมืองที่ดีวิเคราะห
                 ั
             พฤติกรรมวา พลเมืองดีของแตละคนนันมีพฤติกรรมอยางไร แลงเขียนลงในแผนผัง
                                                 ้

                       คนที่ 1………………………………………..
                            ………………………………………….
                            …………………………………………




คนที่ 6………………………………………..                                 คนที่ 2…………………………………….
     ………………………………………….                                    …………………………………………
     ………………………………………….                                    …………………………………………



                                       พลเมืองดี
                                       ที่ตองการ

คนที่ 5………………………………………..                                 คนที่ 3…………………………………….
     ………………………………………….                                    …………………………………………
     ………………………………………….                                    …………………………………………



                       คนที่ 4………………………………………..
                            ………………………………………….
                            …………………………………………

2. จากลักษณะพฤติกรรมของคนดีในขอ 1 นักเรียนไดนําพฤติกรรมใดมาปฏิบัติบาง
        1)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
        2)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
        3)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
        4)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
        5)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
ใบงานที่ 3
                           เรื่อง วิเคราะหคุณธรรมจริยธรรมของพลเมืองดี
      คําชี้แจง ใหนักเรียนรวมกันคิดและเขียนวิธีการปฏิบัติตนตามคุณธรรมของพลเมืองดี

 ที่ คุณธรรมจริยธรรม        การปฏิบัติตนในครอบครัว             การปฏิบัติตนในสังคม
1. ความซื่อสัตยสุจริต    1………………………………                     1………………………………
                          2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
2   ความรับผิดชอบ         1………………………………                     1………………………………
                          2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
3   ความเสียสละ           1………………………………                     1………………………………
                          2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
4   การตรงตอเวลา         1………………………………                     1………………………………
                          2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
5   ความมีระเบียบวินัย    1………………………………                     1………………………………
                          2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
6   ความกลาหาญทาง        1………………………………                     1………………………………
    จริยธรรม              2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
7   การยึดมันในหลักธรรม 1………………………………
            ่                                               1………………………………
    ทางศาสนา              2……………………………….                    2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
8   ความจงรักภักดีตอชาติ 1………………………………                     1………………………………
    ศาสนา พระมหากษัตริย 2……………………………….                     2……………………………….
                          3.………………………………                    3.………………………………
ใบงานที่ 4

สรุปผลจากการปฏิบัติตนในครอบครัว

      1. ผลดีตอตนเอง
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
      2. ผลดีตอสังคม
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………

สรุปผลจากการปฏิบัติตนในสังคม
       2. ผลดีตอตนเอง
           …………………………………………………………………………………………
           …………………………………………………………………………………………
           …………………………………………………………………………………………
       2. ผลดีตอสังคม
           …………………………………………………………………………………………
           …………………………………………………………………………………………
           …………………………………………………………………………………………
ใบงานที่ 5
                      เรื่อง ความรูเกี่ยวกับการเปนพลเมืองดีของสังคม

คําชี้แจง ใหนักเรียนคนควาหาความหมายและยกตัวอยางประกอบคําตอไปนี้

   การเปนพลเมืองดี           ความหมาย                             ตังอยาง
1. สถานภาพ               ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
2. บทบาท                 ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
3. สิทธิ                 ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
4. เสรีภาพ               ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
5. หนาที่               ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
                         ……………………………………                       …………………………………
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
1. การปฏิบัติตามกฎหมาย ทําใหเกิดผลดี                  ก.   สิ่งที่ประเสริฐ
      อยางไร                                          ข.   สิ่งที่เปนคุณงามความดี
      ก. รายไดเพิ่มขึ้น                               ค.   สิ่งที่นําประโยชนมาสูผูปฏิบัติ
      ข. สังคมสงบสุข                                   ง.   สิ่งที่จะนําไปสูความสวางที่ปราศจาก
      ค. ไดรับยกยองชมเชย                                  ความรวมมือ
      ง. รับบาลมีความมั่นคง                        6. เมื่อไดเห็นคําวา คุณธรรม เราจะนึกถึง
2. ขอใดคือความหมายที่ถกตองของคําวา
                              ู                       สิ่งใดเปนอันดับแรก
      จริยะ                                           ก. กฎระเบียบของสังคม
      ก. กิริยาที่สงบเรียบรอย                        ข. คําสั่งสอนของศาสนา
      ข. กิริยาที่สมควรประพฤติ                        ค. ความเชื่อถือจากคนในสังคม
      ค. กิริยาที่มีความสัมพันธกับจิต                ง. สิงที่ชวยดับกิเลสในตัวมนุษย
                                                               ่
      ง. กิริยาที่เกิดขึนจากอารมณโดยตรง
                        ้                          7. มีผูชวนใหสมชายไปขายยาเสพติด ซึ่งครู
3. คําใดใชแทนความหมายของคําวา                       เคยสอนวาเปนสิ่งที่นําความหายนะมาสู
      จริยธรรม ได                                    ตนเอง และผูอื่น สมชายจึงปฏิเสธ และ
      ก. การศึกษาธรรม                                 ไมคบหากับผูนนอีกตอไป จากขอความ
                                                                          ั้
      ข. การเผยแผธรรม                                นี้แสดงวาคุณธรรมมีความสําคัญตอ
      ค. การประพฤติธรรม                               สมชายอยางไร
      ง. การสรรเสริญธรรม                              ก. ชวยใหเปนผูที่มีประสบการณในชีวต   ิ
4. เพราะเหตุใดคําวา จริยธรรม จึงมี                   ข. ชวยใหดําเนินชีวตอยางมีระเบียบวินย
                                                                               ิ                 ั
      ความหมายรวมไปถึงคานิยมในดานอื่นๆ              ค. ชวยใหเปนผูที่ไมเอารัดเอาเปรียบ
      ของสังคมดวย                                          ผูอื่น
      ก. คานิยมเปนตัวกําหนดพฤติกรรม                 ง. ชวยใหเปนผูมีสติสัมปชัญญะ
      ข. คานิยมเปนสิ่งที่สังคมใหการยอมรับ                ตลอดเวลา
      ค. คานิยมเปนสิ่งที่ใชกําหนดความดี         8. การที่จะกลาววา บุคคลมีคุณธรรม
          ของบุคคล                                    จริยธรรมนั้น ใชอะไรเปนเกณฑตัดสิน
      ง. คานิยมและจริยธรรม มีความหมาย                ก. หลักศาสนา
          เหมือนกัน                                   ข. การยอมรับของสังคม
5. ขอใด ไมใช ความหมายของคําวา                     ค. คนสวนมากในสังคมปฏิบัติ
      คุณธรรม                                         ง. เกณฑที่ผูปฏิบติกําหนดไว
                                                                             ั
9. คนที่ไมรับผิดชอบตอหนาทีจะเกิดผลเสีย
                             ่                 10. ถานักเรียนไมรับผิดชอบตอหนาที่ของ
   ในขอใดอยางชัดเจน                              ตนเองจะเปนอยางไร
   ก. เปนคนเกียจคราน                             ก. เรียนไมดี
   ข. ไมมีคนเคารพนับถือ                           ข. พอแมเสียใจ
   ค. ไมมีผูใดยกยองสรรเสริญ                     ค. เพื่อนๆ รังเกียจ
   ง. ผูรวมงานไมอยากรวมงานดวย                 ง. ถูกลงโทษ




                                         เฉลย
                                 แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

                                      ขอที่   เฉลย
                                        1        ข
                                        2        ข
                                        3        ค
                                        4        ค
                                        5        ง
                                        6        ค
                                        7        ง
                                        8        ค
                                        9        ง
                                       10        ง
แบบประเมินผลจากการทํากิจกรรมกลุม (นักเรียน)

ชื่อครูผูประเมิน....................................................................................................................................
กลุม ...........………..ชั้น………………วิชา…………………………………………………………
วันที่ทํากิจกรรม วัน………………………..….เดือน……………………………พ.ศ……………..

1. การทํากิจกรรมกลุม

     พฤติกรรมของตนเองตอการทํางาน                                            ดีมาก                  ดี              พอใช            ปรับปรุง
1. การมีสวนรวมในการทํางาน
2. การแสดงความคิดเห็น
3. ความเขาใจในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย
4. ความรับผิดชอบในการทํางาน

2. ผลของการทํากิจกรรมกลุม

      สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม                                     ดีมาก                  ดี              พอใช            ปรับปรุง
1. ความรูที่ไดรับในการทํากิจกรรม
2. ความพอใจในผลงานกลุม
3. อุปสรรคในการทํากิจกรรมกลุม




4. แนวทางแกไขปญหา
๕. สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม / ขอเสนอแนะ
แบบประเมินตนเองรายบุคคล


ชื่อ-สกุล……………………………………………………….………………ชั้น……………..เลขที่………

ชิ้นงานที่………เรื่อง…………………………………………………..………………………………………

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ตามความเปนจริง
1. ความพึงพอใจ
      มากที่สุด มาก             ปานกลาง            นอย      นอยที่สุด
2. ประโยชนที่ไดรับ
    มากที่สุด มาก               ปานกลาง            นอย     นอยที่สุด
3. การใชความสามารถของตนเอง
    มากที่สุด มาก               ปานกลาง            นอย     นอยที่สุด
4. จุดเดนจุดดอยของงาน
                      จุดเดน                จุดดอย            วิธีปรับปรุงแกไข
                                                              และการพัฒนาใหดีขน  ึ้




5. โดยภาพรวม ถามีคะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนใหคะแนนตนเอง……………คะแนน
   เหตุผล……………………………………………………………………………………..
   …………………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………………….
6. ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………………
   …………………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………………….

                                     ลงชื่อ………………………………ผูประเมิน
                                       วันที………เดือน………………..พ.ศ……..
                                            ่
บันทึกการรายงาน


รายงานเรื่อง………………………………………………………………………………………….
ผูรับผิดชอบ………………………………………………………………………………………….
            ………………………………………………………………………………………….
            ………………………………………………………………………………………….
วัน เดือน ป ……………………………….เวลา………….สถานที……………………………….
                                         ่
1. ขอมูลสาระจากรายงาน
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
2.คุณคาและประโยชนที่ไดรับ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
3. ขอเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

                             ลงชื่อ…………………………………ผูบันทึก
                               วันที……..เดือน………………..พ.ศ……..
                                    ่
แบบประเมินผลงานกลุม

ชื่อครูผูประเมิน……………………………………………………………………………………..
ประเมินกลุม……………………….เรื่อง…………………………………………………………..
รูปแบบผลงาน………………………………………วันที……เดือน…………………พ.ศ……….
                                   ่

คําชี้แจง ใหผูประเมินใสเครื่องหมาย / ลงในชองวางตามความเปนจริง
                4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควร
                                           ปรับปรุง
                 รายการ                 4 3 2 1                     ขอเสนอแนะ
              เนื้อหา
1.ความถูกตองของเนื้อหา
2. การลําดับความคิด
3. การสรุปความคิดเห็น
      รูปแบบการนําเสนอ
1. นาสนใจ
2. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
         การทํางานกลุม
1. การเตรียมตัว
2. การทํางานเปนระบบ
3. การมีสวนรวมของสมาชิก
4. ความภูมใจในผลงานของสมาชิก
           ิ
       เกณฑการประเมิน                      สรุปการประเมินผลงานกลุม
รอยละ 80 ขึ้นไป    ระดับ ดีมาก      …………………………………………………………….
รอยละ 70-79        ระดับ ดี         รวมไดคะแนน…………………………………………….
รอยละ 60-69        ระดับ พอใช      คิดเปนรอยละ……………………………………………..
ต่ํากวารอยละ 60   ระดับ ปรับปรุง   อยูในเกณฑ……………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู ที่ 2

รายวิชา สังคมศึกษา                         หนวยการเรียนรูที่ 2   ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
เรื่อง กฎระเบียบกฎหมาย                    หนาที่พลเมือง ศีลธรรม       เวลา 7 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
               กฎหมายเปนกฎเกณฑกติกาหรือมาตรฐานทีใชเปนแนวทางในการอยูรวมกันของ
                                                      ่
สมาชิกในสังคม เพื่อทําใหเกิดความสุขและความเปนระเบียบเรียบรอย ดังนั้นประชาชนจึงมี
ความรูความเขาใจ ในเรื่องของกฎหมายสําคัญของประเทศเพื่อที่จะไดปฏิบัติใหถูกตอง
      

2. ผลการเรียนที่คาดหวัง
       1. มีความรูเรื่องรัฐธรรมนูญ ความสําคัญ ความเปนมา หลักการ เจตนารมณ
            โครงสรางและสาระสําคัญ
       2. มีความรูเขาใจกฎหมายที่เกียวของ
                                     ่
       3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
                    

3. จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายความสําคัญ ความเปนมามา หลักการ เจตนารมณ โครงสรางและสาระสําคัญ
           ของรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 ได
        2. วิเคราะหโครงสรางรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 ได
        3. นําสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญมาใชในชีวิตประจําวันได
        4. บอกความหมายของสิทธิมนุษยชนได
        5. อธิบายความสําคัญของสิทธิมนุษยชนได

4. เนื้อหาสาระ
         1. รัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540
         2. กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง
         3. กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
         4. กฎหมายเกี่ยวกับสังคม
         5. กฎหมายเกี่ยวกับชุมชน
         6. กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
5. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 7-10
         1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
         2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู
         3. เชิญวิทยากรที่มความรูเกี่ยวกับกฎหมายมาใหความรูแกนกเรียน
                             ี                                    ั
         4. นํานักเรียนทัศนศึกษานอกสถานที่เกี่ยวกับงานดานกฎหมาย เชน ศาล สํานักงาน
             อัยการ
         5. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540
             ตามหัวขอตอไปนี้
             - ความสําคัญ
             - ที่มา
             - หลักการ
             - เจตนารมณ
             - โครงสราง
             - สาระสําคัญ
         6. นักเรียนที่ศกษาหัวขอเดี่ยวกันมารวมกัน กลุมละ 6 คน ชวยกันศึกษาคนควาเนื้อหา
                          ึ
             ที่ตนรับผิดชอบ โดยครูจัดมุมนิทรรศการหรือแหลงเรียนรู หนังสืออานประกอบ วีดี
             ทัศน โดยใหแตละกลุมศึกษา คนควา และครูใหคําแนะนําศึกษา
         7. นักเรียนแตละกลุมกลับมากลุมเดิมแลวถายทอดสิ่งที่ตนศึกษามาใหสมาชิกในกลุมฟง
             จนครบทุกหัวขอ
         8. ตัวแทนกลุมนําเสนอผลการอภิปรายหนาชัน โดยใชแผนโปรงใส เพื่อรวมอภิปราย
                                                     ้
             กับกลุมอื่น
         9. นักเรียนกลุมเดิม ศึกษาโครงสรางรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 แลวรวมกันเขียน
             แผนผังความคิดและสงตัวแทนออกมานําเสนแหนาชั้นเรียน
         10. นักเรียนทั้งหมดรวมกันอภิปรายโครงสรางของรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540
         11. นักเรียนรวมกันสรุปและจดบันทึกลงในสมุด
คาบที่ 11-13
         1. แบงนักเรียนเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ศึกษาเนื้อหาตอไปนี้
             - กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง
             - กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
             - กฎหมายเกี่ยวกับสังคม
             - กฎหมายเกี่ยวกับชุมชน
- กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
       2.   สงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้น
       3.   ครูนําภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นในปจจุบัน เชน ภาพอาชญากรรม ภาพการจับกุมยาบา
       4.   นักเรียนรวมกันวิเคราะห ประเด็นตอไปนี้
            - กระทําผิดอยางไร
            - ผิดกฎหมายอะไร
            - เกิดผลเสียตอสังคมอยางไร
            - การแกไขและปองกันทําอยางไร
       5.   นักเรียนยกกรณีตัวอยางที่ไดประสบมาแลวชี้ประเด็นใหเห็นวา ผิดตอกฎหมายใด
       6.   นักเรียนกลุมเดิมแสดงบทบาทสมมติวาเกี่ยวกรณีความผิดกฎหมายตางๆ นักเรียนใน
            หองรวมกันอภิปรายสรุป
       7.   นักเรียนทําใบงานที่ 2
       8.   นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

6. แหลงเรียนรู
        1. ศาล
        2. ภาพจากหนังสือพิมพ
        3. หนังสือแบบเรียน
        4. ใบงานที่ 1, 2

7. กระบวนการวัดผลประเมินผล

8. กิจกรรมเสนอแนะ
        ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

9. บันทึกผลหลังสอน
         ผลการสอน
         ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
ปญหา / อุปสรรค
   ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
   ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
   ……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….



                        ลงชื่อ……………………….ผูสอน
                         (…………………………….)
แบบทดสอบกอนและหลังเรียน

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. สาระสําคัญที่ตองบัญญัติไวใน                         ก. รัฐธรรมนูญเปนเครื่องชี้วาประเทศ
      รัฐธรรมนูญของประเทศที่ปกครองดวย                        นั้นมีการปกครองแบบใด
      ระบอบประชาธิปไตยคือเรื่องอะไร                      ข. ทุกประเทศมีการปกครองแบบ
      ก. พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข                          ประชาธิปไตยตองมีรัฐธรรมนูญ
      ข. ผูบริหารประเทศตองมาจากการ                     ค. การที่คณะปฏิวัติทําการลมลาง
          เลือกตั้ง                                           รัฐธรรมนูญไดแสดงวารัฐธรรมนูญ
      ค. หนาที่ของประชาชนที่ตองมีตอ                        ไมใชกฎหมายสูงสุด
          รัฐบาลหรือผูบริหารประเทศ                      ง. ประเทศใดมีรัฐธรรมนูญ ประเทศ
      ง. ความเสมอภาคและการคุมครองสิทธิ                       นั้นยอมมีการเลือกตั้ง
          เสรีภาพของประชาชน                          5. บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทีวา   ่
2. อํานาจอธิปไตยในการปกครองประเทศ                        พระมหากษัตริยทรงใชอํานาจอธิปไตย
      ไทยตามรัฐธรรมนูญเปนของใคร                         ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล แสดง
      ก. รัฐสภา                                          วารัฐธรรมนูญกําหนดความสําคัญในดาน
      ข. คณะรัฐมนตรี                                     ใด
      ค. พระมหากษัตริย                                  ก. กฎหมายสูงสุดของประเทศ
      ง. ปวงชนชาวไทย                                     ข. หลักประกันสิทธิและเสรีภาพของ
3. วิธีการใดที่จะในไปใชวนิจฉัยเพื่อยุติ
                            ิ                                 ประชาชน
      ปญหาในกรณีที่ ไมมี บทบัญญัติแหง                 ค. รูปแบบและโครงสรางในการ
      รัฐธรรมนูญกําหนดไว                                     ปกครองประเทศ
      ก. กฎหมายโบราณ                                     ง. ลักษณะการใชอํานาจอธิปไตยของ
      ข. จารีตประเพณี                                         ประมุข
      ค. ประเพณีการปกครองระบอบ                       6. กิจกรรมใดเปนการถวงดุลการใชอํานาจ
          ประชาธิปไตย                                    อธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ
      ง. ประเพณีการปกครองระบอบ                           ก. ราษฎรเลือกตั้งผูแทน
          ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย                 ข. นายกรัฐมนตรียุบสภาผูแทนราษฎร
          เปนประมุข                                     ค. ศาลพิพากษาจําคุกจําเลยที่ฆาผูอื่น
4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเมื่อกลาวถึง                       โดยเจตนา
      รัฐธรรมนูญ                                         ง. ผูแทนราษฎรกลาวโจมตีรัฐมนตรีที่
                                                              ฉอราษฎรบังหลวง
7. บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทีวา ศักดิ์ศรี
                            ่                9. สิ่งที่ประชาชนทุกคนตองปฏิบัติตอรัฐใน
   ความเปนมนุษยยอมไดรับความคุมครอง          ฐานะพลเมืองดีเรียกวา
   เปนหลักประกันของบุคคลในดานใด                ก. สิทธิ
   ก. สิทธิ เสรีภาพ                              ข. หนาที่
   ข. การนับถือศาสนา                             ค. เสรีภาพ
   ค. ชีวิต รางกายและทรัพยสิน                  ง. ภราดรภาพ
   ง. ครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง           10. คนไทยที่มความผิดรายแรงศาลจะ
                                                            ี
8. ถือกันวารัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยคือ           พิพากษาโทษสถานใด มิได
   สิ่งใด                                            ก. ปรับ
   ก. หลักศิลาจารึกสมัยสุโขทัย                       ข. จําคุก
   ข. กระดิ่งที่แขวนหนาประตูวังสมัย                 ค. ประหารชีวิต
        กรุงสุโขทัย                                  ง. เนรเทศออกนอกประเทศ
   ค. ตําราพิชัยสงคราม
   ง. บันทึกจดหมายเหตุกรุงสยาม



เฉลย
                                แบบทดสอบกอนและหลังเรียน


                                    ขอที่   เฉลย
                                      1        ก
                                      2        ง
                                      3        ข
                                      4        ก
                                      5        ก
                                      6        ข
                                      7        ก
                                      8        ก
                                      9        ข
                                     10        ค
ใบงานที่ 1

                   เรื่อง ความรูเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. รัฐธรรมนูญ คืออะไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
2. รัฐธรรมนูญมีความสําคัญอยางไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
3. ใหลําดับขั้นตอนความเปนมาของรัฐธรรมนูญไทย
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
4. ใหบอกหลักการของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
5. เจตนารมณของรัฐธรรมฉบับปจจุบันคืออะไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
6. โครงสรางของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันประกอบดวยอะไรบาง
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
ใบงานที่ 2
                           เรือง ความรูเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
                              ่

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. สิทธิมนุษยชน หมายถึงอะไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
2. สิทธิมนุษยชน มีความสําคัญอยางไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
3. สิทธิมนุษยชนที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญไดแกอะไรบาง
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
4. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมีความสําคัญอยางไร
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
      ………………………………………………………………………………………………….
5. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิทธิมนุษยชนที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทน
      พุทธศักราช 2540 มา 3 มาตรา
      มาตราที……….บัญญัติวา………………………………………………………………………
             ่
      ………………………………………………………………………………………………….
      มาตราที……….บัญญัติวา………………………………………………………………………
               ่
      ………………………………………………………………………………………………….
      มาตราที……….บัญญัติวา………………………………………………………………………
                 ่
      ………………………………………………………………………………………………….
แบบประเมินผลจากการทํากิจกรรมกลุม (นักเรียน)

ชื่อครูผูประเมิน....................................................................................................................................
กลุม ...........………..ชั้น………………วิชา…………………………………………………………
วันที่ทํากิจกรรม วัน………………………..….เดือน……………………………พ.ศ……………..

1. การทํากิจกรรมกลุม

     พฤติกรรมของตนเองตอการทํางาน                                            ดีมาก                  ดี              พอใช            ปรับปรุง
1. การมีสวนรวมในการทํางาน
2. การแสดงความคิดเห็น
3. ความเขาใจในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย
4. ความรับผิดชอบในการทํางาน

2. ผลของการทํากิจกรรมกลุม

      สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม                                     ดีมาก                  ดี              พอใช            ปรับปรุง
1. ความรูที่ไดรับในการทํากิจกรรม
2. ความพอใจในผลงานกลุม
3. อุปสรรคในการทํากิจกรรมกลุม




4. แนวทางแกไขปญหา
๕. สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม / ขอเสนอแนะ
แบบประเมินตนเองรายบุคคล


ชื่อ-สกุล……………………………………………………….………………ชั้น……………..เลขที่………

ชิ้นงานที่………เรื่อง…………………………………………………..………………………………………

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ตามความเปนจริง
7. ความพึงพอใจ
      มากที่สุด มาก             ปานกลาง            นอย      นอยที่สุด
8. ประโยชนที่ไดรับ
    มากที่สุด มาก               ปานกลาง            นอย     นอยที่สุด
9. การใชความสามารถของตนเอง
    มากที่สุด มาก               ปานกลาง            นอย     นอยที่สุด
10. จุดเดนจุดดอยของงาน
                      จุดเดน                จุดดอย            วิธีปรับปรุงแกไข
                                                              และการพัฒนาใหดีขน  ึ้




11. โดยภาพรวม ถามีคะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนใหคะแนนตนเอง……………คะแนน
    เหตุผล……………………………………………………………………………………..
    …………………………………………………………………………………………….
    …………………………………………………………………………………………….
12. ขอเสนอแนะ………………………………………………………………………………
    …………………………………………………………………………………………….
    …………………………………………………………………………………………….

                                     ลงชื่อ………………………………ผูประเมิน
                                       วันที………เดือน………………..พ.ศ……..
                                            ่
บันทึกการรายงาน


                             รายงาน
      เรื่อง………………………………………………………………………………………….
ผูรับผิดชอบ………………………………………………………………………………………….
             ………………………………………………………………………………………….
             ………………………………………………………………………………………….
วัน เดือน ป ……………………………….เวลา………….สถานที……………………………….
                                         ่
1. ขอมูลสาระจากรายงาน
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
2.คุณคาและประโยชนที่ไดรับ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
3. ขอเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

                             ลงชื่อ…………………………………ผูบันทึก
                               วันที……..เดือน………………..พ.ศ……..
                                    ่
แบบประเมินผลงานกลุม

ชื่อครูผูประเมิน……………………………………………………………………………………..
ประเมินกลุม……………………….เรื่อง…………………………………………………………..
รูปแบบผลงาน………………………………………วันที……เดือน…………………พ.ศ……….
                                   ่

คําชี้แจง ใหผูประเมินใสเครื่องหมาย / ลงในชองวางตามความเปนจริง
             4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควรปรับปรุง
                 รายการ                 4 3 2 1                     ขอเสนอแนะ
              เนื้อหา
1.ความถูกตองของเนื้อหา
2. การลําดับความคิด
3. การสรุปความคิดเห็น
      รูปแบบการนําเสนอ
1. นาสนใจ
2. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
         การทํางานกลุม
1. การเตรียมตัว
2. การทํางานเปนระบบ
3. การมีสวนรวมของสมาชิก
4. ความภูมใจในผลงานของสมาชิก
           ิ
       เกณฑการประเมิน                      สรุปการประเมินผลงานกลุม
รอยละ 80 ขึ้นไป    ระดับ ดีมาก      …………………………………………………………….
รอยละ 70-79        ระดับ ดี         รวมไดคะแนน…………………………………………….
รอยละ 60-69        ระดับ พอใช      คิดเปนรอยละ……………………………………………..
ต่ํากวารอยละ 60   ระดับ ปรับปรุง   อยูในเกณฑ……………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู ที่ 3

รายวิชา สังคมศึกษา                         หนวยการเรียนรูที่ 2   ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
เรื่อง การเมืองการปกครองของไทย            หนาที่พลเมือง ศีลธรรม       เวลา 6 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
               ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีอํานาจ
อธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร อํานาจตุลาการ ประชาชนมี
สวนรวมในการเมืองการปกครองโดยเลือกผูแทนราษฎร

2. ผลการเรียนที่คาดหวัง
       1. มีความรูความเขาใจระบบบริหารราชการแผนดินของไทย
                   
       2. มีสวนรวมในกิจกรรมการปกครองโดยนําหลักคุณธรรมทางศาสนามาเปนแนวปฏิบัติ

3. จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายระบบบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นได
        2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวน
           ทองถิ่นได
        3. บอกความหมายและความสําคัญรูปแบบและบทบาทของการมีสวนรวมในกิจกรรม
           การเมืองการปกครองได

4. เนื้อหาสาระ
         1. การบริหารราชการแผนดินของไทย
         2. การมีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครองของไทย

5. กระบวนการจัดการเรียนรู
คาบที่ 14-16
         1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
         2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู
         3. ครูซักถามนักเรียนวาประเทศไทยปกครองระบอบใด
         4. นักเรียนรวมกันอภิปราย
5. แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม รับผิดชอบเนื้อหาดังตอไปนี้
            กลุมที่ 1 การปกครองสวนกลาง
            กลุมที่ 2 การปกครองสวนภูมิภาค
            กลุมที่ 3 การปกครองสวนทองถิ่น
        6. ตัวแทนกลุมนําเสนอประเด็นที่สําคัญคือ
            1) ความสําคัญ
            2) ลักษณะ
            3) ขอดีและขอเสีย
        7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายในรายละเอียด
        8. นักเรียนทําใบงานที่ 1 , 2 , 3 , 4
        9. นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง การบริหารราชการแผนดินของไทย
คาบที่ 17-19
        1. ครูนําภาพการเลือกตั้งใหนกเรียนดูแลวซักถามวาเปนกิจกรรมอะไร มีความสําคัญอยางไร
                                       ั
        2. แบงนักเรียนเปนกลุมโดยใหแสดงบทบาทสมมติ ตั้งพรรคการเมือง โดย
            - กําหนดตําแหนงตางๆ ภายในพรรค
            - กําหนดนโยบายพรรค
            - วางแผนการหาเสียง
        3. จัดใหมการจําลองการเลือกตั้ง จากการที่แตละพรรคนําเสนอนโยบาย
                     ี
        4. ครูอธิบายใหนกเรียนเขาใจเกี่ยวกับเรื่อง การเมืองการปกครองของไทยในปจจุบัน โดยใช
                             ั
            รูปภาพ และแผนภูมประกอบ
                                ิ
        5. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งทําหนาที่เปนฝายเสนออีกกลุมหนึ่งทําหนาที่เปน
            ฝายคาน แตละกลุมเลือกตัวแทนในการโตวาที จํานวน 4 คน ประธาน 1 คน นักเรียน
            ที่เหลือหาขอมูล หัวขอโตวาที คือ “ประชาธิปไตยดีกวาเผด็จการ”
        6. เลือกบุคคลทีมีความยุติธรรมและเปนกลาง เปนกรรมการจับเวลาและดําเนินรายการ
                           ่
        7. นักเรียนดําเนินการโตวาที ตามหัวขอที่กําหนดใหเปนไปตามกติกา โดยตัวแทนนักเรียน
            เปนผูดําเนินรายการ ครูเปนผูใหคําปรึกษา
        8. นักเรียนทําใบงานที่ 5 , 6
        9. นักเรียนทําแผนผังความคิด เรื่อง การมีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองของไทย
        10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป
        11. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
6. แหลงเรียนรู
         1. หนังสือแบบเรียน
         2. ภาพการเลือกตั้ง
         3. ใบงานที่ 1-6
         4. อุปกรณทใชในการเลือกตั้ง
                     ี่
         5. อุปกรณทใชในการโตวาที
                        ี่
7. กระบวนการวัดผลประเมินผล
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
8. กิจกรรมเสนอแนะ
         ……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
9. บันทึกผลหลังสอน

   ผลการสอน
   ……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
   ปญหา / อุปสรรค
   ……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
   ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
   ……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….



                           ลงชื่อ……………………….ผูสอน
                            (…………………………….)
ใบงานที่ 1

                       ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
    1. บอกชื่อกระทรวงและรัฐมนตรีวาการกระทรวงในสมัยและคณะรัฐบาลปจจุบัน
         ชื่อกระทรวง                          รัฐมนตรีวาการกระทรวง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
2. นายกรัฐมนตรีคนปจจุบนคือ……………………………………………………………………
                       ั
   รองนายกรัฐมนตรี คือ 1……………………………………….2……………………………..
                       3………………………………………..4…………………………….
                       5………………………………………..6…………………………….
3. รัฐบาล คือ……………………………………………………………………………………….
   มีความสําคัญคือ…………………………………………………………………………………
ใบงานที่ 2
         ใหนักเรียนนําหมายเลขหนาขอความเติมลงในแผนภูมิใหถกตอง
                                                                ู
1. ผูใหญบาน                                12. จัดตั้งโดยประกาศของจังหวัด
2. ปลัดจังหวัด                                13. เปนหนวยการปกครองรองจากจังหวัด
3. ปลัดอําเภอ                                 14. เปนหนวยการปกครองของอําเภอ/กิ่งอําเภอ
4. กํานัน                                     15. ที่ทําการปกครองกิ่งอําเภอ
5. ศาลกลางจังหวัด                             16. หัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด
6. นายอําเภอ                                  17. การเปลี่ยนแปลงตองทําเปน พ.ร.บ.
7. ผูวาราชการจังหวัด                        18. การเปลี่ยนแปลงตองทําเปนพระราชกฤษฎีกา
8. หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ              19. มีฐานะเปนนิติบคคล
                                                                  ุ
9. เปนเขตการปกครองสวนภูมภาคใหญที่สุด 20. ไมมีฐานะเปนนิติบคคล
                              ิ                                     ุ
10. เปนสวนหนึ่งของอําเภอ                    21. ตั้งตามกฎหมายลักษณะปกครองทองที่
11. จัดตั้งโดยประกาศของกระทรวงมหาดไทย             พ.ศ. 2475
                                              22. ที่วาการอําเภอ

                              การบริหารราชการสวนภูมิภาค



จังหวัด            อําเภอ              กิ่งอําเภอ           ตําบล             หมูบาน
ใบงานที่ 3
จงเขียนสรุปความหมายของคําตอไปนี้

                                          จังหวัด




                                          อําเภอ




                                         กิ่งอําเภอ




                                          ตําบล




                                         หมูบาน
ใบงานที่ 4
ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหไดใจความสมบูรณ

1. จุดมุงหมายของการบริหารราชการสวนทองถิ่น คือ…………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
2. ปจจุบันประเทศไทยมีองคการบริหารสวนจังหวัดกี่แหง……………………………………………..
    ยกเวนจังหวัดใด……………………………………………………………………………………..
3. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด (สจ.) มีวาระการดํารงตําแหนงกี่ป…………………………
                                                                     
4. สมาชิกสภาเทศบาล ทําหนาที่ฝายใด…………………………………………………………………
    คณะเทศมนตรี ทําหนาที่ฝายใด……………………………………………………………………..
    คณะเทศมนตรี ประกอบดวย……………………………………………………………………….
5. องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) จัดตั้งขึ้นเมื่อใด………………………………………………….
    ………………………………………………………………………………………………………
6. ใหบอกจํานวนสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (ส.อบต.)…………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
7. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มีวาระการดํารงตําแหนงกี่ป………………………………………….
                                                        
8. ปจจุบันกรุงเพทมหานครมีเขตการปกครองกี่เขต…………………………………………………….
    แตละเขตเลือกสมาชิกสภาเขตไดกคน……………………………………………………………….
                                    ี่
9. เพราะเหตุใดจึงจัดใหเมืองพัทยามีการปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ…………………………..
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
10.ใหบอกโครงสรางการบริหารเมืองพัทยา……………………………………………………………..
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
ใบงานที่ 5
นักเรียนตอบคําถามตอไปนี้

1. การเลือกตั้งมีความสําคัญอยางไร
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
2. บุคคลตอไปนี้มีพฤติกรรมอยางไร
    2.1 ผูไปใชสิทธิเลือกตั้ง
           
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    2.2 ผูไมไปใชสิทธิเลือกตั้ง
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    2.3 ผูทําบัตรเสีย
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    2.4 ผูสมัครรับเลือกตั้ง
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
3. พรรคการเมืองเกี่ยวของกับการเลือกตั้งอยางไร
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
    ………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 

Viewers also liked

เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์จารุ โสภาคะยัง
 
แม่ ก. กา ไม่ผันฯ
แม่ ก. กา ไม่ผันฯแม่ ก. กา ไม่ผันฯ
แม่ ก. กา ไม่ผันฯkindman_2505
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองkoorimkhong
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1paewwaew
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1cookie47
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์tassanee chaicharoen
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 

Viewers also liked (18)

เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทักษะเผชิญสถานการณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แม่ ก. กา ไม่ผันฯ
แม่ ก. กา ไม่ผันฯแม่ ก. กา ไม่ผันฯ
แม่ ก. กา ไม่ผันฯ
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1

ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวทับทิม เจริญตา
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุขtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยtassanee chaicharoen
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔Tongsamut vorasan
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยthnaporn999
 
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีแบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีDuangnapa Inyayot
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกguest9deb61
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกguestf57acc
 
ชุดที่ ๘ ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์
ชุดที่  ๘  ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์ชุดที่  ๘  ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์
ชุดที่ ๘ ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์maneewaan
 
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06witthawat silad
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒Rung Kru
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1 (20)

ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุข
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
 
แบบคำร้องขอย้าย
แบบคำร้องขอย้ายแบบคำร้องขอย้าย
แบบคำร้องขอย้าย
 
การงาน ป.6 ชุด 1
การงาน ป.6 ชุด 1การงาน ป.6 ชุด 1
การงาน ป.6 ชุด 1
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิตใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีแบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี
แบบฟอร์มสรุปข้อค้นพบ โครงงาน ป.6 กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุกใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
ใบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสามชุก
 
ชุดที่ ๘ ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์
ชุดที่  ๘  ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์ชุดที่  ๘  ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์
ชุดที่ ๘ ภาพวิเคราะห์สมบูรณ์
 
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
 

More from เซียงน้อยขี่ไก่ขาง เด้อ (6)

ประกาศการรับสมัคร55
ประกาศการรับสมัคร55ประกาศการรับสมัคร55
ประกาศการรับสมัคร55
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงานปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงาน
 
Ec ม.4
Ec ม.4Ec ม.4
Ec ม.4
 
Ec ม1
Ec ม1Ec ม1
Ec ม1
 
Ec ม.4
Ec ม.4Ec ม.4
Ec ม.4
 
Ec ม1
Ec ม1Ec ม1
Ec ม1
 

แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู หนาที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดย ครูบานนาขาโคก แผนการจัดการเรียนรู ที่ 1 รายวิชา สังคมศึกษา หนวยการเรียนรูที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง พลเมืองดีของสังคม หนาที่พลเมือง ศีลธรรม เวลา 6 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ พลเมืองดีหมายถึงคนที่มีคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมตามคานิยมในสังคม 2. ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. ตระหนักในคุณคาในการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2. ตระหนักถึงบทบาทหนาทีของพลเมืองดีในสังคม ่ 3. จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกความหมายพลเมืองดีได 2. ปฏิบัติตนตามคุณธรรมที่สงเสริมความเปนพลเมืองดีได 3. อธิบายลักษณะประชาธิปไตยได 4. วิเคราะหผลของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่ดีได 4. เนื้อหาสาระ 1. การเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2. การเปนพลเมืองดีของสังคม 5. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 1-3 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู 3. นักเรียนดูวดีทัศนเกี่ยวกับประชาธิปไตย ี 4. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ทํากิจกรรมในใบงานที่ 1 และ 2 5. นักเรียนกลุมเดิม แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับลักษณะพลเมืองดีในระบอบ ประชาธิปไตย 6. นักเรียนทําแผนผังความคิดเรื่อง การเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย
  • 2. คาบที่ 4-6 1. นักเรียนกลุมเดิม ศึกษาและทําใบงานที่ 3-4 2. นักเรียนกลุมเดิมพลัดกันเลาประสบการณของตนเกี่ยวกับการเปนพลเมืองดี และนํา ความรูไปปฏิบัติตนในสังคม ครอบครัวอยางไรบาง จากนั้นสงตัวแทนออกมา นําเสนอหนาชั้น 3. ครูและนักเรียนชวยกันเสนอความคิดวาการกระทําใดของนักเรียนสอดคลองหนาที่ ของพลเมืองที่ดี - รับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน - การประนีประนอม - การแกปญหาโดยเหตุผล  - การชวยเหลือซึ่งกันและกัน 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของสังคม นักเรียนชวยกัน ยกตัวอยาง การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามหัวขอตอไปนี้ - การปฏิบัติตามระเบียบกฎขอบังคับของโรงเรียน - ความรับผิดชอบในหนาทีของตน ่ - ความเสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม - การเขารวมกิจกรรมของโรงเรียน 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกียวกับขาวที่เกิดขึ้นในชีวตประจําวัน นักเรียนรวมกัน ่ ิ วิเคราะหวา เปนการกระทําที่เปนพลเมืองดีอยางไร มีผลดีตอประเทศชาติอยางไร 6. นักเรียนแตละกลุมทําใบงานที่ 5 สงตัวแทนนําเสนอหนาชั้น 7. นักเรียนชวยกันสรุปการเปนพลเมืองดี 8. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 6. แหลงเรียนรู 1. หัวขอจากหนังสือพิมพ 2. ใบงานที่ 1-5 3. หนังสือแบบเรียน 4. แผนผังความคิด 7. กระบวนการวัดผลประเมินผล ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….
  • 3. 8. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 9. บันทึกผลหลังสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ปญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ……………………….ผูสอน (…………………………….)
  • 4. ใบงานที่ 1 เรื่อง วิเคราะหพฤติกรรมการเปนพลเมืองดีของสังคม คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง ลักษณะพลเมืองดี ความยาวประมาณ 15-20 บรรทัด
  • 5. ใบงานที่ 2 คําชี้แจง ใหนกเรียนจัดกลุม กลุมละ 5-6 คน นําเรียงความเรื่อง ลักษณะพลเมืองที่ดีวิเคราะห ั พฤติกรรมวา พลเมืองดีของแตละคนนันมีพฤติกรรมอยางไร แลงเขียนลงในแผนผัง ้ คนที่ 1……………………………………….. …………………………………………. ………………………………………… คนที่ 6……………………………………….. คนที่ 2……………………………………. …………………………………………. ………………………………………… …………………………………………. ………………………………………… พลเมืองดี ที่ตองการ คนที่ 5……………………………………….. คนที่ 3……………………………………. …………………………………………. ………………………………………… …………………………………………. ………………………………………… คนที่ 4……………………………………….. …………………………………………. ………………………………………… 2. จากลักษณะพฤติกรรมของคนดีในขอ 1 นักเรียนไดนําพฤติกรรมใดมาปฏิบัติบาง 1)…………………………………เหตุผล…………………………………………………. 2)…………………………………เหตุผล…………………………………………………. 3)…………………………………เหตุผล…………………………………………………. 4)…………………………………เหตุผล…………………………………………………. 5)…………………………………เหตุผล………………………………………………….
  • 6. ใบงานที่ 3 เรื่อง วิเคราะหคุณธรรมจริยธรรมของพลเมืองดี คําชี้แจง ใหนักเรียนรวมกันคิดและเขียนวิธีการปฏิบัติตนตามคุณธรรมของพลเมืองดี ที่ คุณธรรมจริยธรรม การปฏิบัติตนในครอบครัว การปฏิบัติตนในสังคม 1. ความซื่อสัตยสุจริต 1……………………………… 1……………………………… 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 2 ความรับผิดชอบ 1……………………………… 1……………………………… 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 3 ความเสียสละ 1……………………………… 1……………………………… 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 4 การตรงตอเวลา 1……………………………… 1……………………………… 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 5 ความมีระเบียบวินัย 1……………………………… 1……………………………… 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 6 ความกลาหาญทาง 1……………………………… 1……………………………… จริยธรรม 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 7 การยึดมันในหลักธรรม 1……………………………… ่ 1……………………………… ทางศาสนา 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.……………………………… 8 ความจงรักภักดีตอชาติ 1……………………………… 1……………………………… ศาสนา พระมหากษัตริย 2………………………………. 2………………………………. 3.……………………………… 3.………………………………
  • 7. ใบงานที่ 4 สรุปผลจากการปฏิบัติตนในครอบครัว 1. ผลดีตอตนเอง ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… 2. ผลดีตอสังคม ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… สรุปผลจากการปฏิบัติตนในสังคม 2. ผลดีตอตนเอง ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… 2. ผลดีตอสังคม ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………
  • 8. ใบงานที่ 5 เรื่อง ความรูเกี่ยวกับการเปนพลเมืองดีของสังคม คําชี้แจง ใหนักเรียนคนควาหาความหมายและยกตัวอยางประกอบคําตอไปนี้ การเปนพลเมืองดี ความหมาย ตังอยาง 1. สถานภาพ …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… 2. บทบาท …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… 3. สิทธิ …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… 4. เสรีภาพ …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… 5. หนาที่ …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… ………………………………… …………………………………… …………………………………
  • 9. แบบทดสอบกอน – หลังเรียน คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การปฏิบัติตามกฎหมาย ทําใหเกิดผลดี ก. สิ่งที่ประเสริฐ อยางไร ข. สิ่งที่เปนคุณงามความดี ก. รายไดเพิ่มขึ้น ค. สิ่งที่นําประโยชนมาสูผูปฏิบัติ ข. สังคมสงบสุข ง. สิ่งที่จะนําไปสูความสวางที่ปราศจาก ค. ไดรับยกยองชมเชย ความรวมมือ ง. รับบาลมีความมั่นคง 6. เมื่อไดเห็นคําวา คุณธรรม เราจะนึกถึง 2. ขอใดคือความหมายที่ถกตองของคําวา ู สิ่งใดเปนอันดับแรก จริยะ ก. กฎระเบียบของสังคม ก. กิริยาที่สงบเรียบรอย ข. คําสั่งสอนของศาสนา ข. กิริยาที่สมควรประพฤติ ค. ความเชื่อถือจากคนในสังคม ค. กิริยาที่มีความสัมพันธกับจิต ง. สิงที่ชวยดับกิเลสในตัวมนุษย ่ ง. กิริยาที่เกิดขึนจากอารมณโดยตรง ้ 7. มีผูชวนใหสมชายไปขายยาเสพติด ซึ่งครู 3. คําใดใชแทนความหมายของคําวา เคยสอนวาเปนสิ่งที่นําความหายนะมาสู จริยธรรม ได ตนเอง และผูอื่น สมชายจึงปฏิเสธ และ ก. การศึกษาธรรม ไมคบหากับผูนนอีกตอไป จากขอความ ั้ ข. การเผยแผธรรม นี้แสดงวาคุณธรรมมีความสําคัญตอ ค. การประพฤติธรรม สมชายอยางไร ง. การสรรเสริญธรรม ก. ชวยใหเปนผูที่มีประสบการณในชีวต ิ 4. เพราะเหตุใดคําวา จริยธรรม จึงมี ข. ชวยใหดําเนินชีวตอยางมีระเบียบวินย ิ ั ความหมายรวมไปถึงคานิยมในดานอื่นๆ ค. ชวยใหเปนผูที่ไมเอารัดเอาเปรียบ ของสังคมดวย ผูอื่น ก. คานิยมเปนตัวกําหนดพฤติกรรม ง. ชวยใหเปนผูมีสติสัมปชัญญะ ข. คานิยมเปนสิ่งที่สังคมใหการยอมรับ ตลอดเวลา ค. คานิยมเปนสิ่งที่ใชกําหนดความดี 8. การที่จะกลาววา บุคคลมีคุณธรรม ของบุคคล จริยธรรมนั้น ใชอะไรเปนเกณฑตัดสิน ง. คานิยมและจริยธรรม มีความหมาย ก. หลักศาสนา เหมือนกัน ข. การยอมรับของสังคม 5. ขอใด ไมใช ความหมายของคําวา ค. คนสวนมากในสังคมปฏิบัติ คุณธรรม ง. เกณฑที่ผูปฏิบติกําหนดไว ั
  • 10. 9. คนที่ไมรับผิดชอบตอหนาทีจะเกิดผลเสีย ่ 10. ถานักเรียนไมรับผิดชอบตอหนาที่ของ ในขอใดอยางชัดเจน ตนเองจะเปนอยางไร ก. เปนคนเกียจคราน ก. เรียนไมดี ข. ไมมีคนเคารพนับถือ ข. พอแมเสียใจ ค. ไมมีผูใดยกยองสรรเสริญ ค. เพื่อนๆ รังเกียจ ง. ผูรวมงานไมอยากรวมงานดวย ง. ถูกลงโทษ เฉลย แบบทดสอบกอน – หลังเรียน ขอที่ เฉลย 1 ข 2 ข 3 ค 4 ค 5 ง 6 ค 7 ง 8 ค 9 ง 10 ง
  • 11. แบบประเมินผลจากการทํากิจกรรมกลุม (นักเรียน) ชื่อครูผูประเมิน.................................................................................................................................... กลุม ...........………..ชั้น………………วิชา………………………………………………………… วันที่ทํากิจกรรม วัน………………………..….เดือน……………………………พ.ศ…………….. 1. การทํากิจกรรมกลุม พฤติกรรมของตนเองตอการทํางาน ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง 1. การมีสวนรวมในการทํางาน 2. การแสดงความคิดเห็น 3. ความเขาใจในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย 4. ความรับผิดชอบในการทํางาน 2. ผลของการทํากิจกรรมกลุม สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง 1. ความรูที่ไดรับในการทํากิจกรรม 2. ความพอใจในผลงานกลุม 3. อุปสรรคในการทํากิจกรรมกลุม 4. แนวทางแกไขปญหา ๕. สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม / ขอเสนอแนะ
  • 12. แบบประเมินตนเองรายบุคคล ชื่อ-สกุล……………………………………………………….………………ชั้น……………..เลขที่……… ชิ้นงานที่………เรื่อง…………………………………………………..……………………………………… คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ตามความเปนจริง 1. ความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 2. ประโยชนที่ไดรับ มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 3. การใชความสามารถของตนเอง มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 4. จุดเดนจุดดอยของงาน จุดเดน จุดดอย วิธีปรับปรุงแกไข และการพัฒนาใหดีขน ึ้ 5. โดยภาพรวม ถามีคะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนใหคะแนนตนเอง……………คะแนน เหตุผล…………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 6. ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………………ผูประเมิน วันที………เดือน………………..พ.ศ…….. ่
  • 13. บันทึกการรายงาน รายงานเรื่อง…………………………………………………………………………………………. ผูรับผิดชอบ…………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. วัน เดือน ป ……………………………….เวลา………….สถานที………………………………. ่ 1. ขอมูลสาระจากรายงาน ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2.คุณคาและประโยชนที่ไดรับ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3. ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ…………………………………ผูบันทึก วันที……..เดือน………………..พ.ศ…….. ่
  • 14. แบบประเมินผลงานกลุม ชื่อครูผูประเมิน…………………………………………………………………………………….. ประเมินกลุม……………………….เรื่อง………………………………………………………….. รูปแบบผลงาน………………………………………วันที……เดือน…………………พ.ศ………. ่ คําชี้แจง ใหผูประเมินใสเครื่องหมาย / ลงในชองวางตามความเปนจริง 4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควร ปรับปรุง รายการ 4 3 2 1 ขอเสนอแนะ เนื้อหา 1.ความถูกตองของเนื้อหา 2. การลําดับความคิด 3. การสรุปความคิดเห็น รูปแบบการนําเสนอ 1. นาสนใจ 2. ความคิดริเริ่มสรางสรรค การทํางานกลุม 1. การเตรียมตัว 2. การทํางานเปนระบบ 3. การมีสวนรวมของสมาชิก 4. ความภูมใจในผลงานของสมาชิก ิ เกณฑการประเมิน สรุปการประเมินผลงานกลุม รอยละ 80 ขึ้นไป ระดับ ดีมาก ……………………………………………………………. รอยละ 70-79 ระดับ ดี รวมไดคะแนน……………………………………………. รอยละ 60-69 ระดับ พอใช คิดเปนรอยละ…………………………………………….. ต่ํากวารอยละ 60 ระดับ ปรับปรุง อยูในเกณฑ……………………………………………….
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู ที่ 2 รายวิชา สังคมศึกษา หนวยการเรียนรูที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง กฎระเบียบกฎหมาย หนาที่พลเมือง ศีลธรรม เวลา 7 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ กฎหมายเปนกฎเกณฑกติกาหรือมาตรฐานทีใชเปนแนวทางในการอยูรวมกันของ ่ สมาชิกในสังคม เพื่อทําใหเกิดความสุขและความเปนระเบียบเรียบรอย ดังนั้นประชาชนจึงมี ความรูความเขาใจ ในเรื่องของกฎหมายสําคัญของประเทศเพื่อที่จะไดปฏิบัติใหถูกตอง  2. ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. มีความรูเรื่องรัฐธรรมนูญ ความสําคัญ ความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสรางและสาระสําคัญ 2. มีความรูเขาใจกฎหมายที่เกียวของ ่ 3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน  3. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความสําคัญ ความเปนมามา หลักการ เจตนารมณ โครงสรางและสาระสําคัญ ของรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 ได 2. วิเคราะหโครงสรางรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 ได 3. นําสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญมาใชในชีวิตประจําวันได 4. บอกความหมายของสิทธิมนุษยชนได 5. อธิบายความสําคัญของสิทธิมนุษยชนได 4. เนื้อหาสาระ 1. รัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 2. กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง 3. กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว 4. กฎหมายเกี่ยวกับสังคม 5. กฎหมายเกี่ยวกับชุมชน 6. กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
  • 16. 5. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 7-10 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู 3. เชิญวิทยากรที่มความรูเกี่ยวกับกฎหมายมาใหความรูแกนกเรียน ี ั 4. นํานักเรียนทัศนศึกษานอกสถานที่เกี่ยวกับงานดานกฎหมาย เชน ศาล สํานักงาน อัยการ 5. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 ตามหัวขอตอไปนี้ - ความสําคัญ - ที่มา - หลักการ - เจตนารมณ - โครงสราง - สาระสําคัญ 6. นักเรียนที่ศกษาหัวขอเดี่ยวกันมารวมกัน กลุมละ 6 คน ชวยกันศึกษาคนควาเนื้อหา ึ ที่ตนรับผิดชอบ โดยครูจัดมุมนิทรรศการหรือแหลงเรียนรู หนังสืออานประกอบ วีดี ทัศน โดยใหแตละกลุมศึกษา คนควา และครูใหคําแนะนําศึกษา 7. นักเรียนแตละกลุมกลับมากลุมเดิมแลวถายทอดสิ่งที่ตนศึกษามาใหสมาชิกในกลุมฟง จนครบทุกหัวขอ 8. ตัวแทนกลุมนําเสนอผลการอภิปรายหนาชัน โดยใชแผนโปรงใส เพื่อรวมอภิปราย ้ กับกลุมอื่น 9. นักเรียนกลุมเดิม ศึกษาโครงสรางรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 แลวรวมกันเขียน แผนผังความคิดและสงตัวแทนออกมานําเสนแหนาชั้นเรียน 10. นักเรียนทั้งหมดรวมกันอภิปรายโครงสรางของรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2540 11. นักเรียนรวมกันสรุปและจดบันทึกลงในสมุด คาบที่ 11-13 1. แบงนักเรียนเปนกลุมๆ ละ 4-5 คน ศึกษาเนื้อหาตอไปนี้ - กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง - กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว - กฎหมายเกี่ยวกับสังคม - กฎหมายเกี่ยวกับชุมชน
  • 17. - กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 2. สงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้น 3. ครูนําภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นในปจจุบัน เชน ภาพอาชญากรรม ภาพการจับกุมยาบา 4. นักเรียนรวมกันวิเคราะห ประเด็นตอไปนี้ - กระทําผิดอยางไร - ผิดกฎหมายอะไร - เกิดผลเสียตอสังคมอยางไร - การแกไขและปองกันทําอยางไร 5. นักเรียนยกกรณีตัวอยางที่ไดประสบมาแลวชี้ประเด็นใหเห็นวา ผิดตอกฎหมายใด 6. นักเรียนกลุมเดิมแสดงบทบาทสมมติวาเกี่ยวกรณีความผิดกฎหมายตางๆ นักเรียนใน หองรวมกันอภิปรายสรุป 7. นักเรียนทําใบงานที่ 2 8. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 6. แหลงเรียนรู 1. ศาล 2. ภาพจากหนังสือพิมพ 3. หนังสือแบบเรียน 4. ใบงานที่ 1, 2 7. กระบวนการวัดผลประเมินผล 8. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 9. บันทึกผลหลังสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….
  • 18. ปญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ……………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ……………………….ผูสอน (…………………………….)
  • 19. แบบทดสอบกอนและหลังเรียน คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. สาระสําคัญที่ตองบัญญัติไวใน ก. รัฐธรรมนูญเปนเครื่องชี้วาประเทศ รัฐธรรมนูญของประเทศที่ปกครองดวย นั้นมีการปกครองแบบใด ระบอบประชาธิปไตยคือเรื่องอะไร ข. ทุกประเทศมีการปกครองแบบ ก. พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ประชาธิปไตยตองมีรัฐธรรมนูญ ข. ผูบริหารประเทศตองมาจากการ ค. การที่คณะปฏิวัติทําการลมลาง เลือกตั้ง รัฐธรรมนูญไดแสดงวารัฐธรรมนูญ ค. หนาที่ของประชาชนที่ตองมีตอ ไมใชกฎหมายสูงสุด รัฐบาลหรือผูบริหารประเทศ ง. ประเทศใดมีรัฐธรรมนูญ ประเทศ ง. ความเสมอภาคและการคุมครองสิทธิ นั้นยอมมีการเลือกตั้ง เสรีภาพของประชาชน 5. บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทีวา ่ 2. อํานาจอธิปไตยในการปกครองประเทศ พระมหากษัตริยทรงใชอํานาจอธิปไตย ไทยตามรัฐธรรมนูญเปนของใคร ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล แสดง ก. รัฐสภา วารัฐธรรมนูญกําหนดความสําคัญในดาน ข. คณะรัฐมนตรี ใด ค. พระมหากษัตริย ก. กฎหมายสูงสุดของประเทศ ง. ปวงชนชาวไทย ข. หลักประกันสิทธิและเสรีภาพของ 3. วิธีการใดที่จะในไปใชวนิจฉัยเพื่อยุติ ิ ประชาชน ปญหาในกรณีที่ ไมมี บทบัญญัติแหง ค. รูปแบบและโครงสรางในการ รัฐธรรมนูญกําหนดไว ปกครองประเทศ ก. กฎหมายโบราณ ง. ลักษณะการใชอํานาจอธิปไตยของ ข. จารีตประเพณี ประมุข ค. ประเพณีการปกครองระบอบ 6. กิจกรรมใดเปนการถวงดุลการใชอํานาจ ประชาธิปไตย อธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ง. ประเพณีการปกครองระบอบ ก. ราษฎรเลือกตั้งผูแทน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ข. นายกรัฐมนตรียุบสภาผูแทนราษฎร เปนประมุข ค. ศาลพิพากษาจําคุกจําเลยที่ฆาผูอื่น 4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเมื่อกลาวถึง โดยเจตนา รัฐธรรมนูญ ง. ผูแทนราษฎรกลาวโจมตีรัฐมนตรีที่ ฉอราษฎรบังหลวง
  • 20. 7. บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญทีวา ศักดิ์ศรี ่ 9. สิ่งที่ประชาชนทุกคนตองปฏิบัติตอรัฐใน ความเปนมนุษยยอมไดรับความคุมครอง ฐานะพลเมืองดีเรียกวา เปนหลักประกันของบุคคลในดานใด ก. สิทธิ ก. สิทธิ เสรีภาพ ข. หนาที่ ข. การนับถือศาสนา ค. เสรีภาพ ค. ชีวิต รางกายและทรัพยสิน ง. ภราดรภาพ ง. ครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง 10. คนไทยที่มความผิดรายแรงศาลจะ ี 8. ถือกันวารัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยคือ พิพากษาโทษสถานใด มิได สิ่งใด ก. ปรับ ก. หลักศิลาจารึกสมัยสุโขทัย ข. จําคุก ข. กระดิ่งที่แขวนหนาประตูวังสมัย ค. ประหารชีวิต กรุงสุโขทัย ง. เนรเทศออกนอกประเทศ ค. ตําราพิชัยสงคราม ง. บันทึกจดหมายเหตุกรุงสยาม เฉลย แบบทดสอบกอนและหลังเรียน ขอที่ เฉลย 1 ก 2 ง 3 ข 4 ก 5 ก 6 ข 7 ก 8 ก 9 ข 10 ค
  • 21. ใบงานที่ 1 เรื่อง ความรูเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. รัฐธรรมนูญ คืออะไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 2. รัฐธรรมนูญมีความสําคัญอยางไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 3. ใหลําดับขั้นตอนความเปนมาของรัฐธรรมนูญไทย …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 4. ใหบอกหลักการของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 5. เจตนารมณของรัฐธรรมฉบับปจจุบันคืออะไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 6. โครงสรางของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันประกอบดวยอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………….
  • 22. ใบงานที่ 2 เรือง ความรูเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ่ คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. สิทธิมนุษยชน หมายถึงอะไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 2. สิทธิมนุษยชน มีความสําคัญอยางไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 3. สิทธิมนุษยชนที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญไดแกอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 4. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมีความสําคัญอยางไร …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………. 5. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิทธิมนุษยชนที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทน พุทธศักราช 2540 มา 3 มาตรา มาตราที……….บัญญัติวา……………………………………………………………………… ่ …………………………………………………………………………………………………. มาตราที……….บัญญัติวา……………………………………………………………………… ่ …………………………………………………………………………………………………. มาตราที……….บัญญัติวา……………………………………………………………………… ่ ………………………………………………………………………………………………….
  • 23. แบบประเมินผลจากการทํากิจกรรมกลุม (นักเรียน) ชื่อครูผูประเมิน.................................................................................................................................... กลุม ...........………..ชั้น………………วิชา………………………………………………………… วันที่ทํากิจกรรม วัน………………………..….เดือน……………………………พ.ศ…………….. 1. การทํากิจกรรมกลุม พฤติกรรมของตนเองตอการทํางาน ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง 1. การมีสวนรวมในการทํางาน 2. การแสดงความคิดเห็น 3. ความเขาใจในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย 4. ความรับผิดชอบในการทํางาน 2. ผลของการทํากิจกรรมกลุม สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง 1. ความรูที่ไดรับในการทํากิจกรรม 2. ความพอใจในผลงานกลุม 3. อุปสรรคในการทํากิจกรรมกลุม 4. แนวทางแกไขปญหา ๕. สิ่งที่ไดรับจากการทํากิจกรรมกลุม / ขอเสนอแนะ
  • 24. แบบประเมินตนเองรายบุคคล ชื่อ-สกุล……………………………………………………….………………ชั้น……………..เลขที่……… ชิ้นงานที่………เรื่อง…………………………………………………..……………………………………… คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ตามความเปนจริง 7. ความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 8. ประโยชนที่ไดรับ มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 9. การใชความสามารถของตนเอง มากที่สุด มาก ปานกลาง  นอย  นอยที่สุด 10. จุดเดนจุดดอยของงาน จุดเดน จุดดอย วิธีปรับปรุงแกไข และการพัฒนาใหดีขน ึ้ 11. โดยภาพรวม ถามีคะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนใหคะแนนตนเอง……………คะแนน เหตุผล…………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. 12. ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………………ผูประเมิน วันที………เดือน………………..พ.ศ…….. ่
  • 25. บันทึกการรายงาน รายงาน เรื่อง…………………………………………………………………………………………. ผูรับผิดชอบ…………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. วัน เดือน ป ……………………………….เวลา………….สถานที………………………………. ่ 1. ขอมูลสาระจากรายงาน ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 2.คุณคาและประโยชนที่ไดรับ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3. ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ…………………………………ผูบันทึก วันที……..เดือน………………..พ.ศ…….. ่
  • 26. แบบประเมินผลงานกลุม ชื่อครูผูประเมิน…………………………………………………………………………………….. ประเมินกลุม……………………….เรื่อง………………………………………………………….. รูปแบบผลงาน………………………………………วันที……เดือน…………………พ.ศ………. ่ คําชี้แจง ใหผูประเมินใสเครื่องหมาย / ลงในชองวางตามความเปนจริง 4 หมายถึง ดีมาก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควรปรับปรุง รายการ 4 3 2 1 ขอเสนอแนะ เนื้อหา 1.ความถูกตองของเนื้อหา 2. การลําดับความคิด 3. การสรุปความคิดเห็น รูปแบบการนําเสนอ 1. นาสนใจ 2. ความคิดริเริ่มสรางสรรค การทํางานกลุม 1. การเตรียมตัว 2. การทํางานเปนระบบ 3. การมีสวนรวมของสมาชิก 4. ความภูมใจในผลงานของสมาชิก ิ เกณฑการประเมิน สรุปการประเมินผลงานกลุม รอยละ 80 ขึ้นไป ระดับ ดีมาก ……………………………………………………………. รอยละ 70-79 ระดับ ดี รวมไดคะแนน……………………………………………. รอยละ 60-69 ระดับ พอใช คิดเปนรอยละ…………………………………………….. ต่ํากวารอยละ 60 ระดับ ปรับปรุง อยูในเกณฑ……………………………………………….
  • 27. แผนการจัดการเรียนรู ที่ 3 รายวิชา สังคมศึกษา หนวยการเรียนรูที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การเมืองการปกครองของไทย หนาที่พลเมือง ศีลธรรม เวลา 6 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีอํานาจ อธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดประกอบดวย อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร อํานาจตุลาการ ประชาชนมี สวนรวมในการเมืองการปกครองโดยเลือกผูแทนราษฎร 2. ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. มีความรูความเขาใจระบบบริหารราชการแผนดินของไทย  2. มีสวนรวมในกิจกรรมการปกครองโดยนําหลักคุณธรรมทางศาสนามาเปนแนวปฏิบัติ 3. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายระบบบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นได 2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวน ทองถิ่นได 3. บอกความหมายและความสําคัญรูปแบบและบทบาทของการมีสวนรวมในกิจกรรม การเมืองการปกครองได 4. เนื้อหาสาระ 1. การบริหารราชการแผนดินของไทย 2. การมีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครองของไทย 5. กระบวนการจัดการเรียนรู คาบที่ 14-16 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู 3. ครูซักถามนักเรียนวาประเทศไทยปกครองระบอบใด 4. นักเรียนรวมกันอภิปราย
  • 28. 5. แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม รับผิดชอบเนื้อหาดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 การปกครองสวนกลาง กลุมที่ 2 การปกครองสวนภูมิภาค กลุมที่ 3 การปกครองสวนทองถิ่น 6. ตัวแทนกลุมนําเสนอประเด็นที่สําคัญคือ 1) ความสําคัญ 2) ลักษณะ 3) ขอดีและขอเสีย 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายในรายละเอียด 8. นักเรียนทําใบงานที่ 1 , 2 , 3 , 4 9. นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง การบริหารราชการแผนดินของไทย คาบที่ 17-19 1. ครูนําภาพการเลือกตั้งใหนกเรียนดูแลวซักถามวาเปนกิจกรรมอะไร มีความสําคัญอยางไร ั 2. แบงนักเรียนเปนกลุมโดยใหแสดงบทบาทสมมติ ตั้งพรรคการเมือง โดย - กําหนดตําแหนงตางๆ ภายในพรรค - กําหนดนโยบายพรรค - วางแผนการหาเสียง 3. จัดใหมการจําลองการเลือกตั้ง จากการที่แตละพรรคนําเสนอนโยบาย ี 4. ครูอธิบายใหนกเรียนเขาใจเกี่ยวกับเรื่อง การเมืองการปกครองของไทยในปจจุบัน โดยใช ั รูปภาพ และแผนภูมประกอบ ิ 5. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งทําหนาที่เปนฝายเสนออีกกลุมหนึ่งทําหนาที่เปน ฝายคาน แตละกลุมเลือกตัวแทนในการโตวาที จํานวน 4 คน ประธาน 1 คน นักเรียน ที่เหลือหาขอมูล หัวขอโตวาที คือ “ประชาธิปไตยดีกวาเผด็จการ” 6. เลือกบุคคลทีมีความยุติธรรมและเปนกลาง เปนกรรมการจับเวลาและดําเนินรายการ ่ 7. นักเรียนดําเนินการโตวาที ตามหัวขอที่กําหนดใหเปนไปตามกติกา โดยตัวแทนนักเรียน เปนผูดําเนินรายการ ครูเปนผูใหคําปรึกษา 8. นักเรียนทําใบงานที่ 5 , 6 9. นักเรียนทําแผนผังความคิด เรื่อง การมีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองของไทย 10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป 11. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
  • 29. 6. แหลงเรียนรู 1. หนังสือแบบเรียน 2. ภาพการเลือกตั้ง 3. ใบงานที่ 1-6 4. อุปกรณทใชในการเลือกตั้ง ี่ 5. อุปกรณทใชในการโตวาที ี่ 7. กระบวนการวัดผลประเมินผล …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. 8. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. 9. บันทึกผลหลังสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. ปญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ……………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ……………………….ผูสอน (…………………………….)
  • 30. ใบงานที่ 1 ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. บอกชื่อกระทรวงและรัฐมนตรีวาการกระทรวงในสมัยและคณะรัฐบาลปจจุบัน ชื่อกระทรวง รัฐมนตรีวาการกระทรวง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 2. นายกรัฐมนตรีคนปจจุบนคือ…………………………………………………………………… ั รองนายกรัฐมนตรี คือ 1……………………………………….2…………………………….. 3………………………………………..4……………………………. 5………………………………………..6……………………………. 3. รัฐบาล คือ………………………………………………………………………………………. มีความสําคัญคือ…………………………………………………………………………………
  • 31. ใบงานที่ 2 ใหนักเรียนนําหมายเลขหนาขอความเติมลงในแผนภูมิใหถกตอง ู 1. ผูใหญบาน 12. จัดตั้งโดยประกาศของจังหวัด 2. ปลัดจังหวัด 13. เปนหนวยการปกครองรองจากจังหวัด 3. ปลัดอําเภอ 14. เปนหนวยการปกครองของอําเภอ/กิ่งอําเภอ 4. กํานัน 15. ที่ทําการปกครองกิ่งอําเภอ 5. ศาลกลางจังหวัด 16. หัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด 6. นายอําเภอ 17. การเปลี่ยนแปลงตองทําเปน พ.ร.บ. 7. ผูวาราชการจังหวัด 18. การเปลี่ยนแปลงตองทําเปนพระราชกฤษฎีกา 8. หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ 19. มีฐานะเปนนิติบคคล ุ 9. เปนเขตการปกครองสวนภูมภาคใหญที่สุด 20. ไมมีฐานะเปนนิติบคคล ิ ุ 10. เปนสวนหนึ่งของอําเภอ 21. ตั้งตามกฎหมายลักษณะปกครองทองที่ 11. จัดตั้งโดยประกาศของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2475 22. ที่วาการอําเภอ การบริหารราชการสวนภูมิภาค จังหวัด อําเภอ กิ่งอําเภอ ตําบล หมูบาน
  • 32. ใบงานที่ 3 จงเขียนสรุปความหมายของคําตอไปนี้ จังหวัด อําเภอ กิ่งอําเภอ ตําบล หมูบาน
  • 33. ใบงานที่ 4 ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหไดใจความสมบูรณ 1. จุดมุงหมายของการบริหารราชการสวนทองถิ่น คือ………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. ปจจุบันประเทศไทยมีองคการบริหารสวนจังหวัดกี่แหง…………………………………………….. ยกเวนจังหวัดใด…………………………………………………………………………………….. 3. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด (สจ.) มีวาระการดํารงตําแหนงกี่ป…………………………  4. สมาชิกสภาเทศบาล ทําหนาที่ฝายใด………………………………………………………………… คณะเทศมนตรี ทําหนาที่ฝายใด…………………………………………………………………….. คณะเทศมนตรี ประกอบดวย………………………………………………………………………. 5. องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) จัดตั้งขึ้นเมื่อใด…………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… 6. ใหบอกจํานวนสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (ส.อบต.)………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 7. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มีวาระการดํารงตําแหนงกี่ป………………………………………….  8. ปจจุบันกรุงเพทมหานครมีเขตการปกครองกี่เขต……………………………………………………. แตละเขตเลือกสมาชิกสภาเขตไดกคน………………………………………………………………. ี่ 9. เพราะเหตุใดจึงจัดใหเมืองพัทยามีการปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 10.ใหบอกโครงสรางการบริหารเมืองพัทยา…………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 34. ใบงานที่ 5 นักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. การเลือกตั้งมีความสําคัญอยางไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. บุคคลตอไปนี้มีพฤติกรรมอยางไร 2.1 ผูไปใชสิทธิเลือกตั้ง  ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2.2 ผูไมไปใชสิทธิเลือกตั้ง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2.3 ผูทําบัตรเสีย ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2.4 ผูสมัครรับเลือกตั้ง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. พรรคการเมืองเกี่ยวของกับการเลือกตั้งอยางไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………