SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1
 


 

                                           บทที่ 1
                                           บทนํา

ที่มาและความสําคัญ
         น้ํามีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอชีวิตประจําวันวันของมนุษย ทั้งในดานการอุปโภค บริโภค
การเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แตในปจจุบันมีการปลอยน้ําทิ้งจากบานเรือน โรงเรียน หนวยงาน
ตางๆ และโรงงานอุตสาหกรรมลงในแหลงน้ําตามธรรม ซึ่งสงผลทําใหน้ําในธรรมชาติเกิดการเนาเสีย
และยังสงผลตอสิ่งมีชวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้นๆ ดวย ทําใหเกิดปญหามลพิษทางน้ํา สงผลตอ
                       ี
สุขภาพและจิตใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาน้ําทิ้งในโรงเรียน ซึ่งสาเหตุสําคัญมาจากการปลอยน้ําทิ้ง
จากโรงอาหาร น้ําทิ้งจากหองสํานักงาน หองปฏิบัติการ สูรางระบายน้า เนื่องจากน้ําทิ้งจากการ
                                                                      ํ
ประกอบอาหาร น้ําทิ้งจากการรับประทานอาหารหองสํานักงาน และการลางจานประกอบดวยเศษ
อาหาร เครื่องปรุง แปง และไขมัน โดยเฉพาะคราบไขมันซึ่งแขวนลอยอยูบนผิวน้ํา ซึ่งเปน
องคประกอบหนึ่งของน้ําเสียที่กําจัดและสลายไดยาก หากมีปริมาณไขมันในน้ามากเกินไปจะสงผล
                                                                             ํ
เสียอยางมากไดแก เกิดครบไขมันแขวนลอยอยูบนผิวน้ํา เกิดการอุดตันของทอระบายน้ํา เกิดคราบ
สกปรกในทอระบายน้ํา พืชน้ําไมสามารถสังเคราะหแสง และมีผลตอการหาอาหารและการดํารงชีวิต
ของสัตยน้ําตางๆ นอกจากนีกลิ่นเหม็นจากน้ําเสียยังมีผลตอสุขภาพของนักเรียนและการจัดการเรียน
                             ้
การสอนภายในโรงเรียน
         แมวาการปลอยน้ําทิ้งจากโรงอาหาร และหองสํานักงานจะมีการกรองเศษอาหารตางๆใน
              
เบื้องตนแลว แตยังไมสามารถกรองคราบไขมันที่แขวนลอยอยูในน้ําทิงได ดวยเหตุนผูจัดทําโครงงาน
                                                                        ้         ี้
จึงมีความสนใจที่จะศึกษาอุปกรณที่ใชในการดักจับคราบไขมันที่มาจากน้ําทิ้งในโรงอาหาร และหอ
งํานักงานของโรงเรียน โดยใชวัสดุที่สามารถหาไดงายในทองถิ่นหรือในบริเวณโรงเรียนที่มี
ความสามารถในการดูดซับคราบไขมัน เพื่อชวยลดปริมาณน้ําเสียภายในโรงเรียน และสามารถนําน้ํา
ที่ผานการบําบัดแลวไปใชในกิจกรรมอื่นๆ เชน นําไปรดน้ําตนไมในแปลงเกษตร และสวนสาธิต
เกษตรอินทรีย เปนตน
2
 



จุดประสงค
      1. เพื่อหาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําของวัสดุดดซับ
                                                                                 ู
ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น
      2. เพื่อสรางเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้งในโรงเรียน
      3. เพื่อศึกษาคุณภาพน้ําทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน

สมมติฐาน
         1. วัสดุดูดซับแตกตางกัน มีความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ํา
ไดตางกัน
         2. ความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันมีผลตอการไหล
ของน้ํา
         3. คุณภาพน้ําทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันมีคุณภาพดีกวากอนผานเครืองกรอง
                                                                                        ่
ดูดซับคราบน้ามัน
               ํ

ขอบเขตของการศึกษา
      1. ระยะเวลาทีใชในการศึกษา
                       ่
         1.1 การเตรียมวัสดุในการดูดซับและเครืองกรอง
                                               ่
              เดือน 15 มิถุนายน- 15 สิงหาคม 2555
         1.2 การหาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําของวัสดุดดซับ   ู
ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น
              เดือน 15-20 สิงหาคม 2555
         1.3 การสรางเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้ง
              เดือน 21-22 สิงหาคม 2555
         1.4 การหาคุณภาพน้ําทิ้งทีผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้าทิ้ง
                                   ่                                               ํ
              เดือน 25 สิงหาคม 2555
      2. สถานที่ทําการศึกษา
         2.1 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรทั่วไป
         2.2 หองสํานักงานโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
         2.3 โรงอาหารโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
      3. วัสดุดูดซับที่ใช
           3.1 ขุยมะพราว 3.2 กาบมะพราว 3.3 ขี้เลื่อย 3.4 ชานออย
3
 



ตัวแปรที่เกี่ยวของในการศึกษา
           ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ
                                                                                       ํ
ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด
           1.1 วัสดุธรรมชาติท่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 6 ชนิด
                              ี
               ตัวแปรตน        ชนิดของวัสดุดูดซับธรรมชาติ 8 ชนิดไดแก ชานออย ขุยมะพราว กาบ
มะพราว กอนกรวดขนาดใหญ กอนกรวดขนาดเล็ก ทราย ผงถาน ขี้เลื่อย
               ตัวแปรตาม        ความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําในน้ํา
ทิ้งของวัสดุดดซับ
                ู
               ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ
ตัวอยางน้ํา
           1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด
                                           ู
               ตัวแปรตน        ชนิดของวัสดุดูดซับธรรมชาติ 4 ชนิดไดแก ชานออย ขุยมะพราว
ขี้เลื่อย กาบมะพราว
               ตัวแปรตาม        ความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําในน้ํา
ทิ้งของวัสดุดดซับ ู
               ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ
ตัวอยางน้ํา
           ตอนที่ 2 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมี
                                                                                         ํ
ผลตอการไหลของน้ํา
                ตัวแปรตน         ความหนาของชั้นวัสดุดูดซับ
               ตัวแปรตาม          ความเร็วในการไหลของน้ํา
               ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาเก็บ
ตัวอยางน้ํา
           ตอนที่ 3 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน
                                         ํ
                ตัวแปรตน        น้ําทิงกอนผานเครืองกรองดูดซับคราบน้ํามันและหลังผานเครื่องกรอง
                                       ้            ่
ดูดซับคราบน้ามัน    ํ
                ตัวแปรตาม        คุณภาพของน้ําทิ้ง ไดแก ปริมาณน้ํามัน อุณหภูมิ
คาความเปนกรด-เบส (pH) สี กลิ่น
                ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงทีมาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ
                                                      ่
ตัวอยางน้ํา
4
 



นิยามศัพทเฉพาะ
         น้ําทิ้ง หมายถึง น้ําที่ผานทอระบายน้ําของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย อําเภอปะเหลียน จังหวัด
ตรัง ทําการเก็บโดยรองจากทอที่ตอจากทอน้ําทิ้งจากโรงอาหาร ในชวงเวลา 09.00-11.00 น.
         คุณภาพของน้าทิ้ง วัดจากปริมาณไขมัน อุณหภูมิ คาความเปนกรด-เบส (pH) สี กลิ่น
                            ํ
ปริมาณตะกอน
         กาบมะพราว คือ กาบมะพราวที่ผานการสับใหเปนชินเล็กๆ เปนรูปสี่เหลี่ยม
                                                                ้
         ชานออย คือ ออยที่ผานการบีบเอาน้ําออยออกหมดแลว นํามาตัดเปนทอนเล็กๆแลวตาก
แดดใหแหง
         ขี้เลื่อย คือ ขี้เลื่อยชนิดหยาบที่ไดจากการเลือยไม นํามาตากแดดใหแหง
                                                       ่
ขุยมะพราว คือกาบมะพราวที่ผานการสับใหเปนชิ้นเล็กๆ เปนรูปสี่เหลี่ยม
         ขุยมะพราว คือ กาบมะพราวที่ผานเครื่องปนแหงใหยุยละเอียด
         เครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน คือ เครื่องกรองน้ําที่สรางขึ้นเพื่อใชบําบัดน้ําทิ้งจากหอง
สํานักงาน และน้ําทิ้งจากโรงอาหารของโรงเรียน มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 เปนชั้นดักเศษอาหาร ชั้นที่ 2 เปน
ชั้นดักคราบน้ามัน ชั้นที่ 3 เปนชั้นดูดซับสีและกลิ่น ชันที่ 4 เปนชั้นกรองตะกอน
                 ํ                                       ้

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
      1. ไดเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน เพื่อใชในการกรองน้ําทิ้งหองสํานักงาน และโรงอาหาร
ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย
      2. ไดวัสดุทนํามาใชดูดซับไขมันในน้ําทิ้งของโรงอาหารกอนปลอยสูรางระบายน้ําของ
                   ี่
  โรงเรียน
      3. ไดทราบความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุดูดซับ
                                                                              ํ
ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น
      4. ไดเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้งในโรงเรียน
      5. ไดทราบคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน
                            ํ
      6. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน
      7. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป
5
 



                                           บทที่ 2
                                      เอกสารที่เกียวของ
                                                  ่

น้ํา (water)
        น้ําเปนสารประกอบของกาซไฮโดรเจนตอออกซิเจนในอัตราสวน 2:1 โดยปริมาตรหรือ 1:8
โดยมวลมีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Hydrogen Oxide โดยมีสูตรโมเลกุลคือ H2O
        คุณสมบัตของน้ํา
                     ิ
             1. เปนของเหลวใสไมมกลิ่น ไมมีรส และไมมีสี
                                       ี
             2. เปนตัวทําละลายที่ดี
             3. มีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส และมีจุดเยือกแข็งที่ 0 องศาเซลเซียส
             4. มีความหนาแนนมากที่สุด คือ 1 กรัม ตอ 1 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 4 องศา
เซลเซียส
             5. เมื่อน้ํากลายเปนน้ําแข็ง จะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น

น้ําเสีย
         น้ําเสีย หมายถึง น้ําที่มีสารใด ๆ หรือสิ่งปฏิกูลที่ไมพงปรารถนาปนอยู การปนเปอนของสิ่ง
                                                                ึ
สกปรกเหลานี้ จะทําให คุณสมบัติของน้ําเปลี่ยนแปลงไปจนอยูในสภาพที่ไมสามารถนํากลับมาใช
                                                                  
ประโยชนได สิ่งปนเปอนทีอยูในน้ําเสีย ไดแก น้ํามัน ไขมัน ผงซักฟอก สบู ยาฆาแมลง สารอินทรียที่
                              ่
ทําใหเกิดการเนาเหม็นและเชื้อโรคตาง ๆ
         แหลงที่มาของน้ําเสียแบงไดเปน 2 แหลงใหญ ๆ ดังนี้
               1. น้ําเสียจากแหลงชุมชน มาจากกิจกรรมสําหรับการดํารงชีวิตของคนเรา เชน อาคาร
บานเรือน หมูบานจัดสรร คอนโดมิเนียม โรงแรม ตลาดสด โรงพยาบาล เปนตน จากการศึกษาพบวา
                 
ความเนาเสียของคูคลองเกิดจากน้ําเสียประเภทนี้ ถึงประมาณ 75%
               2. น้ําเสียจากกิจกรรมอุตสาหกรรม ไดแกน้ําเสียจากขบวนผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม
รวมทั้งน้ําหลอเย็นที่มี ความรอนสูง และน้ําเสียจากหองน้ําหองสวมของคนงานดวยความเนาเสียของ
คุคลองเกิดจากน้ําเสียประเภทนี้ประมาณ 25% แมจะมีปริมาณไมมากนัก แตสิ่งสกปรกในน้ําเสียจะ
เปนพวกสารเคมีที่เปนพิษและพวกโลหะหนักตาง ๆ รวมทั้งพวก สารอินทรียตาง ๆ ที่มีความเขมขน
สูงดวย
6
 



          กรรมวิธีในการบําบัดน้าเสีย ํ
              การบําบัดน้ําเสียใหเปนน้ําที่สะอาดกอนปลอยทิ้งเปนวิธการหนึ่งในการแกไขปญหา
                                                                        ี
แมน้ําลําคลองเนาเสีย โดยอาศัยกรรมวิธีตาง ๆ เพื่อลดหรือทําลายความสกปรกที่ปนเปอนอยูใน
หองน้ําไดแก ไขมัน น้ํามัน สารอินทรีย สารอนินทรีย สารพิษ รวมทั้งเชื้อโรคตางๆ ใหหมดไปหรือ
ใหเหลือนอยที่สุดเมื่อปลอยทิ้งลงสูแหลงน้ําก็จะไมทาใหแหลงน้ํานั้นเนาเสีย อีกตอไป
                                                        ํ
          ขั้นตอนในการบําบัดน้าเสียํ
              เนื่องจากน้ําเสียมีแหลงที่มาแตกตางกันจึงทําใหมีปริมาณและความสกปรกของน้ําเสีย
แตกตางกันไปดวยในการ ปรับปรุง คุณภาพของน้ําเสียจําเปนจะตองเลือกวิธีการที่เหมาะสมสําหรับ
กรรมวิธีในการปรับปรุงคุรภาพของน้ําเสียนั้นก็มีหลายวิธีดวยกันโดยพอจะแบงขั้นตอนในการบําบัด
ออกไดดังนี้
                การบําบัดน้ําเสียขันเตรียมการ (Pretreatment)
                                       ้
                       เปนการกําจัดของแข็งขนาดใหญออกเสียกอนที่น้ําเสียจะถูกปลอยเขาสูระบบ
บําบัดน้ําเสีย เพื่อปองกันการอุดตันทอน้ําเสีย และเพื่อไมทําความเสียหายใหแกเครืองสูบน้ํา การ
                                                                                       ่
บําบัดในขั้นนีไดแก การดักดวยตะแกรง การบดตัดเปนการลดขนาดหรือปริมาตรของแข็งใหเล็กลง
                ้
ถาสิ่งสกปรกที่ลอยมากับน้าเสียเปนสิ่งที่เนาเปอยไดตองใชเครื่องบดตัดใหละเอียด กอนแยกออกดวย
                               ํ
การตกตะกอน การดักกรวดทราย เปนการกําจัดพวกกรวดทรายทําใหตกตะกอนในรางดักกรวดทราย
โดยการลดความเร็วน้ําลง การกําจัดไขมันและน้ํามันเปนการกําจัดไขมันและน้ํามันซึ่งมักอยูในน้ํา
เสียที่มาจากครัว โรงอาหาร หองน้ํา ปมน้ํามัน และโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดโดยการกักน้ําเสียไว
ในบอดักไขมันในชวงเวลาหนึ่งเพื่อใหน้ํามันและไขมันลอยตัวขึ้นสูผิวน้ําแลวใชเครื่องตักหรือกวาด
ออกจากบอ
                  การบําบัดน้ําเสียขันที่สอง (Secondary Treatment)
                                         ้
                     เปนการกําจัดน้ําเสียที่เปนพวกสารอินทรียอยูในรูปสารละลายหรืออนุภาค
คอลลอยด โดยทั่วไปมักจะเรียกการบําบัด ขั้นที่สองนี้วา "การบําบัดน้ําเสียดวยขบวนการทาง
ชีววิทยา" เนื่องจากเปนขันตอนที่ตองอาศัยจุลินทรียในการยอยสลาย หรือทําลายความสกปรกในน้า
                            ้                                                                         ํ
เสีย การบําบัดน้ําเสียในปจจุบันอยางนอยจะตองบําบัดถึงขั้นที่สองนี้ เพือใหน้ําเสียที่ผาน การบําบัด
                                                                          ่
แลวมีคุณภาพมาตรฐานน้ําทิงที่ทางราชการกําหนดไว การบําบัดน้ําเสียดวยขบวนการทางชีววิทยา
                                 ้
แบงเปน 2 ประเภท ไดแก ขบวนการทีใชออกซิเจน ขบวนการที่ไมใชออกซิเจน
                                             ่
                  การบําบัดน้ําเสียขันสูง (Advanced Treatment)
                                           ้
                     เปนการบําบัดน้ําเสียที่ผานการบําบัดในขั้นที่สองมาแลว เพื่อกําจัดสิ่งสกปรก
บางอยางที่ยังเหลืออยู เชน โลหะหนัก หรือเชื้อโรคบางชนิดกอนจะระบายน้าทิ้งลงสูแหลงน้ํา
                                                                               ํ
7
 



สาธารณะการบําบัดขั้นนี้มักไมนิยมปฏิบัตกัน เนื่องจากมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียคาใชจายสูง
                                       ิ
นอกจากผูบําบัดจะมีวัตถุประสงคในการนําน้ําที่บําบัดแลวกลับคืนมาใชอีกครั้ง

คุณภาพน้ํา
           คุณภาพหมายถึง คุณภาพในแหลงน้ํา อาจเปนแมน้ําลําธาร อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ ทะเล
ตลอดจนแหลงน้ําใตดน ความหมายของคุณภาพน้ําสําหรับผูใชน้ําแตละกลุมจึงมีความแตกตางกัน
                          ิ
เชน หากคํานึงถึงความบริสุทธิ์ของน้ํา น้ําที่มีสารประกอบตางๆละลายอยูนอย เชน น้ํากลั่นจะมี
คุณภาพดีที่สุด ในขณะที่น้ําทะเลซึ่งมีเกลือแรละลายอยูมาก จะมีคณภาพไมดี อยางไรก็ตามสิ่งมีชีวต
                                                                      ุ                            ิ
ทั้งหลายชนิดดํารงอยูไดในน้ําทะเลเทานัน ดังนั้นน้ําทะเลจึงมีคุณภาพเหมาะสมสําหรับสิ่งมีชีวิต
                                                ้
เหลานี้ จึงอาจกลาวไดวา คุณภาพน้ําที่ดี คือ คุณภาพน้ําที่เหมาะสําหรับการใชประโยชนจากแหลงน้ํา
ตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว
           ดัชนีวดคุณภาพน้ํา
                   ั
              1. คาพีเอช (pH) หรือคาความเปนกรด-ดาง คาพีเอชจะมีคาอยูในชวง 0-14 คาพีเอชมากก
วา 7 หมายถึงมีสภาพเปนดาง คาพีเอชนอยกวา 7 หมายถึงมีสภาพเปนกรด สําหรับคาพีเอชในน้าทิ้งที่   ํ
เหมาะสม ควรอยูในชวง 5-9 จึงจะไมมีผลกระทบและเปนอันตรายตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชวิตใน        ี
น้ําและการนําไปใชประโยชน
              2. อุณหภูมิ น้ําเสียที่เปนน้าอุนหรือน้ํารอนถาถูกปลอยออกมาเปนจํานวนมากจะสงผล
                                           ํ
กระทบตอระบบนิเวศแหลงน้ําได เชน น้ําหลอเย็นจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือโรงไฟฟา
              3. สีและความขุน จะขัดขวางการสังเคราะหแสงของพืชน้ําและ แพลงตอนพืชในน้าได      ํ
              4. ของแข็ง ทั้งของแข็งแขวนลอย ตะกอนจมตัวได ของแข็งละลายน้า จะทําใหเกิดสภาพ
                                                                                   ํ
ไรออกซิเจนในทองน้ํา และแหลงน้ําตื้นเขินได
              5. สารแขวนลอย ทั้งอินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุ จะปดกั้นแสงอาทิตยไมใหสองถึง
                                                                                            
สิ่งมีชีวิตในน้าที่มีสีเขียว ทําใหมผลกระทบตอนิเวศวิทยาของสิ่งแวดลอม
                 ํ                    ี
              6. สารอินทรีย ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ซึ่งสามารถยอยสลายไดโดยจุลินทรีย
ที่ใชออกซิเจน ทําใหระดับการใชออกซิเจนละลาย(DO) ลดลง จนเกิดสภาพเนาเสีย สามารถวัดไดใน
รูป บีโอดี (BOD)
              7. สารอนินทรีย ไดแก กรด ดาง เกลือชนิดตางๆ โลหะ และสารอื่นๆ ไมทําใหน้ําเนาเหม็น
แตทไใหสภาพน้ําปนเปอน และอาจเปนพิษตอสิ่งมีชวิต         ี
              8. ธาตุอาหาร ไดแก เกลือของสารประกอบไนโตรเจนและฟอสเฟต เมื่อมีปริมาณสูงและ
เปนสัดสวนที่เหมาะสมจะทําใหสาหรายเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว (ปรากฎการณยูโทรฟเคชั่น
8
 



Eutrophication หรือ แอลจีบลูม Algae Bloom) ทําใหระดับออกซิเจนในน้ําลดลงตอนกลางคืน และ
น้ําเนาเสียเนื่องจากการตายของสาหราย
            9. กลิ่นเหม็น ถึงแมวาจะไมเปนอันตรายตอสุขภาพโดยตรง แตก็เปนผลกระทบที่รุนแรงตอ
การดํารงชีวิตและจิตใจของประชาชน
           10. น้ํามันและไขมัน เปนอุปสรรคตอการทะลุของแสงลงสูลําน้ําและกีดขวางการกระจายตัว
ของออกซิเจนลงสูน้ํา
           11. จุลินทรีย นอกจากจะทําใหน้ําเนามีกลิ่นเหม็นแลว จุลินทรียบางชนิดยังเปนเชื้อโรคที่
อันตรายตอมนุษยอกดวย จุลินทรียตัวทีใชเปนดัวชี้วดคุณภาพน้ําคือ แบคทีเรียชนิดโคลิฟอรม
                      ี                   ่            ั
           12. วัตถุมีพิษชนิดสารอนินทรีย ประกอบดวยสารประกอบโลหะ เชน ปรอท ตะกัว แค         ่
ดเมี่ยม ทองแดง ฯลฯ และทีเ่ ปนอโลหะ เชน สารหนู สารเคมีกําจัดศัตรูพืช
           13. วัตถุมีพิษชนิดสารอินทรีย สวนใหญเปนสารประกอบอินทรียที่มสวนประกอบของ
                                                                               ี
ฟอสฟอรัส คลอรีน และสารอื่นๆ
           14. สารประกอบกํามะถัน กาซไฮโดรเจนซัลไฟด ทําใหเกิดกลิ่นเหม็น และกัดกรอนอุปกรณ
และอาคารที่ตั้งอยูใกลกับทางระบายน้ําเสีย เปนดัชนีประเภทไมตองการอากาศ (Anaerobic Index)
ของแหลงน้ํานั้น

          ลักษณะของน้าขางตนอาจจําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้
                            ํ
          1. คุณสมบัติทางกายภาพของน้า คือ ลักษณะทางภายนอกที่แตกตางกัน เชนความใส ความ
                                             ํ
ขุน กลิ่น สี เปนตน
                - อุณหภูมิ (temperature) อุณหภูมของน้ํามีผลในดานการเรงปฏิกิริยาทางเคมีซึ่งจะสงผล
                                                   ิ
ตอการลดปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา
                - สี (color) สีของน้ําเกิดจากการสะทอนแสงของสารแขวนลอยในน้ํา เชน น้ําตาม
ธรรมชาติจะมีสเี หลืองซึ่งเกิดจากกรดอินทรีย น้ําในแหลงน้ําที่มีใบไมทับถมจะมีสีน้ําตาล หรือถามี
ตะไครน้ําก็จะมีสเี ขียว
                - กลิ่นและรส กลิ่นและรสของน้ําจะมีคณสมบัติแตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณสารอินทรีย
                                                      ุ                     
ที่อยูในน้ํา เชน ซากพืช ซากสัตวท่เี นาเปอยหรือสารในกลุมของฟนอล เกลือโซเดียมคลอไรดซ่งจะทํา
                                                                                            ึ
ใหน้ํามีรสกรอยหรือเค็ม
                - ความขุน (turbidity) เกิดจากสารแขวนลอยในน้ํา เชน ดิน ซากพืช ซากสัตว
               - การนําไฟฟา (electical conductivity) บอกถึงความสามารถของน้ําที่กระแสไฟฟา
สามารถไหลผาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของอิออนโดยรวมในน้ํา และอุณหภูมิขณะทําการวัดคา
                                 
9
 



การนําไฟฟา
           - ของแข็งทังหมด (total solid: TS) คือ ปริมาณของแข็งในน้ํา สามารถคํานวณจากการ
                          ้
ระเหยน้ําออก ไดแก ของแข็งละลายน้ําทั้งหมด (Total Dissolved Solids: TDS) จะมีขนาดเล็กผาน
ขนาดกรองมาตรฐาน คํานวณไดจากการระเหยน้ําทีกรองผานกระดาษกรองออกไป ของแข็ง
                                                   ่
แขวนลอย (Suspended Solids: SS) หมายถึง ของแข็งที่อยูบนกระดาษกรองมาตรฐานหลังจากการ
กรอง แลวนํามาอบเพื่อระเหยน้ําออก ของแข็งระเหยงาย (Volatile Solids: VS) หมายถึง สวนของแข็ง
ที่เปนสารอินทรียแตละลายน้ํา สามารถคํานวณไดโดยการนํากระดาษกรองวิเคราะหเอาของแข็งที่
แขวนลอยออก แลวนําของแข็งสวนที่ละลายทั้งหมดมาระเหยอุณหภูมิประมาณ 550 องศาเซลเซียส
นําน้ําหนักน้ําที่ชั่งหลังการกรองลบดวยน้ําหนักหลังจากการเผา น้ําหนักที่ไดคือ ของแข็งสวนที่ระเหย
ไป
           2. สมบัติทางดานเคมีของน้า คือ ลักษณะทางเคมีของน้ํา เชน ความเปนกรด - เบส ความ
                                      ํ
กระดาง ปริมาณออกซิเจนทีละลายน้ํา เปนตน
                                ่
              - pH แสดงความเปนกรดหรือเบสของน้ํา ( น้ําดื่มควรมีคา pH ระหวาง 6.8-7.3)
โดยทั่วไปน้ําที่ปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมมักจะมีคา pH ที่ต่ํา (PH < 7) ซึ่งหมายถึงมีความเปน
กรดสูงมีฤทธิ์กัดกรอน การวัดคา pH ทําไดงาย โดยการใชกระดาษลิตมัสในการวัดคาความเปนกรด –
เบส ซึ่งใหสีตามความเขมขนของ [H+] หรือการวัดโดยใช pH meter เมื่อตองการใหมีความละเอียด
มากขึ้น สภาพเบส (alkalinity) คือสภาพทีน้ํามีสภาพความเปนเบสสูงจะประกอบดวยไอออน
                                          ่
ของ OH-, CO3- ,H2CO3ของธาตุแคลเซียม โซเดียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม หรือแอมโมเนีย ซึ่ง
สภาพเบสนี้จะชวยทําหนาทีคลายบัฟเฟอรตานการเปลี่ยนแปลงคา pH ในน้ําทิ้ง สภาพกรด ( acidity)
                              ่             
โดยทั่วไปน้ําทิ้งจากแหลงชุมชนจะมีบฟเฟอรในสภาพเบสจึงไมทําใหนํามีคา pH ที่ต่ําเกินไป แตน้ํา
                                        ั                              ้
ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมมักจะมีคา pH ต่ํากวา 4.5 ซึ่งมาจาก CO2 ที่ละลายน้ํา
              - ความกระดาง (hardness) เปนการไมเกิดฟองกับสบูและเมื่อตมน้ํากระดางนี้จะเกิด
ตะกอน น้ํากระดางชัวคราว เกิดจากสารไบคารบอเนต (CO32-) รวมตัวกับ ไออออนของโลหะ
                        ่
เชน Ca2+,Mg2+ ซึ่งสามารถแกไดโดยการตม นอกจากนี้แลวยังมีความกระดางถาวรซึ่งเกิดจากอิออนข
องโลหะและสารที่ไมใชพวกคารบอเนต เชน SO42-- ,NO3- , CI- รวมตัวกับ Ca2+, Fe2+,Mg2+เปนตน
ความกระดางจึงเปนขอเสียในดานการสิ้นเปลืองทรัพยากร คือตองใชปริมาณสบูหรือผงซักฟอกใน
การซักผาในปริมาณมาก ซึ่งก็จะเกิดตะกอนมากเชนกัน
              - ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (dissolved oxygen, DO) แบคทีเรียที่เปนสารอินทรียใน
น้ําตองการออกซิเจน (aerobic bacteria) ในการยอยสลายสารอนินทรีย ความตองการออกซิเจนของ
แบคทีเรียนีจะทําใหจะทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดลง ดังนันในน้ําที่สะอาดจะมีคา DO
            ้                                                        ้
10
 



สูง และน้ําเสียจะมีคา DO ต่ํา มาตรฐานของน้ําที่มีคุณภาพดีโดยทัวไปจะมีคา DO ประมาณ 5-8 ppm
                                                                    ่
หรือปริมาณ O2 ละลายอยูปริมาณ 5-8 มิลลิกรัม / ลิตร หรือ 5-8 ppm น้ําเสียจะมีคา DO ต่ํากวา 3 ppm
                                                                                 
คา DO มีความสําคัญในการบงบอกวาแหลงน้ํานั้นมีปริมาณออกซิเจน
เพียงพอตอความตองการของสิ่งมีชีวิตหรือไม
               - บีโอดี (biological oxygen demand) เปนปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย
ตองการใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ํา น้ําที่มีคุณภาพดี ควรมีคาบีโอดี ไมเกิน 6 มิลลิกรัมตอ
ลิตร ถาคาบีโอดีสูงมากแสดงวาน้ํานั้นเนามาก แหลงน้าที่มคาบีโอดีสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอลิตรจะ
                                                         ํ ี
จัดเปนน้ําเนาหรือน้ําเสีย พระราชบัญญัติน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม กําหนดไววา น้ําทิ้งกอน
ปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ตองมีคาบีโอดีไมเกิน 20 มิลลิกรัมตอลิตร การหาคา บีโอดี หาไดโดยใช
แบคทีเรียยอยสลายอินทรียสารซึ่งจะเปนไปชา ๆ ดังนันจึงตองใชเวลานานหลายสิบวัน ตามหลัก
                                                       ้
สากลใชเวลา 5 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสโดยนําตัวอยางน้ําทีตองการหาบีโอดีมา 2 ขวด ขวด
                                                                      ่
หนึ่งนํามาวิเคราะหเพื่อหาคาออกซิเจนทันที สมมุติวามีออกซิเจนอยู 6.5 มิลลิกรัมตอลิตร สวนน้ําอีก
ขวดหนึ่งปดจุกใหแนน เพื่อไมใหอากาศเขา นําไปเก็บไวในที่มดที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสนาน 5
                                                                ื
วัน แลวนํามาวิเคราะหหาปริมาณออกซิเจน สมมุติได 0.47 มิลลิกรัม ตอลิตร ดังนั้นจะไดคาซึ่งเปน
ปริมาณออกซิเจน ที่ถูกใชไป หรือ คาบีโอดี = 6.5-0.47 = 5.03 มิลลิกรัมตอลิตร
               - COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณ O2ที่ใชในการออกซิไดซในการสลาย
สารอินทรียดวยสารเคมีโดยใชสารละลาย เชน โพแทสเซียมไดโครเมต (K2Cr2O7) ในปริมาณมากเกิน
พอ ในสารละลายกรดซัลฟวริกซึ่งสารอินทรียในน้ําทั้งหมดทั้งที่จุลินทรียยอย
สลายไดและยอยสลายไมไดก็จะถูกออกซิไดซภายใตภาวะที่เปนกรดและการใหความรอน โดยทั่วไป
คา COD จะมีคามากกวา BOD เสมอ ดังนั้นคา COD จึงเปนตัวแปรทีสําคัญตัวหนึ่งที่แสดงถึงความ
                                                                       ่
สกปรกของน้ําเสีย
             - ทีโอซี (Total Organic Carbon: TOC) คือ ปริมาณคารบอนในน้ํา
             - ไนโตรเจน เปนธาตุสําคัญสําหรับพืช ซึ่งจะอยูในรูปของ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ไน
ไตรท ไนเตรต ยิ่งถาในน้ํามีปริมาณไนโตรเจนสูง จะทําใหพืชน้าเจริญเติบโตอยาง
                                                                  ํ
รวดเร็ว
             - ฟอสฟอรัส ในน้ําจะอยูในรูปของสารประกอบพวก ออรโธฟอสเฟต (Orthophosphate)
                                       
เชนสาร PO43-, HPO42- , H2 PO4- และ H3PO4 นอกจากนี้ยังมีสารพวกโพลีฟอสเฟต
             - ซัลเฟอร มีอยูในธรรมชาติและเปนองคประกอบภายในของสิ่งมีชีวิต สารประกอบ
                              
ซัลเฟอรในน้ําจะอยูในรูปของ organic sulfur เชน ไฮโดรเจนซัลไฟต สารซัลเฟต เปนตน
                      
ซึ่งสารพวกนีจะทําใหเกิดกลิ่นเหม็นเนา เชน ที่เรียกวากาซไขเนา และนอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกรอนใน
               ้
11
 



สิ่งแวดลอมได
              - โลหะหนัก มีท้งที่เปนพิษและไมเปนพิษ แตทั้งนี้ขึ้นอยูกบปริมาณที่ไดรับ
                               ั                                       ั
ถามากเกินไปจะเปนพิษ ไดแก โครเมียม ทองแดง เหล็ก แมงกานีสและสังกะสี บางชนิดไมเปน
อันตรายตอสิ่งมีชีวิต ไดแก แคดเมียม ตะกัว ปรอทและนิกเกิล
                                          ่

โครงงานที่เกี่ยวของ
           นนทและสุวฤทธิ์ (2540) ศึกษาความสามารถในการดูดซับน้ํามันของวัสดุตางๆเพือใชเปน
                                                                                          ่
วัสดุกรองของระบบบําบัดน้าทิ้งที่มีการปนเปอนของน้ํามัน(Oil) ซึ่งอาศัยน้ําเสียสังเคราะหเปนน้ําเสีย
                                  ํ
ที่นําเขาระบบบําบัดจําลอง ซึ่งการทดลองไดเลือกใช กาบมะพราว แกลบเผา และขี้เลื่อย เปนวัสดุ
กรอง และใช pH COD Suspendened Solid และ Oil and Grease เปนตัววัดลักษณะของน้ําเสีย จากผล
การทดลองพบวา วัสดุทใชไดคือ กาบมะพราวและแกลบเผา ซึ่งใชรวมกันสามารถลด COD
                             ี่
Suspendened Solid และ Oil and Grease ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลาวคือสามารถลดคา COD ไดตา           ่ํ
กวา 120 มิลลิกรัมตอลิตร (70.80-91.77%) ลด Suspendened Solid ได 80% และลด Oil and Grease
ไดต่ํากวา 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งอยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งของกระทรวงอุตสาหกรรม
           ศิริพร(2541) ศึกษาประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับ 4 ชนิด คือ ฝาย ขนไก กาบมะพราว และ
ฟางขาว ในน้ามัน 2 ชนิดคือ น้ํามันเตาประเภทเบา และน้ํามันดีเซล ในความเขมขนของคราบน้ํามัน
                ํ
ในน้ํามี 5 ระดับ คือ 50, 10 ,20,40 และ80 กรัม/ลิตร โดยวิธีการชั่งน้ําหนัก พบวา ในการดูดซับคราบ
น้ํามันเตาและดีเซลในน้ํา ฝายมีประสิทธิภาพในการดูดซับมากที่สุด รองลงมาไดแก ขนไก กาบ
มะพราว และฟางขาวตามลําดับ ซึ่งชุดการทดลองที่ใชฝายเปนวัสดุดดซับ คราบน้ํามันเตาที่มความ
                                                                       ู                     ี
เขมขนเริ่มตน 20 กรัม/ลิตร ประสิทธิภาพในการกําจัดดีที่สุด คือ 99.42% และน้ํามันดีเซลที่มีความ
เขมขน 10 กรัม/ลิตร มีประสิทธิภาพในการกําจัด 97.72% นอกจากนียังพบวาฝายมีความเหมาะสมที่
                                                                     ้
จะใชเปนวัสดุดูดซับมากที่สด เนื่องจากสามารถดูดซับคราบน้ํามันไดมากกวา 10 กรัม น้ํามัน/ฝาย 1
                                ุ
กรัม รองลงมาไดแกขนไก สําหรับกาบมะพราวและฟางขาวไมมีความเหมาะสมทีจะนํามาเปนวัสดุ
                                                                                  ่
ดูดซับ เพราะมีความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันประมาณ 3-5 กรัม น้ํามัน/วัสดุดูดซับ 1 กรัม ซึ่ง
มีประสิทธิภาพในการกําจัดไมถึง 50%
12
 



                                     บทที่ 3
                            อุปกรณและวิธีการดําเนินงาน

วัสดุและอุปกรณ
       1. ชานออย
       2. กาบมะพราว
       3. ขุยมะพราว
       4. ขี้เลื่อย
       5. ถาน
       6. ทราย
       7. กอนกรวดขนาดใหญ
       8. กอนกรวดขนาดเล็ก
       9. สําลี
       10. บีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร
       11. กระบอกตวง ขนาด 10 ลูกบาศกเซนติเมตร
       12. กรวยพลาสติก
       13. บิวเรต
       14. แทงแกวคนสาร
       15. ที่ตั้งหลอดทดลอง
       16. ตะแกรงพลาสติก
       17. ขวดพลาสติก
       18. ถังใสน้ํา

วิธีดําเนินการศึกษา
         ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ
                                                                                    ํ
ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด
         1.1 วัสดุธรรมชาติที่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 8 ชนิด
             1. ตวงน้ํา 50 ลูกบาศกเซนติเมตร ใสในบีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตวง
น้ํามันพืช 6 ลูกบาศกเซนติเมตร เทใสในบีกเกอรขางตน แลวคนดวยแทงแกว
13
 



           2. นําชานออยใสในขวดน้ําอัดลมพลาสติกใหมีความสูง 10 เซนติเมตร จากฝาขวด วางไว
กระปองพลาสติก จากนันเทน้ําผสมน้ํามันพืชจากขอ 1. ลงในขวดน้ําอัดลมขางตน
                             ้
           3. หาปริมาณไขมันที่ไหลออกมาดวยบิวเรต ทดลองซ้ําอีก 2 ครั้ง บันทึกผล และคํานวณหา
ปริมาณที่ชานออยดูดซับไว
           4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1-3 โดยเปลี่ยนจากชานออยเปน ผงถาน กรวดกอนเล็ก กาบ
มะพราว กรวดกอนใหญ ทราย ขี้เลื่อย และขุยมะพราว ตามลําดับ
           1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด
                                             ู
           1. ตวงน้ํา 100 ลูกบาศกเซนติเมตร ใสในบีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตวงน้ํามัน
พืช 12 ลูกบาศกเซนติเมตร เทใสในบีกเกอรขางตน แลวคนดวยแทงแกว
           2. สรางแบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันอยางงายดวยขวดน้ําอัดลมพลาสติก สูง
25.5 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 8.8 เซนติเมตร ซึ่งแบงเปนชั้นๆ จากชั้นบนสุด ดังนี้
           ชั้นที่ 1 ชั้นกรองเศษอาหาร โดยใชตะแกรงพลาสติก
           ชั้นที่ 2 ชั้นดูดซับไขมัน ใชวสดุดูดซับที่แตกตางกัน 4 ชนิด คือ กาบมะพราว ขี้เลื่อย ชาน
                                          ั
ออย และขุยมะพรามตามลําดับ สูง 7 เซนติเมตร
           ชั้นที่ 3 ชั้นดูดสี และดับกลิ่น ใชผงถาน จํานวน 50 กรัม
           ชั้นที่ 4 ชั้นจับตะกอน ใชทราย 100 กรัม กรวดกอนเล็ก จํานวน 100 กรัม กรวอดกอนใหญ
จํานวน 100 กรัม และสําลี 1 กรัม
            จากนั้นเทน้ําผสมน้ํามันพืชจากขอ 1. ลงในแบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันอยาง
งายดวยขวดน้าอัดลมพลาสติก ขางตน
                   ํ
           3. หาปริมาณไขมันที่ไหลออกมาดวยบิวเรต ทดลองซ้ําอีก 2 ครั้ง บันทึกผล และคํานวณหา
ปริมาณที่ชานออยดูดซับไว
           4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1-3 โดยเปลี่ยนชั้นบนสุดจากชานออยเปน กาบมะพราว
ขี้เลื่อย และขุยมะพราว ตามลําดับ

ตอนที่ 2 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมีผลตอ
                                                                                ํ
การไหลของน้า  ํ
        1. นําน้ําทิ้งที่มไขมันและเศษอาหาร จํานวน 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร มากรองผาน
                          ี
แบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน โดยใชความหนาของชานออยสูง 3 เซนติเมตร
        2. กรองน้ําทิ้งโดยใหน้ําไหลผานชั้นตางๆ ของแบบจําลองเครื่องกรองน้ํา จับเวลาการไหล
ของน้ํา บันทึกเวลาการไหลของน้ํา
14
 



         3. ทําซ้ํา ขอ 1-2 แตเปลี่ยนความหนาของชันดักจับไขมัน เปน 6 และ 9 เซนติเมตร ตามลําดับ
                                                       ้
ตอนที่ 3 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน
                                   ํ
          1. นําน้ําทิ้งจากโรงอาหารที่เก็บตัวอยางในชวงเวลา 9.00-11.00 น. มาจํานวน 1,000 ลูกบาศก
เซนติเมตร วัดอุณหภูมิของน้าโดยใชเทอรมอมิเตอร วัดคาความเปนกรด-เบส โดยใชกระดาษยูนเิ วอร
                                 ํ
ซัลอินดิเคเตอร สังเกตสี และกลิ่นของน้ํา หาปริมาณไขมันในน้าทิ้ง โดยใชวิธีการทดลองเหมือนตอน
                                                                   ํ
ที่ 1 บันทึกผล
          2. นําน้ําตัวอยางมากรองผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันํ
          ชั้นที่ 1 ชั้นกรองเศษอาหาร โดยใชตะแกรงพลาสติก
          ชั้นที่ 2 ชั้นดูดซับไขมัน ใชวสดุดูดซับ คือ ชานออย สูง 3 เซนติเมตร
                                         ั
          ชั้นที่ 3 ชั้นดูดสี และดับกลิ่น ใชผงถาน จํานวน 1 กิโลกรัม
          ชั้นที่ 4 ชั้นจับตะกอน ใช ทราย จํานวน 2 กิโลกรัม กรวดกอนเล็ก จํานวน 2 กิโลกรัม กรวด
กอนใหญ จํานวน 2 กิโลกรัม และสําลี 10 กรัม
          3. นําน้ําที่ผานการกรองผานเครื่องกรองน้ําดูดคราบไขมัน มาตรวจสอบคุณภาพอีกครั้งหนึ่ง
โดยวัดอุณหภูมิของน้ําโดยใชเทอรมอมิเตอร วัดคาความเปนกรด-เบส โดยใชกระดาษยูนเิ วอรซัล
อินดิเคเตอร สังเกตสี และกลิ่นของน้ํา หาปริมาณไขมันในน้ําทิ้ง โดยใชวิธีการทดลองเหมือนตอนที่ 1
บันทึกผล และเปรียบเทียบผล
15
 



                                             บทที่ 4
                                         ผลการดําเนินงาน
           ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ
                                                                                 ํ
ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด
            1.1 วัสดุธรรมชาติที่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 8 ชนิด
                ตารางที่ 1 แสดงปริมาณน้ํามันพืชที่วัสดุดดซับไว 8 ชนิด (cm3)
                                                          ู
  ชนิดของวัสดุดูดซับ             ครั้งที่ 1         ครั้งที่ 2        ครั้งที่ 3   เฉลี่ย
 1. ชานออย                        0.1                 0.1               0.1        0.3
 2. ขุยมะพราว                     0.2                 0.1               0.1        0.4
 3. กาบมะพราว                     0.2                 0.1               0.2         0.5
 4. กรวดกอนใหญ                   0.4                 0.5               0.4        1.3
 5. กรวดกอนเล็ก                   0.6                 0.5               0.5        1.6
 6. ทราย                           0.4                 0.2               0.3        0.9
 7. ผงถาน                        0.25                 0.3               0.3        0.85
 8. ขี้เลื่อย                      0.2                 0.1               0.2        0.5

           1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด
                                          ู
                ตารางที่ 2 แสดงปริมาณน้ํามันพืชที่วัสดุดดซับไว 4 ชนิด (cm3)
                                                         ู
    ชนิดของวัสดุดูดซับ         ครั้งที่ 1          ครั้งที่ 2        ครั้งที่ 3   เฉลี่ย
    1. ชานออย                   0.1                 0.1                0.1        0.3
    2. ขุยมะพราว                0.2                 0.1                0.1        0.4
    3. กาบมะพราว                0.2                 0.1                0.2        0.5
    4. กรวดกอนใหญ              0.4                 0.5                0.4        1.3

           ตอนที่ 2 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน
                                    ํ
           ตอนที่ 3 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมี
                                                                                    ํ
ผลตอการไหลของน้ํา
 
16
 



นนท         ผลารักษและสุวฟธิ์ จันทรดาประดิษฐ.”การศึกษาความเปนไปไดในการนําน้ําทิ้งจากสถานี
         บริการน้ํามันมาใชใหเกิดประโยชน”.ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต.ภาควิชาวิศวกรรม
         สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน,2540
ศิริพร พงษสันติสุข.”การกําจัดคราบน้ํามันในน้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติเปนตัวดูดซับ”.วิทยานิพนธ
         ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล,2541
http://web.ku.ac.th/schoolnet/
http://www.thaieditorial.com/tag/
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter3/chapter3_water2.htm

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันkrupornpana55
 

What's hot (20)

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
 

Viewers also liked

เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (6)

เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร

ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานapinoopook
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติbenzikq
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 

Similar to โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร (20)

น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร

  • 1. 1     บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ น้ํามีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอชีวิตประจําวันวันของมนุษย ทั้งในดานการอุปโภค บริโภค การเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แตในปจจุบันมีการปลอยน้ําทิ้งจากบานเรือน โรงเรียน หนวยงาน ตางๆ และโรงงานอุตสาหกรรมลงในแหลงน้ําตามธรรม ซึ่งสงผลทําใหน้ําในธรรมชาติเกิดการเนาเสีย และยังสงผลตอสิ่งมีชวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้นๆ ดวย ทําใหเกิดปญหามลพิษทางน้ํา สงผลตอ ี สุขภาพและจิตใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาน้ําทิ้งในโรงเรียน ซึ่งสาเหตุสําคัญมาจากการปลอยน้ําทิ้ง จากโรงอาหาร น้ําทิ้งจากหองสํานักงาน หองปฏิบัติการ สูรางระบายน้า เนื่องจากน้ําทิ้งจากการ ํ ประกอบอาหาร น้ําทิ้งจากการรับประทานอาหารหองสํานักงาน และการลางจานประกอบดวยเศษ อาหาร เครื่องปรุง แปง และไขมัน โดยเฉพาะคราบไขมันซึ่งแขวนลอยอยูบนผิวน้ํา ซึ่งเปน องคประกอบหนึ่งของน้ําเสียที่กําจัดและสลายไดยาก หากมีปริมาณไขมันในน้ามากเกินไปจะสงผล ํ เสียอยางมากไดแก เกิดครบไขมันแขวนลอยอยูบนผิวน้ํา เกิดการอุดตันของทอระบายน้ํา เกิดคราบ สกปรกในทอระบายน้ํา พืชน้ําไมสามารถสังเคราะหแสง และมีผลตอการหาอาหารและการดํารงชีวิต ของสัตยน้ําตางๆ นอกจากนีกลิ่นเหม็นจากน้ําเสียยังมีผลตอสุขภาพของนักเรียนและการจัดการเรียน ้ การสอนภายในโรงเรียน แมวาการปลอยน้ําทิ้งจากโรงอาหาร และหองสํานักงานจะมีการกรองเศษอาหารตางๆใน  เบื้องตนแลว แตยังไมสามารถกรองคราบไขมันที่แขวนลอยอยูในน้ําทิงได ดวยเหตุนผูจัดทําโครงงาน ้ ี้ จึงมีความสนใจที่จะศึกษาอุปกรณที่ใชในการดักจับคราบไขมันที่มาจากน้ําทิ้งในโรงอาหาร และหอ งํานักงานของโรงเรียน โดยใชวัสดุที่สามารถหาไดงายในทองถิ่นหรือในบริเวณโรงเรียนที่มี ความสามารถในการดูดซับคราบไขมัน เพื่อชวยลดปริมาณน้ําเสียภายในโรงเรียน และสามารถนําน้ํา ที่ผานการบําบัดแลวไปใชในกิจกรรมอื่นๆ เชน นําไปรดน้ําตนไมในแปลงเกษตร และสวนสาธิต เกษตรอินทรีย เปนตน
  • 2. 2   จุดประสงค 1. เพื่อหาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําของวัสดุดดซับ ู ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น 2. เพื่อสรางเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้งในโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาคุณภาพน้ําทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน สมมติฐาน 1. วัสดุดูดซับแตกตางกัน มีความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ํา ไดตางกัน 2. ความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันมีผลตอการไหล ของน้ํา 3. คุณภาพน้ําทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันมีคุณภาพดีกวากอนผานเครืองกรอง ่ ดูดซับคราบน้ามัน ํ ขอบเขตของการศึกษา 1. ระยะเวลาทีใชในการศึกษา ่ 1.1 การเตรียมวัสดุในการดูดซับและเครืองกรอง ่ เดือน 15 มิถุนายน- 15 สิงหาคม 2555 1.2 การหาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําของวัสดุดดซับ ู ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น เดือน 15-20 สิงหาคม 2555 1.3 การสรางเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้ง เดือน 21-22 สิงหาคม 2555 1.4 การหาคุณภาพน้ําทิ้งทีผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้าทิ้ง ่ ํ เดือน 25 สิงหาคม 2555 2. สถานที่ทําการศึกษา 2.1 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรทั่วไป 2.2 หองสํานักงานโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 2.3 โรงอาหารโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 3. วัสดุดูดซับที่ใช 3.1 ขุยมะพราว 3.2 กาบมะพราว 3.3 ขี้เลื่อย 3.4 ชานออย
  • 3. 3   ตัวแปรที่เกี่ยวของในการศึกษา ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ ํ ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด 1.1 วัสดุธรรมชาติท่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 6 ชนิด ี ตัวแปรตน ชนิดของวัสดุดูดซับธรรมชาติ 8 ชนิดไดแก ชานออย ขุยมะพราว กาบ มะพราว กอนกรวดขนาดใหญ กอนกรวดขนาดเล็ก ทราย ผงถาน ขี้เลื่อย ตัวแปรตาม ความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําในน้ํา ทิ้งของวัสดุดดซับ ู ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ ตัวอยางน้ํา 1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด ู ตัวแปรตน ชนิดของวัสดุดูดซับธรรมชาติ 4 ชนิดไดแก ชานออย ขุยมะพราว ขี้เลื่อย กาบมะพราว ตัวแปรตาม ความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้ําในน้ํา ทิ้งของวัสดุดดซับ ู ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ ตัวอยางน้ํา ตอนที่ 2 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมี ํ ผลตอการไหลของน้ํา ตัวแปรตน ความหนาของชั้นวัสดุดูดซับ ตัวแปรตาม ความเร็วในการไหลของน้ํา ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงที่มาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาเก็บ ตัวอยางน้ํา ตอนที่ 3 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน ํ ตัวแปรตน น้ําทิงกอนผานเครืองกรองดูดซับคราบน้ํามันและหลังผานเครื่องกรอง ้ ่ ดูดซับคราบน้ามัน ํ ตัวแปรตาม คุณภาพของน้ําทิ้ง ไดแก ปริมาณน้ํามัน อุณหภูมิ คาความเปนกรด-เบส (pH) สี กลิ่น ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ําทิ้ง แหลงทีมาของน้ําทิ้ง เวลาที่ใชทดลอง ระยะเวลาการเก็บ ่ ตัวอยางน้ํา
  • 4. 4   นิยามศัพทเฉพาะ น้ําทิ้ง หมายถึง น้ําที่ผานทอระบายน้ําของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย อําเภอปะเหลียน จังหวัด ตรัง ทําการเก็บโดยรองจากทอที่ตอจากทอน้ําทิ้งจากโรงอาหาร ในชวงเวลา 09.00-11.00 น. คุณภาพของน้าทิ้ง วัดจากปริมาณไขมัน อุณหภูมิ คาความเปนกรด-เบส (pH) สี กลิ่น ํ ปริมาณตะกอน กาบมะพราว คือ กาบมะพราวที่ผานการสับใหเปนชินเล็กๆ เปนรูปสี่เหลี่ยม ้ ชานออย คือ ออยที่ผานการบีบเอาน้ําออยออกหมดแลว นํามาตัดเปนทอนเล็กๆแลวตาก แดดใหแหง ขี้เลื่อย คือ ขี้เลื่อยชนิดหยาบที่ไดจากการเลือยไม นํามาตากแดดใหแหง ่ ขุยมะพราว คือกาบมะพราวที่ผานการสับใหเปนชิ้นเล็กๆ เปนรูปสี่เหลี่ยม ขุยมะพราว คือ กาบมะพราวที่ผานเครื่องปนแหงใหยุยละเอียด เครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน คือ เครื่องกรองน้ําที่สรางขึ้นเพื่อใชบําบัดน้ําทิ้งจากหอง สํานักงาน และน้ําทิ้งจากโรงอาหารของโรงเรียน มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 เปนชั้นดักเศษอาหาร ชั้นที่ 2 เปน ชั้นดักคราบน้ามัน ชั้นที่ 3 เปนชั้นดูดซับสีและกลิ่น ชันที่ 4 เปนชั้นกรองตะกอน ํ ้ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน เพื่อใชในการกรองน้ําทิ้งหองสํานักงาน และโรงอาหาร ของโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย 2. ไดวัสดุทนํามาใชดูดซับไขมันในน้ําทิ้งของโรงอาหารกอนปลอยสูรางระบายน้ําของ ี่ โรงเรียน 3. ไดทราบความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุดูดซับ ํ ธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น 4. ไดเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันที่แขวนลอยบนผิวน้ําทิ้งในโรงเรียน 5. ไดทราบคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน ํ 6. ไดประหยัดคาใชจายและลดปญหาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 7. ไดใชเปนแนวทางในการทําโครงงานอื่นๆ ตอไป
  • 5. 5   บทที่ 2 เอกสารที่เกียวของ ่ น้ํา (water) น้ําเปนสารประกอบของกาซไฮโดรเจนตอออกซิเจนในอัตราสวน 2:1 โดยปริมาตรหรือ 1:8 โดยมวลมีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Hydrogen Oxide โดยมีสูตรโมเลกุลคือ H2O คุณสมบัตของน้ํา ิ 1. เปนของเหลวใสไมมกลิ่น ไมมีรส และไมมีสี ี 2. เปนตัวทําละลายที่ดี 3. มีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส และมีจุดเยือกแข็งที่ 0 องศาเซลเซียส 4. มีความหนาแนนมากที่สุด คือ 1 กรัม ตอ 1 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 4 องศา เซลเซียส 5. เมื่อน้ํากลายเปนน้ําแข็ง จะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น น้ําเสีย น้ําเสีย หมายถึง น้ําที่มีสารใด ๆ หรือสิ่งปฏิกูลที่ไมพงปรารถนาปนอยู การปนเปอนของสิ่ง ึ สกปรกเหลานี้ จะทําให คุณสมบัติของน้ําเปลี่ยนแปลงไปจนอยูในสภาพที่ไมสามารถนํากลับมาใช  ประโยชนได สิ่งปนเปอนทีอยูในน้ําเสีย ไดแก น้ํามัน ไขมัน ผงซักฟอก สบู ยาฆาแมลง สารอินทรียที่ ่ ทําใหเกิดการเนาเหม็นและเชื้อโรคตาง ๆ แหลงที่มาของน้ําเสียแบงไดเปน 2 แหลงใหญ ๆ ดังนี้ 1. น้ําเสียจากแหลงชุมชน มาจากกิจกรรมสําหรับการดํารงชีวิตของคนเรา เชน อาคาร บานเรือน หมูบานจัดสรร คอนโดมิเนียม โรงแรม ตลาดสด โรงพยาบาล เปนตน จากการศึกษาพบวา   ความเนาเสียของคูคลองเกิดจากน้ําเสียประเภทนี้ ถึงประมาณ 75% 2. น้ําเสียจากกิจกรรมอุตสาหกรรม ไดแกน้ําเสียจากขบวนผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งน้ําหลอเย็นที่มี ความรอนสูง และน้ําเสียจากหองน้ําหองสวมของคนงานดวยความเนาเสียของ คุคลองเกิดจากน้ําเสียประเภทนี้ประมาณ 25% แมจะมีปริมาณไมมากนัก แตสิ่งสกปรกในน้ําเสียจะ เปนพวกสารเคมีที่เปนพิษและพวกโลหะหนักตาง ๆ รวมทั้งพวก สารอินทรียตาง ๆ ที่มีความเขมขน สูงดวย
  • 6. 6   กรรมวิธีในการบําบัดน้าเสีย ํ การบําบัดน้ําเสียใหเปนน้ําที่สะอาดกอนปลอยทิ้งเปนวิธการหนึ่งในการแกไขปญหา ี แมน้ําลําคลองเนาเสีย โดยอาศัยกรรมวิธีตาง ๆ เพื่อลดหรือทําลายความสกปรกที่ปนเปอนอยูใน หองน้ําไดแก ไขมัน น้ํามัน สารอินทรีย สารอนินทรีย สารพิษ รวมทั้งเชื้อโรคตางๆ ใหหมดไปหรือ ใหเหลือนอยที่สุดเมื่อปลอยทิ้งลงสูแหลงน้ําก็จะไมทาใหแหลงน้ํานั้นเนาเสีย อีกตอไป ํ ขั้นตอนในการบําบัดน้าเสียํ เนื่องจากน้ําเสียมีแหลงที่มาแตกตางกันจึงทําใหมีปริมาณและความสกปรกของน้ําเสีย แตกตางกันไปดวยในการ ปรับปรุง คุณภาพของน้ําเสียจําเปนจะตองเลือกวิธีการที่เหมาะสมสําหรับ กรรมวิธีในการปรับปรุงคุรภาพของน้ําเสียนั้นก็มีหลายวิธีดวยกันโดยพอจะแบงขั้นตอนในการบําบัด ออกไดดังนี้ การบําบัดน้ําเสียขันเตรียมการ (Pretreatment) ้ เปนการกําจัดของแข็งขนาดใหญออกเสียกอนที่น้ําเสียจะถูกปลอยเขาสูระบบ บําบัดน้ําเสีย เพื่อปองกันการอุดตันทอน้ําเสีย และเพื่อไมทําความเสียหายใหแกเครืองสูบน้ํา การ ่ บําบัดในขั้นนีไดแก การดักดวยตะแกรง การบดตัดเปนการลดขนาดหรือปริมาตรของแข็งใหเล็กลง ้ ถาสิ่งสกปรกที่ลอยมากับน้าเสียเปนสิ่งที่เนาเปอยไดตองใชเครื่องบดตัดใหละเอียด กอนแยกออกดวย ํ การตกตะกอน การดักกรวดทราย เปนการกําจัดพวกกรวดทรายทําใหตกตะกอนในรางดักกรวดทราย โดยการลดความเร็วน้ําลง การกําจัดไขมันและน้ํามันเปนการกําจัดไขมันและน้ํามันซึ่งมักอยูในน้ํา เสียที่มาจากครัว โรงอาหาร หองน้ํา ปมน้ํามัน และโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดโดยการกักน้ําเสียไว ในบอดักไขมันในชวงเวลาหนึ่งเพื่อใหน้ํามันและไขมันลอยตัวขึ้นสูผิวน้ําแลวใชเครื่องตักหรือกวาด ออกจากบอ การบําบัดน้ําเสียขันที่สอง (Secondary Treatment) ้ เปนการกําจัดน้ําเสียที่เปนพวกสารอินทรียอยูในรูปสารละลายหรืออนุภาค คอลลอยด โดยทั่วไปมักจะเรียกการบําบัด ขั้นที่สองนี้วา "การบําบัดน้ําเสียดวยขบวนการทาง ชีววิทยา" เนื่องจากเปนขันตอนที่ตองอาศัยจุลินทรียในการยอยสลาย หรือทําลายความสกปรกในน้า ้ ํ เสีย การบําบัดน้ําเสียในปจจุบันอยางนอยจะตองบําบัดถึงขั้นที่สองนี้ เพือใหน้ําเสียที่ผาน การบําบัด ่ แลวมีคุณภาพมาตรฐานน้ําทิงที่ทางราชการกําหนดไว การบําบัดน้ําเสียดวยขบวนการทางชีววิทยา ้ แบงเปน 2 ประเภท ไดแก ขบวนการทีใชออกซิเจน ขบวนการที่ไมใชออกซิเจน ่ การบําบัดน้ําเสียขันสูง (Advanced Treatment) ้ เปนการบําบัดน้ําเสียที่ผานการบําบัดในขั้นที่สองมาแลว เพื่อกําจัดสิ่งสกปรก บางอยางที่ยังเหลืออยู เชน โลหะหนัก หรือเชื้อโรคบางชนิดกอนจะระบายน้าทิ้งลงสูแหลงน้ํา ํ
  • 7. 7   สาธารณะการบําบัดขั้นนี้มักไมนิยมปฏิบัตกัน เนื่องจากมีขั้นตอนที่ยุงยากและเสียคาใชจายสูง ิ นอกจากผูบําบัดจะมีวัตถุประสงคในการนําน้ําที่บําบัดแลวกลับคืนมาใชอีกครั้ง คุณภาพน้ํา คุณภาพหมายถึง คุณภาพในแหลงน้ํา อาจเปนแมน้ําลําธาร อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ ทะเล ตลอดจนแหลงน้ําใตดน ความหมายของคุณภาพน้ําสําหรับผูใชน้ําแตละกลุมจึงมีความแตกตางกัน ิ เชน หากคํานึงถึงความบริสุทธิ์ของน้ํา น้ําที่มีสารประกอบตางๆละลายอยูนอย เชน น้ํากลั่นจะมี คุณภาพดีที่สุด ในขณะที่น้ําทะเลซึ่งมีเกลือแรละลายอยูมาก จะมีคณภาพไมดี อยางไรก็ตามสิ่งมีชีวต  ุ ิ ทั้งหลายชนิดดํารงอยูไดในน้ําทะเลเทานัน ดังนั้นน้ําทะเลจึงมีคุณภาพเหมาะสมสําหรับสิ่งมีชีวิต ้ เหลานี้ จึงอาจกลาวไดวา คุณภาพน้ําที่ดี คือ คุณภาพน้ําที่เหมาะสําหรับการใชประโยชนจากแหลงน้ํา ตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ดัชนีวดคุณภาพน้ํา ั 1. คาพีเอช (pH) หรือคาความเปนกรด-ดาง คาพีเอชจะมีคาอยูในชวง 0-14 คาพีเอชมากก วา 7 หมายถึงมีสภาพเปนดาง คาพีเอชนอยกวา 7 หมายถึงมีสภาพเปนกรด สําหรับคาพีเอชในน้าทิ้งที่ ํ เหมาะสม ควรอยูในชวง 5-9 จึงจะไมมีผลกระทบและเปนอันตรายตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชวิตใน ี น้ําและการนําไปใชประโยชน 2. อุณหภูมิ น้ําเสียที่เปนน้าอุนหรือน้ํารอนถาถูกปลอยออกมาเปนจํานวนมากจะสงผล ํ กระทบตอระบบนิเวศแหลงน้ําได เชน น้ําหลอเย็นจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือโรงไฟฟา 3. สีและความขุน จะขัดขวางการสังเคราะหแสงของพืชน้ําและ แพลงตอนพืชในน้าได ํ 4. ของแข็ง ทั้งของแข็งแขวนลอย ตะกอนจมตัวได ของแข็งละลายน้า จะทําใหเกิดสภาพ ํ ไรออกซิเจนในทองน้ํา และแหลงน้ําตื้นเขินได 5. สารแขวนลอย ทั้งอินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุ จะปดกั้นแสงอาทิตยไมใหสองถึง  สิ่งมีชีวิตในน้าที่มีสีเขียว ทําใหมผลกระทบตอนิเวศวิทยาของสิ่งแวดลอม ํ ี 6. สารอินทรีย ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ซึ่งสามารถยอยสลายไดโดยจุลินทรีย ที่ใชออกซิเจน ทําใหระดับการใชออกซิเจนละลาย(DO) ลดลง จนเกิดสภาพเนาเสีย สามารถวัดไดใน รูป บีโอดี (BOD) 7. สารอนินทรีย ไดแก กรด ดาง เกลือชนิดตางๆ โลหะ และสารอื่นๆ ไมทําใหน้ําเนาเหม็น แตทไใหสภาพน้ําปนเปอน และอาจเปนพิษตอสิ่งมีชวิต ี 8. ธาตุอาหาร ไดแก เกลือของสารประกอบไนโตรเจนและฟอสเฟต เมื่อมีปริมาณสูงและ เปนสัดสวนที่เหมาะสมจะทําใหสาหรายเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว (ปรากฎการณยูโทรฟเคชั่น
  • 8. 8   Eutrophication หรือ แอลจีบลูม Algae Bloom) ทําใหระดับออกซิเจนในน้ําลดลงตอนกลางคืน และ น้ําเนาเสียเนื่องจากการตายของสาหราย 9. กลิ่นเหม็น ถึงแมวาจะไมเปนอันตรายตอสุขภาพโดยตรง แตก็เปนผลกระทบที่รุนแรงตอ การดํารงชีวิตและจิตใจของประชาชน 10. น้ํามันและไขมัน เปนอุปสรรคตอการทะลุของแสงลงสูลําน้ําและกีดขวางการกระจายตัว ของออกซิเจนลงสูน้ํา 11. จุลินทรีย นอกจากจะทําใหน้ําเนามีกลิ่นเหม็นแลว จุลินทรียบางชนิดยังเปนเชื้อโรคที่ อันตรายตอมนุษยอกดวย จุลินทรียตัวทีใชเปนดัวชี้วดคุณภาพน้ําคือ แบคทีเรียชนิดโคลิฟอรม ี ่ ั 12. วัตถุมีพิษชนิดสารอนินทรีย ประกอบดวยสารประกอบโลหะ เชน ปรอท ตะกัว แค ่ ดเมี่ยม ทองแดง ฯลฯ และทีเ่ ปนอโลหะ เชน สารหนู สารเคมีกําจัดศัตรูพืช 13. วัตถุมีพิษชนิดสารอินทรีย สวนใหญเปนสารประกอบอินทรียที่มสวนประกอบของ ี ฟอสฟอรัส คลอรีน และสารอื่นๆ 14. สารประกอบกํามะถัน กาซไฮโดรเจนซัลไฟด ทําใหเกิดกลิ่นเหม็น และกัดกรอนอุปกรณ และอาคารที่ตั้งอยูใกลกับทางระบายน้ําเสีย เปนดัชนีประเภทไมตองการอากาศ (Anaerobic Index) ของแหลงน้ํานั้น ลักษณะของน้าขางตนอาจจําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้ ํ 1. คุณสมบัติทางกายภาพของน้า คือ ลักษณะทางภายนอกที่แตกตางกัน เชนความใส ความ ํ ขุน กลิ่น สี เปนตน - อุณหภูมิ (temperature) อุณหภูมของน้ํามีผลในดานการเรงปฏิกิริยาทางเคมีซึ่งจะสงผล ิ ตอการลดปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา - สี (color) สีของน้ําเกิดจากการสะทอนแสงของสารแขวนลอยในน้ํา เชน น้ําตาม ธรรมชาติจะมีสเี หลืองซึ่งเกิดจากกรดอินทรีย น้ําในแหลงน้ําที่มีใบไมทับถมจะมีสีน้ําตาล หรือถามี ตะไครน้ําก็จะมีสเี ขียว - กลิ่นและรส กลิ่นและรสของน้ําจะมีคณสมบัติแตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณสารอินทรีย ุ  ที่อยูในน้ํา เชน ซากพืช ซากสัตวท่เี นาเปอยหรือสารในกลุมของฟนอล เกลือโซเดียมคลอไรดซ่งจะทํา  ึ ใหน้ํามีรสกรอยหรือเค็ม - ความขุน (turbidity) เกิดจากสารแขวนลอยในน้ํา เชน ดิน ซากพืช ซากสัตว - การนําไฟฟา (electical conductivity) บอกถึงความสามารถของน้ําที่กระแสไฟฟา สามารถไหลผาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของอิออนโดยรวมในน้ํา และอุณหภูมิขณะทําการวัดคา 
  • 9. 9   การนําไฟฟา - ของแข็งทังหมด (total solid: TS) คือ ปริมาณของแข็งในน้ํา สามารถคํานวณจากการ ้ ระเหยน้ําออก ไดแก ของแข็งละลายน้ําทั้งหมด (Total Dissolved Solids: TDS) จะมีขนาดเล็กผาน ขนาดกรองมาตรฐาน คํานวณไดจากการระเหยน้ําทีกรองผานกระดาษกรองออกไป ของแข็ง ่ แขวนลอย (Suspended Solids: SS) หมายถึง ของแข็งที่อยูบนกระดาษกรองมาตรฐานหลังจากการ กรอง แลวนํามาอบเพื่อระเหยน้ําออก ของแข็งระเหยงาย (Volatile Solids: VS) หมายถึง สวนของแข็ง ที่เปนสารอินทรียแตละลายน้ํา สามารถคํานวณไดโดยการนํากระดาษกรองวิเคราะหเอาของแข็งที่ แขวนลอยออก แลวนําของแข็งสวนที่ละลายทั้งหมดมาระเหยอุณหภูมิประมาณ 550 องศาเซลเซียส นําน้ําหนักน้ําที่ชั่งหลังการกรองลบดวยน้ําหนักหลังจากการเผา น้ําหนักที่ไดคือ ของแข็งสวนที่ระเหย ไป 2. สมบัติทางดานเคมีของน้า คือ ลักษณะทางเคมีของน้ํา เชน ความเปนกรด - เบส ความ ํ กระดาง ปริมาณออกซิเจนทีละลายน้ํา เปนตน ่ - pH แสดงความเปนกรดหรือเบสของน้ํา ( น้ําดื่มควรมีคา pH ระหวาง 6.8-7.3) โดยทั่วไปน้ําที่ปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมมักจะมีคา pH ที่ต่ํา (PH < 7) ซึ่งหมายถึงมีความเปน กรดสูงมีฤทธิ์กัดกรอน การวัดคา pH ทําไดงาย โดยการใชกระดาษลิตมัสในการวัดคาความเปนกรด – เบส ซึ่งใหสีตามความเขมขนของ [H+] หรือการวัดโดยใช pH meter เมื่อตองการใหมีความละเอียด มากขึ้น สภาพเบส (alkalinity) คือสภาพทีน้ํามีสภาพความเปนเบสสูงจะประกอบดวยไอออน ่ ของ OH-, CO3- ,H2CO3ของธาตุแคลเซียม โซเดียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม หรือแอมโมเนีย ซึ่ง สภาพเบสนี้จะชวยทําหนาทีคลายบัฟเฟอรตานการเปลี่ยนแปลงคา pH ในน้ําทิ้ง สภาพกรด ( acidity) ่  โดยทั่วไปน้ําทิ้งจากแหลงชุมชนจะมีบฟเฟอรในสภาพเบสจึงไมทําใหนํามีคา pH ที่ต่ําเกินไป แตน้ํา ั ้ ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมมักจะมีคา pH ต่ํากวา 4.5 ซึ่งมาจาก CO2 ที่ละลายน้ํา - ความกระดาง (hardness) เปนการไมเกิดฟองกับสบูและเมื่อตมน้ํากระดางนี้จะเกิด ตะกอน น้ํากระดางชัวคราว เกิดจากสารไบคารบอเนต (CO32-) รวมตัวกับ ไออออนของโลหะ ่ เชน Ca2+,Mg2+ ซึ่งสามารถแกไดโดยการตม นอกจากนี้แลวยังมีความกระดางถาวรซึ่งเกิดจากอิออนข องโลหะและสารที่ไมใชพวกคารบอเนต เชน SO42-- ,NO3- , CI- รวมตัวกับ Ca2+, Fe2+,Mg2+เปนตน ความกระดางจึงเปนขอเสียในดานการสิ้นเปลืองทรัพยากร คือตองใชปริมาณสบูหรือผงซักฟอกใน การซักผาในปริมาณมาก ซึ่งก็จะเกิดตะกอนมากเชนกัน - ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (dissolved oxygen, DO) แบคทีเรียที่เปนสารอินทรียใน น้ําตองการออกซิเจน (aerobic bacteria) ในการยอยสลายสารอนินทรีย ความตองการออกซิเจนของ แบคทีเรียนีจะทําใหจะทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําลดลง ดังนันในน้ําที่สะอาดจะมีคา DO ้ ้
  • 10. 10   สูง และน้ําเสียจะมีคา DO ต่ํา มาตรฐานของน้ําที่มีคุณภาพดีโดยทัวไปจะมีคา DO ประมาณ 5-8 ppm ่ หรือปริมาณ O2 ละลายอยูปริมาณ 5-8 มิลลิกรัม / ลิตร หรือ 5-8 ppm น้ําเสียจะมีคา DO ต่ํากวา 3 ppm  คา DO มีความสําคัญในการบงบอกวาแหลงน้ํานั้นมีปริมาณออกซิเจน เพียงพอตอความตองการของสิ่งมีชีวิตหรือไม - บีโอดี (biological oxygen demand) เปนปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย ตองการใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ํา น้ําที่มีคุณภาพดี ควรมีคาบีโอดี ไมเกิน 6 มิลลิกรัมตอ ลิตร ถาคาบีโอดีสูงมากแสดงวาน้ํานั้นเนามาก แหลงน้าที่มคาบีโอดีสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอลิตรจะ ํ ี จัดเปนน้ําเนาหรือน้ําเสีย พระราชบัญญัติน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม กําหนดไววา น้ําทิ้งกอน ปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ตองมีคาบีโอดีไมเกิน 20 มิลลิกรัมตอลิตร การหาคา บีโอดี หาไดโดยใช แบคทีเรียยอยสลายอินทรียสารซึ่งจะเปนไปชา ๆ ดังนันจึงตองใชเวลานานหลายสิบวัน ตามหลัก ้ สากลใชเวลา 5 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสโดยนําตัวอยางน้ําทีตองการหาบีโอดีมา 2 ขวด ขวด ่ หนึ่งนํามาวิเคราะหเพื่อหาคาออกซิเจนทันที สมมุติวามีออกซิเจนอยู 6.5 มิลลิกรัมตอลิตร สวนน้ําอีก ขวดหนึ่งปดจุกใหแนน เพื่อไมใหอากาศเขา นําไปเก็บไวในที่มดที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสนาน 5 ื วัน แลวนํามาวิเคราะหหาปริมาณออกซิเจน สมมุติได 0.47 มิลลิกรัม ตอลิตร ดังนั้นจะไดคาซึ่งเปน ปริมาณออกซิเจน ที่ถูกใชไป หรือ คาบีโอดี = 6.5-0.47 = 5.03 มิลลิกรัมตอลิตร - COD (Chemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณ O2ที่ใชในการออกซิไดซในการสลาย สารอินทรียดวยสารเคมีโดยใชสารละลาย เชน โพแทสเซียมไดโครเมต (K2Cr2O7) ในปริมาณมากเกิน พอ ในสารละลายกรดซัลฟวริกซึ่งสารอินทรียในน้ําทั้งหมดทั้งที่จุลินทรียยอย สลายไดและยอยสลายไมไดก็จะถูกออกซิไดซภายใตภาวะที่เปนกรดและการใหความรอน โดยทั่วไป คา COD จะมีคามากกวา BOD เสมอ ดังนั้นคา COD จึงเปนตัวแปรทีสําคัญตัวหนึ่งที่แสดงถึงความ  ่ สกปรกของน้ําเสีย - ทีโอซี (Total Organic Carbon: TOC) คือ ปริมาณคารบอนในน้ํา - ไนโตรเจน เปนธาตุสําคัญสําหรับพืช ซึ่งจะอยูในรูปของ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ไน ไตรท ไนเตรต ยิ่งถาในน้ํามีปริมาณไนโตรเจนสูง จะทําใหพืชน้าเจริญเติบโตอยาง ํ รวดเร็ว - ฟอสฟอรัส ในน้ําจะอยูในรูปของสารประกอบพวก ออรโธฟอสเฟต (Orthophosphate)  เชนสาร PO43-, HPO42- , H2 PO4- และ H3PO4 นอกจากนี้ยังมีสารพวกโพลีฟอสเฟต - ซัลเฟอร มีอยูในธรรมชาติและเปนองคประกอบภายในของสิ่งมีชีวิต สารประกอบ  ซัลเฟอรในน้ําจะอยูในรูปของ organic sulfur เชน ไฮโดรเจนซัลไฟต สารซัลเฟต เปนตน  ซึ่งสารพวกนีจะทําใหเกิดกลิ่นเหม็นเนา เชน ที่เรียกวากาซไขเนา และนอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกรอนใน ้
  • 11. 11   สิ่งแวดลอมได - โลหะหนัก มีท้งที่เปนพิษและไมเปนพิษ แตทั้งนี้ขึ้นอยูกบปริมาณที่ไดรับ ั ั ถามากเกินไปจะเปนพิษ ไดแก โครเมียม ทองแดง เหล็ก แมงกานีสและสังกะสี บางชนิดไมเปน อันตรายตอสิ่งมีชีวิต ไดแก แคดเมียม ตะกัว ปรอทและนิกเกิล ่ โครงงานที่เกี่ยวของ นนทและสุวฤทธิ์ (2540) ศึกษาความสามารถในการดูดซับน้ํามันของวัสดุตางๆเพือใชเปน ่ วัสดุกรองของระบบบําบัดน้าทิ้งที่มีการปนเปอนของน้ํามัน(Oil) ซึ่งอาศัยน้ําเสียสังเคราะหเปนน้ําเสีย ํ ที่นําเขาระบบบําบัดจําลอง ซึ่งการทดลองไดเลือกใช กาบมะพราว แกลบเผา และขี้เลื่อย เปนวัสดุ กรอง และใช pH COD Suspendened Solid และ Oil and Grease เปนตัววัดลักษณะของน้ําเสีย จากผล การทดลองพบวา วัสดุทใชไดคือ กาบมะพราวและแกลบเผา ซึ่งใชรวมกันสามารถลด COD ี่ Suspendened Solid และ Oil and Grease ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลาวคือสามารถลดคา COD ไดตา ่ํ กวา 120 มิลลิกรัมตอลิตร (70.80-91.77%) ลด Suspendened Solid ได 80% และลด Oil and Grease ไดต่ํากวา 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งอยูในเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งของกระทรวงอุตสาหกรรม ศิริพร(2541) ศึกษาประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับ 4 ชนิด คือ ฝาย ขนไก กาบมะพราว และ ฟางขาว ในน้ามัน 2 ชนิดคือ น้ํามันเตาประเภทเบา และน้ํามันดีเซล ในความเขมขนของคราบน้ํามัน ํ ในน้ํามี 5 ระดับ คือ 50, 10 ,20,40 และ80 กรัม/ลิตร โดยวิธีการชั่งน้ําหนัก พบวา ในการดูดซับคราบ น้ํามันเตาและดีเซลในน้ํา ฝายมีประสิทธิภาพในการดูดซับมากที่สุด รองลงมาไดแก ขนไก กาบ มะพราว และฟางขาวตามลําดับ ซึ่งชุดการทดลองที่ใชฝายเปนวัสดุดดซับ คราบน้ํามันเตาที่มความ ู ี เขมขนเริ่มตน 20 กรัม/ลิตร ประสิทธิภาพในการกําจัดดีที่สุด คือ 99.42% และน้ํามันดีเซลที่มีความ เขมขน 10 กรัม/ลิตร มีประสิทธิภาพในการกําจัด 97.72% นอกจากนียังพบวาฝายมีความเหมาะสมที่ ้ จะใชเปนวัสดุดูดซับมากที่สด เนื่องจากสามารถดูดซับคราบน้ํามันไดมากกวา 10 กรัม น้ํามัน/ฝาย 1 ุ กรัม รองลงมาไดแกขนไก สําหรับกาบมะพราวและฟางขาวไมมีความเหมาะสมทีจะนํามาเปนวัสดุ ่ ดูดซับ เพราะมีความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันประมาณ 3-5 กรัม น้ํามัน/วัสดุดูดซับ 1 กรัม ซึ่ง มีประสิทธิภาพในการกําจัดไมถึง 50%
  • 12. 12   บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินงาน วัสดุและอุปกรณ 1. ชานออย 2. กาบมะพราว 3. ขุยมะพราว 4. ขี้เลื่อย 5. ถาน 6. ทราย 7. กอนกรวดขนาดใหญ 8. กอนกรวดขนาดเล็ก 9. สําลี 10. บีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร 11. กระบอกตวง ขนาด 10 ลูกบาศกเซนติเมตร 12. กรวยพลาสติก 13. บิวเรต 14. แทงแกวคนสาร 15. ที่ตั้งหลอดทดลอง 16. ตะแกรงพลาสติก 17. ขวดพลาสติก 18. ถังใสน้ํา วิธีดําเนินการศึกษา ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ ํ ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด 1.1 วัสดุธรรมชาติที่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 8 ชนิด 1. ตวงน้ํา 50 ลูกบาศกเซนติเมตร ใสในบีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตวง น้ํามันพืช 6 ลูกบาศกเซนติเมตร เทใสในบีกเกอรขางตน แลวคนดวยแทงแกว
  • 13. 13   2. นําชานออยใสในขวดน้ําอัดลมพลาสติกใหมีความสูง 10 เซนติเมตร จากฝาขวด วางไว กระปองพลาสติก จากนันเทน้ําผสมน้ํามันพืชจากขอ 1. ลงในขวดน้ําอัดลมขางตน ้ 3. หาปริมาณไขมันที่ไหลออกมาดวยบิวเรต ทดลองซ้ําอีก 2 ครั้ง บันทึกผล และคํานวณหา ปริมาณที่ชานออยดูดซับไว 4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1-3 โดยเปลี่ยนจากชานออยเปน ผงถาน กรวดกอนเล็ก กาบ มะพราว กรวดกอนใหญ ทราย ขี้เลื่อย และขุยมะพราว ตามลําดับ 1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด ู 1. ตวงน้ํา 100 ลูกบาศกเซนติเมตร ใสในบีกเกอร ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตวงน้ํามัน พืช 12 ลูกบาศกเซนติเมตร เทใสในบีกเกอรขางตน แลวคนดวยแทงแกว 2. สรางแบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันอยางงายดวยขวดน้ําอัดลมพลาสติก สูง 25.5 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 8.8 เซนติเมตร ซึ่งแบงเปนชั้นๆ จากชั้นบนสุด ดังนี้ ชั้นที่ 1 ชั้นกรองเศษอาหาร โดยใชตะแกรงพลาสติก ชั้นที่ 2 ชั้นดูดซับไขมัน ใชวสดุดูดซับที่แตกตางกัน 4 ชนิด คือ กาบมะพราว ขี้เลื่อย ชาน ั ออย และขุยมะพรามตามลําดับ สูง 7 เซนติเมตร ชั้นที่ 3 ชั้นดูดสี และดับกลิ่น ใชผงถาน จํานวน 50 กรัม ชั้นที่ 4 ชั้นจับตะกอน ใชทราย 100 กรัม กรวดกอนเล็ก จํานวน 100 กรัม กรวอดกอนใหญ จํานวน 100 กรัม และสําลี 1 กรัม จากนั้นเทน้ําผสมน้ํามันพืชจากขอ 1. ลงในแบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามันอยาง งายดวยขวดน้าอัดลมพลาสติก ขางตน ํ 3. หาปริมาณไขมันที่ไหลออกมาดวยบิวเรต ทดลองซ้ําอีก 2 ครั้ง บันทึกผล และคํานวณหา ปริมาณที่ชานออยดูดซับไว 4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1-3 โดยเปลี่ยนชั้นบนสุดจากชานออยเปน กาบมะพราว ขี้เลื่อย และขุยมะพราว ตามลําดับ ตอนที่ 2 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมีผลตอ ํ การไหลของน้า ํ 1. นําน้ําทิ้งที่มไขมันและเศษอาหาร จํานวน 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร มากรองผาน ี แบบจําลองเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน โดยใชความหนาของชานออยสูง 3 เซนติเมตร 2. กรองน้ําทิ้งโดยใหน้ําไหลผานชั้นตางๆ ของแบบจําลองเครื่องกรองน้ํา จับเวลาการไหล ของน้ํา บันทึกเวลาการไหลของน้ํา
  • 14. 14   3. ทําซ้ํา ขอ 1-2 แตเปลี่ยนความหนาของชันดักจับไขมัน เปน 6 และ 9 เซนติเมตร ตามลําดับ ้ ตอนที่ 3 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน ํ 1. นําน้ําทิ้งจากโรงอาหารที่เก็บตัวอยางในชวงเวลา 9.00-11.00 น. มาจํานวน 1,000 ลูกบาศก เซนติเมตร วัดอุณหภูมิของน้าโดยใชเทอรมอมิเตอร วัดคาความเปนกรด-เบส โดยใชกระดาษยูนเิ วอร ํ ซัลอินดิเคเตอร สังเกตสี และกลิ่นของน้ํา หาปริมาณไขมันในน้าทิ้ง โดยใชวิธีการทดลองเหมือนตอน ํ ที่ 1 บันทึกผล 2. นําน้ําตัวอยางมากรองผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันํ ชั้นที่ 1 ชั้นกรองเศษอาหาร โดยใชตะแกรงพลาสติก ชั้นที่ 2 ชั้นดูดซับไขมัน ใชวสดุดูดซับ คือ ชานออย สูง 3 เซนติเมตร ั ชั้นที่ 3 ชั้นดูดสี และดับกลิ่น ใชผงถาน จํานวน 1 กิโลกรัม ชั้นที่ 4 ชั้นจับตะกอน ใช ทราย จํานวน 2 กิโลกรัม กรวดกอนเล็ก จํานวน 2 กิโลกรัม กรวด กอนใหญ จํานวน 2 กิโลกรัม และสําลี 10 กรัม 3. นําน้ําที่ผานการกรองผานเครื่องกรองน้ําดูดคราบไขมัน มาตรวจสอบคุณภาพอีกครั้งหนึ่ง โดยวัดอุณหภูมิของน้ําโดยใชเทอรมอมิเตอร วัดคาความเปนกรด-เบส โดยใชกระดาษยูนเิ วอรซัล อินดิเคเตอร สังเกตสี และกลิ่นของน้ํา หาปริมาณไขมันในน้ําทิ้ง โดยใชวิธีการทดลองเหมือนตอนที่ 1 บันทึกผล และเปรียบเทียบผล
  • 15. 15   บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ตอนที่ 1 การศึกษาความสามารถในการดูดซับคราบน้ํามันพืชที่แขวนลอยบนผิวน้าของวัสดุ ํ ดูดซับธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นแตละชนิด 1.1 วัสดุธรรมชาติที่ใชทั่วไปในทองถิ่น จํานวน 8 ชนิด ตารางที่ 1 แสดงปริมาณน้ํามันพืชที่วัสดุดดซับไว 8 ชนิด (cm3) ู ชนิดของวัสดุดูดซับ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1. ชานออย 0.1 0.1 0.1 0.3 2. ขุยมะพราว 0.2 0.1 0.1 0.4 3. กาบมะพราว 0.2 0.1 0.2 0.5 4. กรวดกอนใหญ 0.4 0.5 0.4 1.3 5. กรวดกอนเล็ก 0.6 0.5 0.5 1.6 6. ทราย 0.4 0.2 0.3 0.9 7. ผงถาน 0.25 0.3 0.3 0.85 8. ขี้เลื่อย 0.2 0.1 0.2 0.5 1.2 วัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่ดดซับคราบน้ํามันไดดี จํานวน 4 ชนิด ู ตารางที่ 2 แสดงปริมาณน้ํามันพืชที่วัสดุดดซับไว 4 ชนิด (cm3) ู ชนิดของวัสดุดูดซับ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 1. ชานออย 0.1 0.1 0.1 0.3 2. ขุยมะพราว 0.2 0.1 0.1 0.4 3. กาบมะพราว 0.2 0.1 0.2 0.5 4. กรวดกอนใหญ 0.4 0.5 0.4 1.3 ตอนที่ 2 การศึกษาคุณภาพน้าทิ้งหลังผานเครื่องกรองดูดซับคราบน้ํามัน ํ ตอนที่ 3 การศึกษาความหนาของวัสดุดูดซับแตละชั้นของเครื่องกรองดูดซับคราบน้ามันมี ํ ผลตอการไหลของน้ํา  
  • 16. 16   นนท ผลารักษและสุวฟธิ์ จันทรดาประดิษฐ.”การศึกษาความเปนไปไดในการนําน้ําทิ้งจากสถานี บริการน้ํามันมาใชใหเกิดประโยชน”.ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต.ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน,2540 ศิริพร พงษสันติสุข.”การกําจัดคราบน้ํามันในน้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติเปนตัวดูดซับ”.วิทยานิพนธ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล,2541 http://web.ku.ac.th/schoolnet/ http://www.thaieditorial.com/tag/ http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter3/chapter3_water2.htm