SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
บทที่ 1
                                           บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
               พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545
หมวดที่ 9 มาตรา 63-69 กําหนดใหรัฐมุงสงเสริมและสนับสนุนใหมการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี
                                                                          ี
เพื่อการศึกษาโดยใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา และใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเพื่อใหมีความรูความสามารถและ
ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ สวนดาน
ผูเรียนใหมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรก
ที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู
ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ตลอดจนรัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและ
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทังติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อ
                                              ้
การศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย
(สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 37-38)
              สวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และหลักสูตรสถานศึกษา มีจุดมุงหมาย
เพื่อมุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวต และใชเวลาอยาง
                                                                            ิ
สรางสรรครวมทั้งมีความยืดหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรูไดจากสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู
ทุกประเภท โดยเฉพาะ เนนสื่อที่ผูเรียนและผูสอนใชศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 23)
               ระบบเครือขายคอมพิวเตอรถูกพัฒนาใหกวางขวางมากขึนในปจจุบันโดยมีชื่อเรียกวา
                                                                        ้
เครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) หรือ เรียกสั้นๆ วาอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตเปนเครือขาย
คอมพิวเตอรทมีขนาดใหญที่สุดในโลกซึ่งประกอบดวยเครือขายยอยจํานวนมากมายกระจายอยูทว
                 ี่                                                                          ั่
ทุกมุมโลก กลาวกันวาเวลานีมีคอมพิวเตอรขนาดตางๆ ตอเชื่อมระบบอินเทอรเน็ตหลายสิบลาน
                                 ้
เครื่อง ทําใหระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครือขายสื่อสารที่ใหญมากจนสามารถตอบสนอง
ความตองการในการคนหาขอมูลอยางไรพรมแดนในยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี
(วิทยา เรืองพรพิสุทธิ์. 2538 : 2)
2



              อีกทั้งปจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดพฒนาการไปอยางรวดเร็ว ทําให
                                                                  ั
มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะเทคโนโลยีดานเครือขายคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต
มาใชในการเรียนการสอน ซึงถือเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษาทําใหเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต
                               ่
ไดรับการเผยแพรเขาสูการศึกษาในทุกระดับ สถานศึกษาตางเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรของ
หนวยงานเขาสูอินเทอรเน็ต เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอนไดมีโอกาสเขาถึงแหลงขอมูลความรู
                                                        
ในโลกภายนอกโดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหนักการศึกษาหลายคนเกิดความคิดที่จะนํา
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเขามาใชในการเรียนการสอนในหองเรียนดวยวิธีการตางๆ เชน ใชสืบคน
ขอมูลใชในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรูในรูปของกระดานขาว เพราะแตจดเดนของการใชงาน
                                                                          ุ
เครือขายอินเทอรเน็ตคือการนําเสนอขอมูลที่สามารถนําเสนอไดทั้งขอความ รูปภาพทั้งภาพนิ่ง และ
ภาพเคลื่อนไหว และในรูปของเสียง ที่สามารถดึงดูดความสนใจ มีชวตชีวา ทําใหไดรับความนิยม
                                                                    ีิ
มาก และมีการพัฒนาเผยแพรไปอยางมาก หนวยงานทางการศึกษาหลายหนวยงานไดใชประโยชน
ของเครือขายอินเทอรเน็ตในการประชาสัมพันธหนวยงาน ในการสงเสริมภาพพจน และในลักษณะ
ของการเรียนการสอนโดยผานเครือขายอินเทอรเน็ต
              การจัดการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่สามารถแกไข
ขอจํากัดทางดานเวลาและสนองตอความตองการของผูเรียนไดเปนอยางดี จะเรียนไดชาหรือเร็ว
ขึ้นอยูกับตัวของนักเรียนเอง คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเสริมแรงไดอยางรวดเร็วและเปนระบบ
ทําใหนกเรียนมีกําลังใจในการเรียน ความสามารถในการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอรทําใหการเรียน
         ั
แบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเปนไปไดอยางงายดาย นอกจากนี้นกเรียนยังสามารถใชเวลานอก
                                                               ั
หองเรียนศึกษาจากคอมพิวเตอรชวยสอนไดดวยตนเอง โดยไมจํากัดเวลา และสถานที่ ผูเรียนโดย
                                             
คอมพิวเตอรชวยสอนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทียบเทาหรือสูงกวาผูเรียนที่เรียนโดยปกติ โดย
                 
ใชเวลาเรียนนอยกวาและมีทศนคติที่ดีตอการเรียนวิชานันๆ ชวยใหผูเรียนมีความสนใจใฝหา
                                 ั                        ้
ความรู และกระตือรือรนที่จะมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากขึ้นกวาเดิม ผูเรียนสามารถตอบโต
กับคอมพิวเตอรได ผูเรียนไมตองกลัวหรืออายคอมพิวเตอร
              สวนการสรางและพัฒนาเว็บไซตเปนการนําเสนอขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่ง
เปนการพัฒนาความคิดสรางสรรค พัฒนาทักษะการออกแบบงานและการทํางานอยางมีกลยุทธ
โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเปนการนําเทคโนโลยีมา
ใชและประยุกตใชในการทํางาน ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศนของหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน
                                                                                 ้
พ.ศ.2544 กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 2) และสอดคลองกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิมเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 หมวดที่ 9
                                                            ่
มาตรา 63-69 วาดวยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
3



               แตปจจุบนโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ที่ผูวิจยสอนอยูนั้น ยังประสบปญหาดานการใช
                         ั                               ั
เทคโนโลยีเพือการศึกษาและมีขอจํากัดเรืองเครื่องคอมพิวเตอรไมเพียงพอกับผูเรียน คือ จํานวน
                  ่                       ่
เครื่องคอมพิวเตอร 1 เครื่องตอนักเรียนสองถึงสามคนในการจัดการเรียนการสอนแตละครั้ง ทําให
นักเรียนบางคนขาดโอกาสในการฝกปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่เพราะมีเวลานอยกวาปกติ การสราง
บทเรียนออนไลนไวบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนการเปดชองทางการเรียนรูอีกทางหนึ่งใหกับ
ผูเรียนไดเรียนรูไดดวยตนเองโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และจํานวนครั้ง
             ดังนั้น จากความสําคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตรวมถึงปญหาจาก
การจัดการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร)ดังกลาว ทําใหผูวจัยมี     ิ
ความสนใจทีจะสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
                ่
(คอมพิวเตอร) เรื่อง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ซึ่งเปนนักเรียนที่ผูวิจยสอนอยู แลวทดลองสอนและ
                                                                  ั
พัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพือแกปญหาการขาดแคลนคอมพิวเตอรและใชเปนแนวทางใน
                              ่
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพืนฐาน(คอมพิวเตอร) ใหแกนกเรียนตอไป
                                                           ้                         ั

ความมุงหมายของการวิจัย
          1. เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน เรื่อง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft
                                                              
FrontPage 2003 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80%
          2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน
          3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน
                                                   

สมมติฐานการวิจัย
          1. บทเรียนออนไลน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80%
          2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน
          3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอบทเรียนออนไลนอยูในระดับมาก
4



ความสําคัญของการวิจัย
              1. ไดบทเรียนออนไลนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) เรื่อง การเขียน
เว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่มีประสิทธิภาพ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
          
ปที่ 2
              2. ไดพัฒนาทักษะการเขียนเว็บไซตของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2
                                                              ้
โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรมย
                                                          ั
              3. เปนการกระตุนใหนกเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                      ั
พื้นฐาน(คอมพิวเตอร) มากขึ้น
              4. นักเรียนทีมีเครื่องคอมพิวเตอรใชเปนการสวนตัวทีบานสามารถใชอินเทอรเน็ตได
                           ่                                      ่
สามารถเรียนรูจากบทเรียนออนไลน เรื่องการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage
2003 ไดดวยตนเองเมื่อตองการ
            
              5. เปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของครูผูสอน ในการสรางสื่อประเภท
บทเรียนออนไลน หรือ E-Learning อีกทั้งยังเปนการเพิ่มองคความรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่เปน
ภาษาไทยเพื่อเปนแหลงคนควาหาความรูตอไป   
              6. เปนการสรางคุณภาพทีดตอระบบการศึกษา โดยนําเทคโนโลยีเขามาใชใหเกิด
                                        ่ี
ประโยชนสูงสุดในการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนทักษะใหนักเรียนกาวทันตอความกาวหนาของโลก
ยุคดิจิตอล

ขอบเขตของการวิจัย
           1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
              ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ
อําเภอเมืองบุรรัมย จังหวัดบุรีรัมย จํานวน 3 หองเรียน ปการศึกษา 2549 จํานวน 90 คน
              ี
              กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ
อําเภอเมืองบุรรัมย จังหวัดบุรีรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมอยางงายใน
                ี
การเลือกหองที่จะใชในการทดลองสอน
           2. ตัวแปรที่ศึกษา
              2.1 ตัวแปรอิสระ คือ
                   2.1.1 การเรียนการสอนโดยใชบทเรียนออนไลนเรื่องการเขียนเว็บไซตดวย
โปรแกรม Microsoft FrontPage 2003
5



            2.2 ตัวแปรตาม คือ
                  2.2.1 ประสิทธิ์ภาพของบทเรียนออนไลน
                  2.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
                  2.2.3 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน
         3. ระยะเวลาในการทําวิจัย
            ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเวลาในการทดลอง จํานวน 20 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2549
         4. เนื้อหา
             เนื้อหาที่ใชในบทเรียนออนไลนเปนเนื้อหาความรูเรื่อง การเขียน การออกแบบและ
พัฒนาเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003โดยแบงหนวยการเรียนรูออกเปน 6 หนวย
ดังนี้
             หนวยที่ 1 รูจักกับ FrontPage 2003
             หนวยที่ 2 เริ่มตนเขียนเว็บ
             หนวยที่ 3 การตกแตงภาพในเว็บเพจ
             หนวยที่ 4 การเชื่อมโยงเว็บเพจ
             หนวยที่ 5 การใสตารางบนเว็บเพจ
             หนวยที่ 6 การสรางเฟรมเซตในเว็บเพจ


นิยามศัพทเฉพาะ
           บทเรียนออนไลน (E-Learning) หมายถึง บทเรียนออนไลนเรื่อง การเขียนเว็บไซตดวย   
โปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ผูวิจัยสรางขึน มีลักษณะใน
                                                                                ้
การนําเสนอบทเรียนดวยคอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย ผูเรียนสามารถโตตอบกับบทเรียนและเรียนรู
ไดดวยตนเอง ทางเครือขายคอมพิวเตอรหรือเครือขายอินเทอรเน็ต
     
           นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ
อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย
           ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถในการเรียนวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) ซึ่งวัดไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก
บทเรียนออนไลน เรื่องการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น
                                        
6



           ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนในการสราง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหผเู รียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคถึงระดับเกณฑที่คาดหวังไว
           เกณฑ 80% หมายถึง ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนที่คาดหวังไว โดยพิจารณา
จากคาเฉลี่ยของคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหัดกับคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนน
แบบทดสอบคิดเปนรอยละ
7



                                   บทที่ 2
                          เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

          ในการวิจัยครังนี้ ผูวิจยไดศกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของและไดนําเสนอตาม
                        ้         ั ึ
หัวขอตอไปนี้
          1. ความหมายของการเรียนการสอนบนเว็บ
          2. คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ
          3. ลักษณะสําคัญของ E-Learning
          4. ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ
          5. ขอดีของการสอนบนเว็บ
          6. บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย
          7. ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา
          8. ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
          9. หลักทฤษฎีที่ใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
                                                            
          10. สวนประกอบในการจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
          11.บุคลากรที่เกี่ยวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
          12. งานวิจยที่เกี่ยวของ
                      ั
               12.1 งานวิจยที่เกียวของในประเทศ
                          ั ่
               12.2 งานวิจยที่เกียวของตางประเทศ
                           ั ่


ความหมายของการเรียนการสอนบนเว็บ
           บทเรียนออนไลน หรือการจัดการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ
อินเทอรเน็ต เรียกอีกอยางวา E-Learning ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบน และเว็บไซต
                                                                               ั
ไดเขามามีบทบาทสําคัญทางการศึกษาและกลายเปนคลังแหงความรูที่ไรพรมแดน ซึงผูสอนไดใช
                                                                                 ่
เปนทางเลือกใหมในการสงเสริมการเรียนรู เพื่อเปดประตูการศึกษาจากหองเรียนไปสูโลกแหง
การเรียนรูอันกวางใหญ รวมทั้งการนําการศึกษาไปสูผูที่ขาดโอกาสดวยขอจํากัดทางดานเวลาและ
สถานที่ มีผูใหความหมายและความสําคัญไวดังนี้
8



            รีแลน และกิลลานิ (Relan & Gillani, 1997 : 43-45) กลาววาการเรียนการสอนโดยใช
เครือขายอินเทอรเน็ตเปนการกระทําที่ผูสอนคิดการเตรียมกลวิธีการสอน โดยใชประโยชนจาก
คุณลักษณะ และทรัพยากรในเวิลดไวดเว็บ
            ดริสคอลล (Driscoll. 1999 : 37-44) ใหความหมายของการเรียนการสอนผานเครือขาย
อินเทอรเน็ตวา เปนการใชทกษะ หรือความรูตาง ๆ ถายโยงไปสูที่ใดที่หนึ่งโดยการใชเวิลดไวดเว็บ
                               ั
เปนชองทางในการเผยแพรสิ่งเหลานั้น
            กิดานันท มลิทอง (2543 : 11) กลาววา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขายเปนการใช
เครือขายในการเรียนการสอนโดยนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมด ตาม
หลักสูตรหรือเพียงใชเสนอขอมูลบางอยางเพื่อประกอบการสอนก็ได รวมทั้งใชประโยชนจาก
คุณลักษณะตางๆ ของการสื่อสารที่มีอยูในระบบอินเทอรเน็ต มาใชประกอบกันเพื่อใหเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด
            วิชุดา รัตนเพียร (2542 : 30) กลาววา การเรียนการสอนผานสื่อบนเครือขายเปน
การนําเสนอโปรแกรม บทเรียนบนครือขาย โดยนําเสนอผานบริการเวิลดไวดเว็บในเครือขาย
อินเทอรเน็ต ซึ่งผูออกแบบและสรางโปรแกรมการสอน จะตองคํานึงถึงความสามารถและบริการ
ที่หลากหลายของอินเทอรเน็ต และนําคุณสมบัติตางๆ เหลานั้นมาใชเพื่อประโยชนในการเรียน
การสอนใหมากที่สุด
            ใจทิพย ณ สงขลา (2542 : 18-28) ไดใหความหมายการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย
หมายถึง การผนวกคุณสมบัติ สื่อหลายมิติ หรือ ไฮเปอรมีเดียเขากับคุณสมบัติของเครือขาย
เวิลดไวดเว็บ เพื่อสรางสิ่งแวดลอมแหงการเรียนในมิติที่ไมมีขอบเขต จํากัดดวยระยะทางและเวลา
ที่แตกตางกันของผูเรียน (Learning without Boundary)
            ชุณหพงศ ไทยอุปถัมภ (2544 : 26-28) ไดใหความหมายของ คําวา E-Learning หรือ
Electronic Learning หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม ที่มการประยุกตใชเทคโนโลยี
                                                                     ี
สื่ออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม มีวัตถุประสงคที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูองคความรู
(Knowledge) ไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ (Anywhere-Anytime Learning) เพื่อใหระบบ
การเรียนการสอนเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อใหผูเรียนสามารถบรรลุ
วัตถุประสงคของกระบวนวิชาที่เรียนนันๆ    ้
            พรรณี เกษกมล (2543 : 49-55) ไดกลาวถึงการเรียนรูบนเว็บ (Web-Based Instruction :
WBI) วาเปนวิถีทางของนวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอนตอผูเรียนทางไกลโดยการใชเว็บ
เปนสื่อกลางการเรียนการสอนเปนสิ่งที่จะทําใหไดรับความรูขอมูลขาวสาร และกิจกรรมที่สะดวก
ตอผูเรียน การบรรลุถึงซึ่งความสําเร็จของเปาหมายการเรียนรูในเรื่องอื่น ๆ เฉพาะดานเปนสื่อกลาง
9



ในการสงสาร ในการเรียนการสอนใหติดตอถึงกันได การเรียนรูบนเว็บเปนโปรมแกรมการเรียน
การสอนบนฐานของสื่อที่ไดเชื่อมโยงกันในทางไกลซึ่งไดประโยชนจากเหตุผลและทรัพยากรของ
World Wide Web เพื่อสรางสิ่งแวดลอมการเรียนรูที่มีความหมายที่สนับสนุนและชวยใหเกิด
การเรียนรูบนเว็บได
             สรรรัชต หอไพศาล (2544 : 93-104) ไดใหความหมายการเรียนการสอนผานเว็บวา เปน
การใชโปรแกรมสื่อหลายมิติที่อาศัยประโยชนจากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอรเน็ตและ
เวิลดวายเว็บ มาออกแบบเปนเว็บเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรู
อยางมีความหมาย เชื่อมโยงเปนเครือขายทีสามารถเรียนไดทุกที่ทุกเวลา โดยมีลักษณะที่ผูสอน
                                              ่
ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันโดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
             สวน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) กลาวถึงการสอนบนเว็บ (Web-Based
Instruction) วาเปนการผสมผสานกันระหวางเทคโนโลยีปจจุบนกับกระบวนการออกแบบการเรียน
                                                           ั
การสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรูและแกปญหาในเรื่องขอจํากัดทางดานสถานที่และ
                                                      
เวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกตใชคณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ ในการจัด
                                          ุ
สภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผานเว็บนี้
อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได
             จากการศึกษาความหมายของบทเรียนออนไลนดังกลาว พอสรุปไดวา บทเรียนออนไลน
เรียกอีกอยางวา E-Learning หมายถึง การจัดการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ
อินเทอรเน็ต โดยการประยุกตใชเทคโนโลยีสื่ออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม ที่เรียกวาคอมพิวเตอรชวย
สอน เอาไวบนเว็บไซตหรือบนเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดโดยไมจํากัด
เวลา สถานที่ และระยะทาง การเรียนรูบนเว็บถือเปนนวัตกรรมใหม ทีครู อาจารยในสถานศึกษาทุก
                                                                   ่
ระดับสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนตอการจัดกระบวนการเรียนการสอนรวมทั้งฝายบริหาร
                                            
นักการศึกษาที่จะพัฒนาใหเกิดการเรียนรูตอเยาวชนของชาติ พัฒนาแหลงการเรียนรูใหมากขึ้น และ
                                        
ใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูใหมากที่สุด ควรจะไดพฒนาการเรียนรูบนเว็บนีใหเห็นผลในทาง
                                                        ั                   ้
ปฏิบัติ ซึ่งเปนการใหโอกาสในการพัฒนาการเรียนรูและประสบการณใหม ๆ สําหรับผูเรียนทั่วโลก
ที่จะมีโอกาสศึกษาหาความรูไดอยางทัดเทียมกัน
                             

คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ
          ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงคุณลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อ
ประโยชนตอการจัดการเรียนการสอน มีอยู 8 ประการ ไดแก
10



             1. การที่เว็บเปดโอกาสใหเกิดการปฏิสัมพันธ (Interactive) ระหวางผูเรียนกับผูสอน
และผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรียน
             2. การที่เว็บสามารถนําเสนอเนื้อหา ในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia)
             3. การที่เว็บเปนระบบเปด (Open System) ซึ่งอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูล
ไดทั่วโลก
             4. การที่เว็บอุดมไปดวยทรัพยากร เพื่อการสืบคนออนไลน (Online Search/Resource)
             5. ความไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลาของการสอนบนเว็บ (Device, Distance and
                             
Time Independent) ผูเรียนทีมีคอมพิวเตอรในระบบใดก็ได ซึ่งตอเขากับอินเทอรเน็ต จะสามารถเขา
                                 ่
เรียนจากที่ใดก็ไดในเวลาใดก็ได
             6. การที่เว็บอนุญาตใหผูเรียนเปนผูควบคุม (Learner Controlled) ผูเรียนสามารถเรียน
ตามความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน
             7. การที่เว็บมีความสมบูรณในตนเอง (Self- Contained) ทําใหเราสามารถจัด
กระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเว็บได
             8. การที่เว็บ อนุญาตใหมการติดตอสื่อสาร ทั้งแบบเวลาเดียว (Synchronous
                                       ี
Communication) เชน Chat และตางเวลากัน (Asynchronous Communication) เชน Web Board
เปนตน
             สรุปไดวา คุณลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนนั้น
จะตองเปนเว็บที่เปดโอกาสใหเกิดการปฏิสัมพันธ ระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน
หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรียน เปนเว็บที่สามารถนําเสนอเนื้อหา ในรูปแบบของสื่อประสม เปนเว็บ
ระบบเปดซึ่งอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก และอุดมไปดวยทรัพยากร เพื่อ
การสืบคนออนไลน รวมทั้งการไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลา ผูเรียนสามารถเรียนตาม
ความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน การที่เว็บมีความสมบูรณในตนเอง ทําใหเราสามารถ
จัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเว็บได ตลอดจนอนุญาตใหมการติดตอสื่อสาร ทั้งแบบ
                                                                       ี
เวลาเดียวและตางเวลากัน ซึงในการสรางเว็บชวยสอนทีสมบูรณจะตองคํานึงถึงสิ่งตางๆ ที่กลาวมา
                               ่                          ่

ลักษณะสําคัญของ E-Learning
           ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2545) ยังไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของ
E-Learning ไววาในการสรางบทเรียนใหมีคุณภาพ จะตองคํานึงลักษณะสําคัญตาง ๆ เพื่อใหผูเรียน
เกิดการเรียนรู เราสามารถที่จะแยกประเด็นลักษณะสําคัญไดดังนี้
11



               1. Anywhere, Anytime หมายถึง E-Learning ควรตองชวยขยายโอกาสในการเขาถึง
เนื้อหาการเรียนรูของผูเรียนไดจริง ในที่นหมายรวมถึงการที่ผูเรียนสามารถเรียกดูเนือหาตาม
                                            ี้                                     ้
ความสะดวกของผูเรียน ยกตัวอยาง เชน ในประเทศไทยควรมีการใชเทคโนโลยีการนําเสนอเนื้อหา
ที่สามารถเรียกดูไดทั้งขณะที่ออนไลน (เครื่องมีการตอเชื่อมกับเครือขาย) และในขณะที่ออฟไลน
(เครื่องไมมีการตอเชื่อมกับเครือขาย)
               2. Multimedia หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาโดย ใชประโยชน
จากสื่อประสมเพื่อใหเกิดความคงทนในการเรียนรูไดดขึ้น  ี
               3. Non-linear หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ไมเปน
เชิงเสนตรง กลาวคือผูเรียนสามารถเขาถึงเนื้อหาตามความตองการโดย E-Learning จะตองจัดหา
การเชื่อมโยงที่ยืดหยุน แกผเู รียน
               4. Interaction หมายถึง E-Learning ควรตองมีการเปดโอกาสใหผูเรียนโตตอบ
(มีปฏิสัมพันธ) กับเนื้อหาหรือกับผูอื่นได กลาวคือ
                   - E-Learning ควรตองมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผูเรียนสามารถโตตอบกับเนื้อหา
รวมทั้งมีการจัดเตรียมแบบฝกหัดและแบบทดสอบใหผูเรียนสามารถตรวจสอบความเขาใจดวย
ตนเองได
                   - E-Learning ควรตองมีการจัดหาเครื่องมือในการใหชองทางแกผูเรียนในการ
ติดตอสื่อสารเพื่อการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผูสอน วิทยากร ผูเชี่ยวชาญ
หรือเพื่อน
               5. Immediate Response หมายถึง E-Learning ควรตองมีการออกแบบใหมี
การทดสอบ การวัดผลและการประเมินผล ซึ่งใหผลปอนกลับโดยทันทีแกผูเรียนไมวาจะอยูใน      
ลักษณะของแบบทดสอบกอนเรียน หรือแบบทดสอบหลังเรียน ก็ตาม
            สรุปไดวา ลักษณะสําคัญของ E-Learning ที่เอื้อตอการเรียนการสอนและสามารถทําให
ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดนน จะตองประกอบไปดวย การเขาถึงเนื้อหาบทเรียนไดโดยไมจํากัด
                                ั้
เวลาและสถานที่ พรอมทั้งเปดกวางใหอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก ตลอดจนการนําเสนอ
บทเรียนควรมีลักษณะเปนสือมัลติมีเดีย สามารถเรียนรูไดตามสนใจ และมีการประเมินผลโดย
                                   ่
ใหผลยอนกลับทันที

ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ
         เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนแหลงทรัพยากรที่มีคุณสมบัติหลากหลายตอการนําไปประยุกต
ใชในการศึกษา ดังนั้นการเรียนการสอนสือบนเครือขาย จึงสามารถทําไดในหลายลักษณะ แตละ
                                       ่
12



สถาบันและแตละเนื้อหาของหลักสูตร จะมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกตางกันออกไป ซึ่งใน
ประเด็นนี้ มีนักการศึกษาไดใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย
ไวดังนี้
             พารสัน (Parson. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บออกเปน 3 ลักษณะ
คือ
                1. สื่อบนเครือขายรายวิชา (Stand-alone Courses) มีการบรรจุเนื้อหา (Content) หรือ
เอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพียงอยางเดียว เปนสื่อบนเครือขายรายวิชาที่มีเครื่องมือ
และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต ลักษณะของการเรียนการสอนนี้
ไดแกที่มีลักษณะเปนแบบวิทยาเขต มีนักศึกษาจํานวนมากที่เขามาศึกษา ลักษณะการสื่อสารที่เปน
การสงขอมูลระยะไกล และมักจะเปนการสื่อสารทางเดียว
                2. สื่อบนเครือขายสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) มีลักษณะเปน
รูปธรรมที่มีลักษณะเปนการ สื่อสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน และมี
แหลงทรัพยากรทางการศึกษา มีการกําหนดภารกิจการเรียนรู การกําหนดใหอาน มีการรวมกัน
อภิปราย การตอบคําถาม มีการสื่อสารอื่นๆ ผานคอมพิวเตอร อีกทั้งกิจกรรมตางๆที่ใหปฏิบัติใน
รายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหลงทรัพยากรอื่นๆ เปนตน
                3. สื่อบนเครือขายแหลงทรัพยากรการศึกษา (Web Pedagogical Resources) เปนสื่อ
ที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบันการศึกษาไว
ดวยกัน และยังรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาทังหมด และเปนแหลงสนับสนุนกิจกรรม
                                                       ้
ตางๆ ทางการศึกษา ทั้งทางดานวิชาการและไมใชวิชาการ โดยการใชสื่อ ที่หลากหลาย รวมถึง
การสื่อสารระหวางบุคคลดวย
             สวนเจมส (James. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บตามโครงสราง
และประโยชนการใชงานได 3 ลักษณะใหญ ๆ คือ
             1.โครงสรางแบบคนหา (Eclectic Structures) ลักษณะของโครงสรางเว็บไซตแบบนี้ เปน
แหลงของเว็บไซตที่ใชในการคนหาไมมีการกําหนดขนาด รูปแบบ ไมมีโครงสรางที่ผูเรียนตองมี
ปฏิสัมพันธกับเว็บลักษณะของเว็บไซตแบบนี้จะมีแตการใหใชเครื่องมือในการสืบคนหรือเพื่อบาง
สิ่งที่ตองการคนหาตามที่กําหนดหรือโดยผูเขียนเว็บไซตตองการ โครงสรางแบบนี้จะเปนแบบเปด
ใหผูเรียนไดเขามาคนควาในเนื้อหาในบริบท โดยไมมีโครงสรางขอมูลเฉพาะใหไดเลือกแต
โครงสรางแบบนี้จะมีปญหากับผูเรียนเพราะผูเรียนอาจจะไมสนใจขอมูลที่ไมมีโครงสราง โดยไม
กําหนดแนวทางในการสืบคน
13



            2.โครงสรางแบบสารานุกรม (Encyclopedic Structures) ถาเราควบคุมของสรางของเว็บ
ที่เราสรางขึ้นเองได เราก็จะใชโครงสรางขอมูลในแบบตนไมในการเขาสูขอมูล ซึ่งเหมือนกับ
หนังสือที่มีเนือหาและมีการจัดเปนบทเปนตอน ซึ่งจะกําหนดใหผูเรียนหรือผูใชไดผานเขาไปหา
                ้
ขอมูลหรือเครื่องมือที่อยูในพื้นที่ของเว็บหรืออยูภายในและภายนอกเว็บ เว็บไซตจํานวนมากมี
โครงสรางในลักษณะดังกลาวนี้ โดยเฉพาะเว็บไซตทางการศึกษาที่ไมไดกําหนดทางการคา องคกร
ซึ่งอาจจะตองมีลักษณะที่ดูมมากกวานี้ แตในเว็บไซตทางการศึกษาตองรับผิดชอบตอการเรียนรู
                               ี
ของผูเรียน กลวิธีดานโครงสรางจึงมีผลตอการเรียนรูของผูเรียน
            3.โครงสรางแบบการเรียนการสอน (Pedagogic Structures) มีรูปแบบโครงสรางหลาย
อยางในการนํามาสอนตามตองการ ทั้งหมดเปนที่รูจักดีในบทบาทของการออกแบบทางการศึกษา
สําหรับคอมพิวเตอรชวยสอนหรือเครื่องมือมัลติมีเดีย ซึ่งความจริงมีหลักการแตกตางกันระหวาง
คอมพิวเตอรชวยสอนกับเว็บชวยสอนนันคือความสามารถของ HTML ในการที่จะจัดทําใน
                                         ้
แบบไฮเปอรเท็กซกับการเขาถึงขอมูลหนาจอโดยผานระบบอินเทอรเน็ต
            สรุปไดวา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย สามารถทําไดในหลายลักษณะขึ้นอยูกับ   
ลักษณะของเนื้อหาหลักสูตรวาตองการนําเสนออะไร เชน สื่อบนเครือขายรายวิชา มีการบรรจุ
เนื้อหา (Content) หรือเอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพียงอยางเดียว เปนสื่อบนเครือขาย
รายวิชาที่มีเครืองมือ และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต สวนสื่อ
                    ่
สนับสนุนรายวิชา จะมีลักษณะเปนรูปธรรมที่มีลักษณะเปนการสื่อสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธ
ระหวางผูสอนและผูเรียน และสื่อแหลงทรัพยากรการศึกษา เปนสื่อที่มรายละเอียดทางการศึกษา
                                                                    ี
เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบันการศึกษาไวดวยกัน และยังรวมถึงขอมูล
เกี่ยวกับสถาบันการศึกษาทังหมด้

ขอดีของการสอนบนเว็บ
             ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงขอดีของการสอนบนเว็บไววา
การเรียนรูบนเว็บ ถือเปนความสําเร็จทางวิชาการโดยกระบวนการเรียนการสอนที่ใชสื่อที่ทันสมัย
เปดโอกาสใหเรียนรูสิ่งตาง ๆ อยางมากมาย ซึ่งมีขอดี ดังนี้
                1. การสอนบนเว็บเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนที่อยูหางไกล หรือไมมีเวลาในการมา
                                                                  
เขาชั้นเรียนไดเรียนในเวลา และสถานที่ที่ตองการ ซึ่งอาจเปนที่บาน ที่ทํางาน หรือสถานศึกษา
ใกลเคียงที่ผูเรียนสามารถเขาไปใชบริการทางอินเทอรเน็ตได การที่ผูเรียนไมจําเปนตองเดินทาง
มายังสถานศึกษาที่กําหนดไว จึงสามารถชวยแกปญหาในดานของขอจํากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่
ศึกษาของผูเรียนเปนอยางดี
14



             2. การสอนบนเว็บยังเปนการสงเสริมใหเกิดความเทาเทียมกันทางการศึกษา ผูเรียนที่
ศึกษาอยูในสถาบันการศึกษาในภูมิภาค หรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย
           
กับอาจารย ครูผูสอนซึ่งสอนอยูที่สถาบันการศึกษาในนครหลวง หรือในตางประเทศก็ตาม
             3. การสอนบนเว็บนี้ ยังชวยสงเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรูตลอดชีวิต เนื่องจาก
เว็บเปนแหลงความรูที่เปดกวางใหผูที่ตองการศึกษาในเรืองใดเรื่องหนึง สามารถเขามาคนควาหา
                                                          ่            ่
ความรูไดอยางตอเนื่อง และตลอดเวลา การสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองตอผูเรียนที่มีความใฝรู
รวมทั้งมีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรูดวยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
             4. การสอนบนเว็บ ชวยทลายกําแพงของหองเรียนและเปลี่ยนจากหองเรียน 4 เหลี่ยม
ไปสูโลกกวางแหงการเรียนรู เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ ไดอยางสะดวก
และมีประสิทธิภาพ สนับสนุนสิ่งแวดลอมทางการเรียนที่เชื่อมโยง สิ่งที่เรียนกับปญหาที่พบใน
ความเปนจริง โดยเนนใหเกิดการเรียนรูตามบริบทในโลกแหงความเปนจริง (Contextualization)
และการเรียนรูจากปญหา (Problem-Based Learning) ตามแนวคิดแบบ Constructivism
             5. การสอนบนเว็บเปนวิธีการเรียนการสอน ที่มีศักยภาพ เนื่องจากที่เว็บไดกลายเปน
แหลงคนควาขอมูลทางวิชาการรูปแบบใหม ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลก โดยไมจํากัดภาษา
การสอนบนเว็บชวยแกปญหาของขอจํากัดของแหลงคนควาแบบเดิม จากหองสมุด อันไดแก
ปญหาทรัพยากรการศึกษาทีมีอยูจํากัด และเวลาทีใชในการคนหาขอมูล เนื่องจากเว็บมีขอมูลที่
                            ่                      ่
หลากหลายและเปนจํานวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใชการเชือมโยงในลักษณะของไฮเปอรมีเดีย
                                                            ่
(Hypermedia) ซึ่งทําใหการคนหาทําไดสะดวกและงายดายกวาการคนหาขอมูลแบบเดิม
             6. การสอนบนเว็บจะชวยสนับสนุนการเรียนรูที่กระตือรือรน ทั้งนี้เนื่องจาก
คุณลักษณะของเว็บที่เอื้ออํานวยใหเกิดการศึกษาในลักษณะที่ผูเรียนถูกกระตุนใหแสดง
ความคิดเห็นไดอยูตลอดเวลาโดยไมจําเปนตองเปดเผยตัวตนทีแทจริง ตัว อยางเชน การใหผูเรียน
                                                               ่
รวมมือกันในการทํากิจกรรมตาง ๆ บนเครือขาย การใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและ
แสดงไวบนเว็บบอรด หรือการใหผูเรียนมีโอกาสเขามาพบปะกับผูเรียนคนอื่น ๆ อาจารย หรือ
ผูเชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันทีหองสนทนา เปนตน
                              ่
             7. การสอนบนเว็บเอื้อใหเกิดการปฏิสัมพันธ ซึ่งการเปดปฏิสัมพันธนี้อาจทําได
2 รูปแบบ คือ
                 7.1 ปฏิสัมพันธกับผูเรียนดวยกันและ/หรือผูสอน
                 7.2 ปฏิสัมพันธกับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ
15



               ซึ่งลักษณะแรกนี้ จะอยูในรูปของการเขาไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน
(ดังที่ไดกลาวมาแลว) สวนในลักษณะหลังนั้น จะอยูในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝกหัด
หรือแบบทดสอบที่ผูสอนไดจัดหาไวใหแกผูเรียน
               8. การสอนบนเว็บ ยังเปนการเปดโอกาสสําหรับผูเรียนในการเขาถึงผูเ ชี่ยวชาญ สาขา
ตาง ๆ ทั้งในและนอกสถาบัน จากในประเทศและตางประเทศทั่วโลก โดยผูเรียนสามารถติดตอ
สอบถามปญหาขอขอมูลตาง ๆ ที่ตองการศึกษาจากผูเชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซึ่งไมสามารถทําไดใน
การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย เมื่อเปรียบเทียบกับ
                                                                        
การติดตอสื่อสารในลักษณะเดิม ๆ
               9. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงผลงานของตนสูสายตาผูอื่น
อยางงายดาย ทั้งนี้ไมไดจํากัดเฉพาะเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนหากแตเปนบุคคลทั่วไปทั่วโลกได ดังนัน   ้
จึงถือเปนการสรางแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอยางหนึ่งสําหรับผูเรียน ผูเรียนจะพยายามผลิตผล
งานที่ดีเพื่อไมใหเสียชื่อเสียงตนเอง นอกจากนี้ ผูเรียนยังมีโอกาสไดเห็นผลงานของผูอื่น เพื่อนํามา
พัฒนางานของตนเองใหดียงขึ้น     ิ่
               10. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูสอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหทันสมัย
ไดอยางสะดวกสบายเนื่องจากขอมูลบนเว็บมีลักษณะเปนพลวัตร (Dynamic) ดังนั้นผูสอนสามารถ
อัพเดตเนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแกผูเรียนไดตลอดเวลา นอกจากนี้การใหผูเรียนไดสอสารและ
                                                                                     ื่
แสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาทําใหเนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุนมากกวาการเรียน
การสอนแบบเดิม และเปลียนแปลงไปตามความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ
                              ่
               11. การสอนบนเว็บสามารถนําเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย ไดแก ขอความ
ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน ภาพ 3 มิติ โดยผูสอนและผูเรียนสามารถเลือกรูปแบบของ
                                                         
การนําเสนอ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน
             จากขอดีของการเรียนการสอนบนเว็บดังกลาว พอจะสรุปไดวาการจัดการเรียนการสอน
บนเว็บเปนประโยชนตอการศึกษาในหลายลักษณะ ดังนี้
                 1. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน โดยใชสื่ออุปกรณ และคลังความรูที่มีอยูบน
อินเทอรเน็ต เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนของครูและนักเรียน
                2. เกิดเครือขายความรู ที่สามารถแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมซึ่งกันและกันบน
อินเทอรเน็ต ขอมูลจะมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ และสะดวกและรวดเร็ว
                3. ผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถสืบคนวิชาความรูไดดวยตนเอง โดยมีการให
                                                                      
คําปรึกษาและชี้แนะโดย ครู- อาจารย
16



           4. ลดชองวางระหวางการศึกษาในเมืองและชนบท สรางความเทาเทียมกันและ
กระจายโอกาสทางการศึกษาใหเด็กชนบทไดรูเทาทัน เพือสนับสนุนนโยบายและการพัฒนาระบบ
                                                  ่
เทคโนโลยีการศึกษาและเครือขายสารสนเทศ เพื่อความสอดคลองและสนับสนุน การปฏิรูป
การศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542


บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย
            ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (2544 : 6-9) ไดกลาวถึง
บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทยไววา
            สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ IT (Information Technology) ไดมวิวัฒนาการและ
                                                                       ี
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามลําดับ ขณะนีก็จะมีวิถีของการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว
                                         ้
และซับซอนมากกวายุคใด ๆ ที่ผานมา ซึ่งทั้งนี้ตองระดมสมอง สรรพกําลังทั้งมวลเพื่อที่จะใหเกิด
การพัฒนาประเทศ เพื่อการเตรียมความพรอมสําหรับการแขงขันในเวทีโลก ประเทศไทยได
เตรียมความพรอมเขาสูศตวรรษที่ 21 แลว โดยมีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยี
สารสนเทศที่มีผลตอภาคธุรกิจการศึกษา สังคม ซึ่งเนนการใหความสะดวกในดานการบริหาร
จัดการ และใหเกิดความคลองตัวตอการดําเนินงานไปในทิศทางที่สอดคลองกัน จึงไดวางนโยบาย
E - Thailand ขึ้น เพื่อเปดประตูสูการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ไดเนนนโยบายหลักทางดานสังคมเพื่อลด
ชองวางทางสังคม เปดเสรีทางการคาอีเล็กทรอนิกส นโยบายระหวางประเทศ ผลักดันโครงสราง
พื้นฐานสารสนเทศ หนึ่งในนโยบายของ E - Thailand คือการสงเสริมพัฒนาสังคม สิ่งที่ควรจะ
คํานึงถึงก็คือ E - Education เปนการใหการศึกษาแกมนุษยใหมีความรูความสามารถใน
                                                                     
ดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนํามาปรับใชในทุกสวนงานในวงการไอทีซึ่งมีการนําหลักการ 2
ประเภทใหญ ๆ ดังนี้คือ
          1. E - MIS ดานการบริหารงาน
             เปนการนําไปใช ดานการบริหารงานและการจัดการศึกษา เนนดานการจัดพิมพ
เอกสาร ทําฐานขอมูล การประมวลผล เพื่อจัดทําสารสนเทศทางการศึกษา สําหรับการ
ประกอบการตัดสินใจของผูบริหารในทุกระดับ
                         
          2. E-Learning
             เปนการนําไอทีไปใชในดานการสงเสริมประสิทธิภาพดานการเรียนการสอนใน
หลากหลายรูปแบบ เชน การนํามัลติมีเดียมาใชเปนสื่อการสอนของ ครู - อาจารย ใหนกเรียนเรียนรู
                                                                              ั
คนควาดวยตนเอง ดวยการเรียนผานเครือขายคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ตการเรียนทางไกลผาน
17



ดาวเทียม การนําไอทีมาใชเพื่อการเรียนการสอนของ E-Learning ในยุคปจจุบัน เปนการใช
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรทั้งทีเ่ ปนเครื่องเดียวเรียกวา Stand - Alone หรือการเรียกผานเครือขาย
เชื่อมโยงสูอินเทอรเน็ต เพื่อการคนควาหาขอมูลแลกเปลี่ยนความรูบนเครือขายซึ่งที่ผานมาเราใช
สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) ใชในการนําเสนอลงบนแผนซีดีรอม
โดยใช Authoring Tool ทั้งภาพและเสียงเพือเกิดการปฏิสัมพันธ (Interactive) ใหกับผูเรียนซึ่งสื่อ
                                                ่
เหลานี้มีแนวโนมที่จะไดรับความสนใจสูงขึ้นเรื่อย ๆ แตปญหาที่ประสบก็คือเนื้อหาที่มีอยูไมตรง
ตามหลักสูตรการศึกษานอกจากนียังมีการละเมิดลิขสิทธิ์ทําใหผูผลิตไมสามารถพัฒนาสื่อไดอยางมี
                                    ้
คุณภาพ ในระยะแรก ๆ เราไดมีการใชสื่อในหลายประเภทเพื่อการติดตอรับ – สงขอมูลทาง
ดานการศึกษาที่เรียกวา การเรียนทางไกล แบงเปน 3 ประเภท คือ
               2.1 การเรียนการสอนทางไปรษณีย ถือวาเปนยุคแรกเริ่มของการเรียนการสอนทางไกล
มีการรับ – สงบทเรียนผานทางไปรษณีย ซึ่งจะตองใชระยะเวลามากในการติดตอกัน แตละครั้ง จึง
เปนอุปสรรคอยางมากในการเรียนรูเพราะเอกสารอาจสูญหายระหวางทางได
               2.2 การเรียนการสอนผานทางวิทยุกระจายเสียง เรามีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
เปนเครื่องมือที่เชื่อมตอไปยังภูมิภาคทั้งที่เปนของกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และ
สถาบันการศึกษาหลายแหง
               2.3 การเรียนการสอนผานทางโทรทัศนและเครือขายดาวเทียมของกรมการศึกษานอก
โรงเรียน กรมสามัญศึกษาที่รวมกับมูลนิธการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไทยคม สถานีวิทยุ
                                              ิ
โทรทัศนแหงประเทศไทย ชอง 11
            ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนวิธีการของการเรียนการสอนที่เราเคยใชกนมา จนถึงปจจุบันก็ยัง
                                                                           ั
มีการใชอยู แตดวยปจจุบนไอทีเขามามีบทบาทอยางมาก เราสามารถติดตอกับคนทังโลก สามารถ
                            ั                                                       ้
เขาไปคนหาขอมูลไดเพียงปลายนิ้วสัมผัสบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนขุมความรูอนมหาศาล ดวย
                                                                                  ั
วิทยาการเพื่อใชในการพัฒนาองคความรู อันเปนแหลงทรัพยากรที่เปยมดวยคุณคามากมาย
                                                                      
ดังนั้นการปรับรูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบ E-Learning จึงเกิดขึ้น อีกทั้งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติยังสนับสนุนการเรียนการสอนแบบนีอีกดวย    ้
          E-Learning เปนการเรียนการสอนผานทางคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ต
การศึกษาที่นยมกันมากในขณะนี้คือ Web-Based-Learning การเรียนแบบนี้ ผูเรียนสามารถเรียนที่
            ิ
ไหนก็ได เวลาใดก็ไดไมมีขอจํากัด
18



           รูปแบบการเรียนการสอน
           รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลนในประเทศไทย มีดังนี้
            1. การเรียนการสอนทางไกล (Distance Education) เปนการเรียนการสอนที่ประยุกต
เทคโนโลยีหลาย ๆ อยาง เชน ระบบเครือขายคอมพิวเตอร การประชุมทางไกลชนิดภาพและเสียง
รวมถึงเอกสารตาง ๆ เพื่อเขาถึงผูเรียนที่อยูหางไกล
            2. แบบมหาวิทยาลัยออนไลน เรียกวา Online University หรือ Virtual University เปน
ระบบการเรียนการสอนที่อยูบนเครือขายในรูปเว็บเพจ มีการสรางกระดานถาม - ตอบ
อีเล็กทรอนิกส (Web Board)
            3. การเรียนการสอนผานทางอินเทอรเน็ตและเว็บเพจ (Online Learning, Internet
Web-Based-Education) เปนการนําเสนอเนื้อหาและการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนโดย
เนนสื่อประสมหลาย ๆ อยางเขาดวยกัน มีการสรางสภาวะแวดลอมที่ประสานงานกัน ใหผูเรียน
และผูสอนเขาถึงฐานขอมูลหลายชนิดได โดยผูเรียนตองควบคุมจังหวะการเรียนรูดวยตนเองให
เปน และเลือกเวลา สถานที่ในการเรียนรู
            4. โครงขายการเรียนการสอนแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning Network:
ALN) เปนการเรียนการสอนที่ตองมีการติดตามผลระหวางผูเรียนกับผูสอน โดยใชการทดสอบ
บทเรียน เปนตัวโตตอบ
           เครื่องมือชวยเหลือการเรียนการสอนแบบ E-Learning
           เทคโนโลยีระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตจะชวยใหการเรียนการสอน
แบบ E-Learning ไดประสิทธิภาพมากที่สด เราสามารถนําซอฟตแวรที่เกี่ยวของกับการเขียน
                                              ุ
เว็บเพจ การสง E-Mail การใช Search Engine Newsgroup การใช http, ftp หรือ โปรแกรมทางดาน
Authoring Tool เชน FrontPage, Macromedia Dreamweaver เปนตน การสราง Web Board ไว
ถาม – ตอบ สิ่งที่ควรคํานึงถึงการเรียนการสอนแบบ E–Learning ในบานเราก็คือ คน
องคประกอบที่สําคัญที่จะทําใหรูปแบบพัฒนาไปในทิศทางใด จากกรณีศึกษาโรงเรียนจิตรลดา
ผูชวยอาจารยใหญฝายประถมศึกษา อาจารยมีนา รอดคลาย กลาววา ระยะแรก ๆ ตองใหความรู
ทางเทคโนโลยีแกบุคลากร โดยเฉพาะผูบริหารตองใหทานเห็นความสําคัญและเขาใจใน
                                                      
เทคโนโลยีวาไมไดยาก อํานวยความสะดวกสบายใหเราอยางไร เปนตน อันดับตอมาก็คือ ผูพัฒนา
หลักสูตรและเนื้อหาวิชา ผูพฒนาระบบ ผูชวยสอนและทีปรึกษาทางการเรียน
                            ั                          ่
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5

More Related Content

What's hot

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 

What's hot (20)

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

Viewers also liked

การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 

Viewers also liked (8)

บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 

Similar to รายงานวิจัยบทที่ 1 5

ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sichon
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6kruchaily
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
รายงานโครงงานคอม
รายงานโครงงานคอมรายงานโครงงานคอม
รายงานโครงงานคอมAi Promsopha
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Onpriya May
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Ai Promsopha
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Saengnapa Saejueng
 

Similar to รายงานวิจัยบทที่ 1 5 (20)

ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
รายงานโครงงานคอม
รายงานโครงงานคอมรายงานโครงงานคอม
รายงานโครงงานคอม
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from kruwaeo

ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 b
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 bข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 b
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 bkruwaeo
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 a
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 aข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 a
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 akruwaeo
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 b
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 bข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 b
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 bkruwaeo
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 a
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 aข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 a
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 akruwaeo
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 d
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 dข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 d
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 dkruwaeo
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 c
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 cข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 c
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 ckruwaeo
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92D
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92Dข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92D
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92Dkruwaeo
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 c
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 cข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 c
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 ckruwaeo
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษาkruwaeo
 
วิทยฐานะเชิงประจักษ์
วิทยฐานะเชิงประจักษ์วิทยฐานะเชิงประจักษ์
วิทยฐานะเชิงประจักษ์kruwaeo
 
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1kruwaeo
 
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56kruwaeo
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีkruwaeo
 
Technology
TechnologyTechnology
Technologykruwaeo
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson planskruwaeo
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมหลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมkruwaeo
 
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007kruwaeo
 
Presentwordpess
PresentwordpessPresentwordpess
Presentwordpesskruwaeo
 

More from kruwaeo (20)

ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 b
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 bข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 b
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 b
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 a
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 aข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 a
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 61 a
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 b
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 bข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 b
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 b
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 a
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 aข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 a
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 62 a
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 d
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 dข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 d
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 d
 
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 c
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 cข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 c
ข้อสอบ O-Net ปี 2553 ไทย วิทย์ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 91 c
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92D
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92Dข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92D
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92D
 
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 c
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 cข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 c
ข้อสอบ O-net ปี 2553 สังคม อังกฤษ คณิต 92 c
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา
 
วิทยฐานะเชิงประจักษ์
วิทยฐานะเชิงประจักษ์วิทยฐานะเชิงประจักษ์
วิทยฐานะเชิงประจักษ์
 
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1
ขอเชิญชวนสมัครเข้าร่วมโครงการชวนน้องท่องพุทธวจน ครั้งที่ 1
 
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56
แนวทางการออกข้อสอบ Onet ม.3 ปี 56
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson plans
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมหลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007
การแต่งภาพด้วยโปรแกรม powerPoint2007
 
Presentwordpess
PresentwordpessPresentwordpess
Presentwordpess
 

รายงานวิจัยบทที่ 1 5

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 หมวดที่ 9 มาตรา 63-69 กําหนดใหรัฐมุงสงเสริมและสนับสนุนใหมการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี ี เพื่อการศึกษาโดยใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา และใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเพื่อใหมีความรูความสามารถและ ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ สวนดาน ผูเรียนใหมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรก ที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ตลอดจนรัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทังติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อ ้ การศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 37-38) สวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และหลักสูตรสถานศึกษา มีจุดมุงหมาย เพื่อมุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวต และใชเวลาอยาง ิ สรางสรรครวมทั้งมีความยืดหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรูไดจากสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู ทุกประเภท โดยเฉพาะ เนนสื่อที่ผูเรียนและผูสอนใชศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 23) ระบบเครือขายคอมพิวเตอรถูกพัฒนาใหกวางขวางมากขึนในปจจุบันโดยมีชื่อเรียกวา ้ เครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) หรือ เรียกสั้นๆ วาอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตเปนเครือขาย คอมพิวเตอรทมีขนาดใหญที่สุดในโลกซึ่งประกอบดวยเครือขายยอยจํานวนมากมายกระจายอยูทว ี่ ั่ ทุกมุมโลก กลาวกันวาเวลานีมีคอมพิวเตอรขนาดตางๆ ตอเชื่อมระบบอินเทอรเน็ตหลายสิบลาน ้ เครื่อง ทําใหระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครือขายสื่อสารที่ใหญมากจนสามารถตอบสนอง ความตองการในการคนหาขอมูลอยางไรพรมแดนในยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี (วิทยา เรืองพรพิสุทธิ์. 2538 : 2)
  • 2. 2 อีกทั้งปจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดพฒนาการไปอยางรวดเร็ว ทําให ั มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะเทคโนโลยีดานเครือขายคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต มาใชในการเรียนการสอน ซึงถือเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษาทําใหเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ่ ไดรับการเผยแพรเขาสูการศึกษาในทุกระดับ สถานศึกษาตางเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรของ หนวยงานเขาสูอินเทอรเน็ต เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอนไดมีโอกาสเขาถึงแหลงขอมูลความรู  ในโลกภายนอกโดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหนักการศึกษาหลายคนเกิดความคิดที่จะนํา เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเขามาใชในการเรียนการสอนในหองเรียนดวยวิธีการตางๆ เชน ใชสืบคน ขอมูลใชในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรูในรูปของกระดานขาว เพราะแตจดเดนของการใชงาน  ุ เครือขายอินเทอรเน็ตคือการนําเสนอขอมูลที่สามารถนําเสนอไดทั้งขอความ รูปภาพทั้งภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว และในรูปของเสียง ที่สามารถดึงดูดความสนใจ มีชวตชีวา ทําใหไดรับความนิยม ีิ มาก และมีการพัฒนาเผยแพรไปอยางมาก หนวยงานทางการศึกษาหลายหนวยงานไดใชประโยชน ของเครือขายอินเทอรเน็ตในการประชาสัมพันธหนวยงาน ในการสงเสริมภาพพจน และในลักษณะ ของการเรียนการสอนโดยผานเครือขายอินเทอรเน็ต การจัดการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่สามารถแกไข ขอจํากัดทางดานเวลาและสนองตอความตองการของผูเรียนไดเปนอยางดี จะเรียนไดชาหรือเร็ว ขึ้นอยูกับตัวของนักเรียนเอง คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเสริมแรงไดอยางรวดเร็วและเปนระบบ ทําใหนกเรียนมีกําลังใจในการเรียน ความสามารถในการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอรทําใหการเรียน ั แบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเปนไปไดอยางงายดาย นอกจากนี้นกเรียนยังสามารถใชเวลานอก ั หองเรียนศึกษาจากคอมพิวเตอรชวยสอนไดดวยตนเอง โดยไมจํากัดเวลา และสถานที่ ผูเรียนโดย  คอมพิวเตอรชวยสอนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทียบเทาหรือสูงกวาผูเรียนที่เรียนโดยปกติ โดย  ใชเวลาเรียนนอยกวาและมีทศนคติที่ดีตอการเรียนวิชานันๆ ชวยใหผูเรียนมีความสนใจใฝหา ั ้ ความรู และกระตือรือรนที่จะมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากขึ้นกวาเดิม ผูเรียนสามารถตอบโต กับคอมพิวเตอรได ผูเรียนไมตองกลัวหรืออายคอมพิวเตอร สวนการสรางและพัฒนาเว็บไซตเปนการนําเสนอขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่ง เปนการพัฒนาความคิดสรางสรรค พัฒนาทักษะการออกแบบงานและการทํางานอยางมีกลยุทธ โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเปนการนําเทคโนโลยีมา ใชและประยุกตใชในการทํางาน ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศนของหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน ้ พ.ศ.2544 กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 2) และสอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิมเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 หมวดที่ 9 ่ มาตรา 63-69 วาดวยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
  • 3. 3 แตปจจุบนโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ที่ผูวิจยสอนอยูนั้น ยังประสบปญหาดานการใช ั ั เทคโนโลยีเพือการศึกษาและมีขอจํากัดเรืองเครื่องคอมพิวเตอรไมเพียงพอกับผูเรียน คือ จํานวน ่ ่ เครื่องคอมพิวเตอร 1 เครื่องตอนักเรียนสองถึงสามคนในการจัดการเรียนการสอนแตละครั้ง ทําให นักเรียนบางคนขาดโอกาสในการฝกปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่เพราะมีเวลานอยกวาปกติ การสราง บทเรียนออนไลนไวบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนการเปดชองทางการเรียนรูอีกทางหนึ่งใหกับ ผูเรียนไดเรียนรูไดดวยตนเองโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และจํานวนครั้ง ดังนั้น จากความสําคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตรวมถึงปญหาจาก การจัดการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร)ดังกลาว ทําใหผูวจัยมี ิ ความสนใจทีจะสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน ่ (คอมพิวเตอร) เรื่อง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ซึ่งเปนนักเรียนที่ผูวิจยสอนอยู แลวทดลองสอนและ ั พัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพือแกปญหาการขาดแคลนคอมพิวเตอรและใชเปนแนวทางใน ่ การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพืนฐาน(คอมพิวเตอร) ใหแกนกเรียนตอไป ้ ั ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน เรื่อง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft  FrontPage 2003 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน  สมมติฐานการวิจัย 1. บทเรียนออนไลน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอบทเรียนออนไลนอยูในระดับมาก
  • 4. 4 ความสําคัญของการวิจัย 1. ไดบทเรียนออนไลนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) เรื่อง การเขียน เว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่มีประสิทธิภาพ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา  ปที่ 2 2. ไดพัฒนาทักษะการเขียนเว็บไซตของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ้ โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรมย ั 3. เปนการกระตุนใหนกเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ั พื้นฐาน(คอมพิวเตอร) มากขึ้น 4. นักเรียนทีมีเครื่องคอมพิวเตอรใชเปนการสวนตัวทีบานสามารถใชอินเทอรเน็ตได ่ ่ สามารถเรียนรูจากบทเรียนออนไลน เรื่องการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ไดดวยตนเองเมื่อตองการ  5. เปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของครูผูสอน ในการสรางสื่อประเภท บทเรียนออนไลน หรือ E-Learning อีกทั้งยังเปนการเพิ่มองคความรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่เปน ภาษาไทยเพื่อเปนแหลงคนควาหาความรูตอไป  6. เปนการสรางคุณภาพทีดตอระบบการศึกษา โดยนําเทคโนโลยีเขามาใชใหเกิด ่ี ประโยชนสูงสุดในการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนทักษะใหนักเรียนกาวทันตอความกาวหนาของโลก ยุคดิจิตอล ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรรัมย จังหวัดบุรีรัมย จํานวน 3 หองเรียน ปการศึกษา 2549 จํานวน 90 คน ี กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรรัมย จังหวัดบุรีรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมอยางงายใน ี การเลือกหองที่จะใชในการทดลองสอน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ 2.1.1 การเรียนการสอนโดยใชบทเรียนออนไลนเรื่องการเขียนเว็บไซตดวย โปรแกรม Microsoft FrontPage 2003
  • 5. 5 2.2 ตัวแปรตาม คือ 2.2.1 ประสิทธิ์ภาพของบทเรียนออนไลน 2.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2.2.3 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน 3. ระยะเวลาในการทําวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเวลาในการทดลอง จํานวน 20 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 4. เนื้อหา เนื้อหาที่ใชในบทเรียนออนไลนเปนเนื้อหาความรูเรื่อง การเขียน การออกแบบและ พัฒนาเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003โดยแบงหนวยการเรียนรูออกเปน 6 หนวย ดังนี้ หนวยที่ 1 รูจักกับ FrontPage 2003 หนวยที่ 2 เริ่มตนเขียนเว็บ หนวยที่ 3 การตกแตงภาพในเว็บเพจ หนวยที่ 4 การเชื่อมโยงเว็บเพจ หนวยที่ 5 การใสตารางบนเว็บเพจ หนวยที่ 6 การสรางเฟรมเซตในเว็บเพจ นิยามศัพทเฉพาะ บทเรียนออนไลน (E-Learning) หมายถึง บทเรียนออนไลนเรื่อง การเขียนเว็บไซตดวย  โปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ผูวิจัยสรางขึน มีลักษณะใน ้ การนําเสนอบทเรียนดวยคอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย ผูเรียนสามารถโตตอบกับบทเรียนและเรียนรู ไดดวยตนเอง ทางเครือขายคอมพิวเตอรหรือเครือขายอินเทอรเน็ต  นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถในการเรียนวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) ซึ่งวัดไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก บทเรียนออนไลน เรื่องการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น 
  • 6. 6 ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนในการสราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหผเู รียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคถึงระดับเกณฑที่คาดหวังไว เกณฑ 80% หมายถึง ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนที่คาดหวังไว โดยพิจารณา จากคาเฉลี่ยของคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหัดกับคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนน แบบทดสอบคิดเปนรอยละ
  • 7. 7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครังนี้ ผูวิจยไดศกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของและไดนําเสนอตาม ้ ั ึ หัวขอตอไปนี้ 1. ความหมายของการเรียนการสอนบนเว็บ 2. คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ 3. ลักษณะสําคัญของ E-Learning 4. ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ 5. ขอดีของการสอนบนเว็บ 6. บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย 7. ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา 8. ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 9. หลักทฤษฎีที่ใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  10. สวนประกอบในการจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 11.บุคลากรที่เกี่ยวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 12. งานวิจยที่เกี่ยวของ ั 12.1 งานวิจยที่เกียวของในประเทศ ั ่ 12.2 งานวิจยที่เกียวของตางประเทศ ั ่ ความหมายของการเรียนการสอนบนเว็บ บทเรียนออนไลน หรือการจัดการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ อินเทอรเน็ต เรียกอีกอยางวา E-Learning ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบน และเว็บไซต ั ไดเขามามีบทบาทสําคัญทางการศึกษาและกลายเปนคลังแหงความรูที่ไรพรมแดน ซึงผูสอนไดใช ่ เปนทางเลือกใหมในการสงเสริมการเรียนรู เพื่อเปดประตูการศึกษาจากหองเรียนไปสูโลกแหง การเรียนรูอันกวางใหญ รวมทั้งการนําการศึกษาไปสูผูที่ขาดโอกาสดวยขอจํากัดทางดานเวลาและ สถานที่ มีผูใหความหมายและความสําคัญไวดังนี้
  • 8. 8 รีแลน และกิลลานิ (Relan & Gillani, 1997 : 43-45) กลาววาการเรียนการสอนโดยใช เครือขายอินเทอรเน็ตเปนการกระทําที่ผูสอนคิดการเตรียมกลวิธีการสอน โดยใชประโยชนจาก คุณลักษณะ และทรัพยากรในเวิลดไวดเว็บ ดริสคอลล (Driscoll. 1999 : 37-44) ใหความหมายของการเรียนการสอนผานเครือขาย อินเทอรเน็ตวา เปนการใชทกษะ หรือความรูตาง ๆ ถายโยงไปสูที่ใดที่หนึ่งโดยการใชเวิลดไวดเว็บ ั เปนชองทางในการเผยแพรสิ่งเหลานั้น กิดานันท มลิทอง (2543 : 11) กลาววา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขายเปนการใช เครือขายในการเรียนการสอนโดยนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมด ตาม หลักสูตรหรือเพียงใชเสนอขอมูลบางอยางเพื่อประกอบการสอนก็ได รวมทั้งใชประโยชนจาก คุณลักษณะตางๆ ของการสื่อสารที่มีอยูในระบบอินเทอรเน็ต มาใชประกอบกันเพื่อใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด วิชุดา รัตนเพียร (2542 : 30) กลาววา การเรียนการสอนผานสื่อบนเครือขายเปน การนําเสนอโปรแกรม บทเรียนบนครือขาย โดยนําเสนอผานบริการเวิลดไวดเว็บในเครือขาย อินเทอรเน็ต ซึ่งผูออกแบบและสรางโปรแกรมการสอน จะตองคํานึงถึงความสามารถและบริการ ที่หลากหลายของอินเทอรเน็ต และนําคุณสมบัติตางๆ เหลานั้นมาใชเพื่อประโยชนในการเรียน การสอนใหมากที่สุด ใจทิพย ณ สงขลา (2542 : 18-28) ไดใหความหมายการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย หมายถึง การผนวกคุณสมบัติ สื่อหลายมิติ หรือ ไฮเปอรมีเดียเขากับคุณสมบัติของเครือขาย เวิลดไวดเว็บ เพื่อสรางสิ่งแวดลอมแหงการเรียนในมิติที่ไมมีขอบเขต จํากัดดวยระยะทางและเวลา ที่แตกตางกันของผูเรียน (Learning without Boundary) ชุณหพงศ ไทยอุปถัมภ (2544 : 26-28) ไดใหความหมายของ คําวา E-Learning หรือ Electronic Learning หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม ที่มการประยุกตใชเทคโนโลยี ี สื่ออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม มีวัตถุประสงคที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูองคความรู (Knowledge) ไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ (Anywhere-Anytime Learning) เพื่อใหระบบ การเรียนการสอนเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อใหผูเรียนสามารถบรรลุ วัตถุประสงคของกระบวนวิชาที่เรียนนันๆ ้ พรรณี เกษกมล (2543 : 49-55) ไดกลาวถึงการเรียนรูบนเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) วาเปนวิถีทางของนวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอนตอผูเรียนทางไกลโดยการใชเว็บ เปนสื่อกลางการเรียนการสอนเปนสิ่งที่จะทําใหไดรับความรูขอมูลขาวสาร และกิจกรรมที่สะดวก ตอผูเรียน การบรรลุถึงซึ่งความสําเร็จของเปาหมายการเรียนรูในเรื่องอื่น ๆ เฉพาะดานเปนสื่อกลาง
  • 9. 9 ในการสงสาร ในการเรียนการสอนใหติดตอถึงกันได การเรียนรูบนเว็บเปนโปรมแกรมการเรียน การสอนบนฐานของสื่อที่ไดเชื่อมโยงกันในทางไกลซึ่งไดประโยชนจากเหตุผลและทรัพยากรของ World Wide Web เพื่อสรางสิ่งแวดลอมการเรียนรูที่มีความหมายที่สนับสนุนและชวยใหเกิด การเรียนรูบนเว็บได สรรรัชต หอไพศาล (2544 : 93-104) ไดใหความหมายการเรียนการสอนผานเว็บวา เปน การใชโปรแกรมสื่อหลายมิติที่อาศัยประโยชนจากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอรเน็ตและ เวิลดวายเว็บ มาออกแบบเปนเว็บเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรู อยางมีความหมาย เชื่อมโยงเปนเครือขายทีสามารถเรียนไดทุกที่ทุกเวลา โดยมีลักษณะที่ผูสอน ่ ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันโดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน สวน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) กลาวถึงการสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) วาเปนการผสมผสานกันระหวางเทคโนโลยีปจจุบนกับกระบวนการออกแบบการเรียน ั การสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรูและแกปญหาในเรื่องขอจํากัดทางดานสถานที่และ  เวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกตใชคณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ ในการจัด ุ สภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผานเว็บนี้ อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได จากการศึกษาความหมายของบทเรียนออนไลนดังกลาว พอสรุปไดวา บทเรียนออนไลน เรียกอีกอยางวา E-Learning หมายถึง การจัดการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ อินเทอรเน็ต โดยการประยุกตใชเทคโนโลยีสื่ออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม ที่เรียกวาคอมพิวเตอรชวย สอน เอาไวบนเว็บไซตหรือบนเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดโดยไมจํากัด เวลา สถานที่ และระยะทาง การเรียนรูบนเว็บถือเปนนวัตกรรมใหม ทีครู อาจารยในสถานศึกษาทุก ่ ระดับสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนตอการจัดกระบวนการเรียนการสอนรวมทั้งฝายบริหาร  นักการศึกษาที่จะพัฒนาใหเกิดการเรียนรูตอเยาวชนของชาติ พัฒนาแหลงการเรียนรูใหมากขึ้น และ  ใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูใหมากที่สุด ควรจะไดพฒนาการเรียนรูบนเว็บนีใหเห็นผลในทาง ั ้ ปฏิบัติ ซึ่งเปนการใหโอกาสในการพัฒนาการเรียนรูและประสบการณใหม ๆ สําหรับผูเรียนทั่วโลก ที่จะมีโอกาสศึกษาหาความรูไดอยางทัดเทียมกัน  คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงคุณลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อ ประโยชนตอการจัดการเรียนการสอน มีอยู 8 ประการ ไดแก
  • 10. 10 1. การที่เว็บเปดโอกาสใหเกิดการปฏิสัมพันธ (Interactive) ระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรียน 2. การที่เว็บสามารถนําเสนอเนื้อหา ในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) 3. การที่เว็บเปนระบบเปด (Open System) ซึ่งอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูล ไดทั่วโลก 4. การที่เว็บอุดมไปดวยทรัพยากร เพื่อการสืบคนออนไลน (Online Search/Resource) 5. ความไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลาของการสอนบนเว็บ (Device, Distance and  Time Independent) ผูเรียนทีมีคอมพิวเตอรในระบบใดก็ได ซึ่งตอเขากับอินเทอรเน็ต จะสามารถเขา ่ เรียนจากที่ใดก็ไดในเวลาใดก็ได 6. การที่เว็บอนุญาตใหผูเรียนเปนผูควบคุม (Learner Controlled) ผูเรียนสามารถเรียน ตามความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน 7. การที่เว็บมีความสมบูรณในตนเอง (Self- Contained) ทําใหเราสามารถจัด กระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเว็บได 8. การที่เว็บ อนุญาตใหมการติดตอสื่อสาร ทั้งแบบเวลาเดียว (Synchronous ี Communication) เชน Chat และตางเวลากัน (Asynchronous Communication) เชน Web Board เปนตน สรุปไดวา คุณลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนนั้น จะตองเปนเว็บที่เปดโอกาสใหเกิดการปฏิสัมพันธ ระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรียน เปนเว็บที่สามารถนําเสนอเนื้อหา ในรูปแบบของสื่อประสม เปนเว็บ ระบบเปดซึ่งอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก และอุดมไปดวยทรัพยากร เพื่อ การสืบคนออนไลน รวมทั้งการไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลา ผูเรียนสามารถเรียนตาม ความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน การที่เว็บมีความสมบูรณในตนเอง ทําใหเราสามารถ จัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเว็บได ตลอดจนอนุญาตใหมการติดตอสื่อสาร ทั้งแบบ ี เวลาเดียวและตางเวลากัน ซึงในการสรางเว็บชวยสอนทีสมบูรณจะตองคํานึงถึงสิ่งตางๆ ที่กลาวมา ่ ่ ลักษณะสําคัญของ E-Learning ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2545) ยังไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของ E-Learning ไววาในการสรางบทเรียนใหมีคุณภาพ จะตองคํานึงลักษณะสําคัญตาง ๆ เพื่อใหผูเรียน เกิดการเรียนรู เราสามารถที่จะแยกประเด็นลักษณะสําคัญไดดังนี้
  • 11. 11 1. Anywhere, Anytime หมายถึง E-Learning ควรตองชวยขยายโอกาสในการเขาถึง เนื้อหาการเรียนรูของผูเรียนไดจริง ในที่นหมายรวมถึงการที่ผูเรียนสามารถเรียกดูเนือหาตาม ี้ ้ ความสะดวกของผูเรียน ยกตัวอยาง เชน ในประเทศไทยควรมีการใชเทคโนโลยีการนําเสนอเนื้อหา ที่สามารถเรียกดูไดทั้งขณะที่ออนไลน (เครื่องมีการตอเชื่อมกับเครือขาย) และในขณะที่ออฟไลน (เครื่องไมมีการตอเชื่อมกับเครือขาย) 2. Multimedia หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาโดย ใชประโยชน จากสื่อประสมเพื่อใหเกิดความคงทนในการเรียนรูไดดขึ้น ี 3. Non-linear หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ไมเปน เชิงเสนตรง กลาวคือผูเรียนสามารถเขาถึงเนื้อหาตามความตองการโดย E-Learning จะตองจัดหา การเชื่อมโยงที่ยืดหยุน แกผเู รียน 4. Interaction หมายถึง E-Learning ควรตองมีการเปดโอกาสใหผูเรียนโตตอบ (มีปฏิสัมพันธ) กับเนื้อหาหรือกับผูอื่นได กลาวคือ - E-Learning ควรตองมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผูเรียนสามารถโตตอบกับเนื้อหา รวมทั้งมีการจัดเตรียมแบบฝกหัดและแบบทดสอบใหผูเรียนสามารถตรวจสอบความเขาใจดวย ตนเองได - E-Learning ควรตองมีการจัดหาเครื่องมือในการใหชองทางแกผูเรียนในการ ติดตอสื่อสารเพื่อการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผูสอน วิทยากร ผูเชี่ยวชาญ หรือเพื่อน 5. Immediate Response หมายถึง E-Learning ควรตองมีการออกแบบใหมี การทดสอบ การวัดผลและการประเมินผล ซึ่งใหผลปอนกลับโดยทันทีแกผูเรียนไมวาจะอยูใน   ลักษณะของแบบทดสอบกอนเรียน หรือแบบทดสอบหลังเรียน ก็ตาม สรุปไดวา ลักษณะสําคัญของ E-Learning ที่เอื้อตอการเรียนการสอนและสามารถทําให ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดนน จะตองประกอบไปดวย การเขาถึงเนื้อหาบทเรียนไดโดยไมจํากัด ั้ เวลาและสถานที่ พรอมทั้งเปดกวางใหอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก ตลอดจนการนําเสนอ บทเรียนควรมีลักษณะเปนสือมัลติมีเดีย สามารถเรียนรูไดตามสนใจ และมีการประเมินผลโดย ่ ใหผลยอนกลับทันที ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนแหลงทรัพยากรที่มีคุณสมบัติหลากหลายตอการนําไปประยุกต ใชในการศึกษา ดังนั้นการเรียนการสอนสือบนเครือขาย จึงสามารถทําไดในหลายลักษณะ แตละ ่
  • 12. 12 สถาบันและแตละเนื้อหาของหลักสูตร จะมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกตางกันออกไป ซึ่งใน ประเด็นนี้ มีนักการศึกษาไดใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย ไวดังนี้ พารสัน (Parson. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บออกเปน 3 ลักษณะ คือ 1. สื่อบนเครือขายรายวิชา (Stand-alone Courses) มีการบรรจุเนื้อหา (Content) หรือ เอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพียงอยางเดียว เปนสื่อบนเครือขายรายวิชาที่มีเครื่องมือ และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต ลักษณะของการเรียนการสอนนี้ ไดแกที่มีลักษณะเปนแบบวิทยาเขต มีนักศึกษาจํานวนมากที่เขามาศึกษา ลักษณะการสื่อสารที่เปน การสงขอมูลระยะไกล และมักจะเปนการสื่อสารทางเดียว 2. สื่อบนเครือขายสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) มีลักษณะเปน รูปธรรมที่มีลักษณะเปนการ สื่อสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน และมี แหลงทรัพยากรทางการศึกษา มีการกําหนดภารกิจการเรียนรู การกําหนดใหอาน มีการรวมกัน อภิปราย การตอบคําถาม มีการสื่อสารอื่นๆ ผานคอมพิวเตอร อีกทั้งกิจกรรมตางๆที่ใหปฏิบัติใน รายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหลงทรัพยากรอื่นๆ เปนตน 3. สื่อบนเครือขายแหลงทรัพยากรการศึกษา (Web Pedagogical Resources) เปนสื่อ ที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบันการศึกษาไว ดวยกัน และยังรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาทังหมด และเปนแหลงสนับสนุนกิจกรรม ้ ตางๆ ทางการศึกษา ทั้งทางดานวิชาการและไมใชวิชาการ โดยการใชสื่อ ที่หลากหลาย รวมถึง การสื่อสารระหวางบุคคลดวย สวนเจมส (James. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บตามโครงสราง และประโยชนการใชงานได 3 ลักษณะใหญ ๆ คือ 1.โครงสรางแบบคนหา (Eclectic Structures) ลักษณะของโครงสรางเว็บไซตแบบนี้ เปน แหลงของเว็บไซตที่ใชในการคนหาไมมีการกําหนดขนาด รูปแบบ ไมมีโครงสรางที่ผูเรียนตองมี ปฏิสัมพันธกับเว็บลักษณะของเว็บไซตแบบนี้จะมีแตการใหใชเครื่องมือในการสืบคนหรือเพื่อบาง สิ่งที่ตองการคนหาตามที่กําหนดหรือโดยผูเขียนเว็บไซตตองการ โครงสรางแบบนี้จะเปนแบบเปด ใหผูเรียนไดเขามาคนควาในเนื้อหาในบริบท โดยไมมีโครงสรางขอมูลเฉพาะใหไดเลือกแต โครงสรางแบบนี้จะมีปญหากับผูเรียนเพราะผูเรียนอาจจะไมสนใจขอมูลที่ไมมีโครงสราง โดยไม กําหนดแนวทางในการสืบคน
  • 13. 13 2.โครงสรางแบบสารานุกรม (Encyclopedic Structures) ถาเราควบคุมของสรางของเว็บ ที่เราสรางขึ้นเองได เราก็จะใชโครงสรางขอมูลในแบบตนไมในการเขาสูขอมูล ซึ่งเหมือนกับ หนังสือที่มีเนือหาและมีการจัดเปนบทเปนตอน ซึ่งจะกําหนดใหผูเรียนหรือผูใชไดผานเขาไปหา ้ ขอมูลหรือเครื่องมือที่อยูในพื้นที่ของเว็บหรืออยูภายในและภายนอกเว็บ เว็บไซตจํานวนมากมี โครงสรางในลักษณะดังกลาวนี้ โดยเฉพาะเว็บไซตทางการศึกษาที่ไมไดกําหนดทางการคา องคกร ซึ่งอาจจะตองมีลักษณะที่ดูมมากกวานี้ แตในเว็บไซตทางการศึกษาตองรับผิดชอบตอการเรียนรู ี ของผูเรียน กลวิธีดานโครงสรางจึงมีผลตอการเรียนรูของผูเรียน 3.โครงสรางแบบการเรียนการสอน (Pedagogic Structures) มีรูปแบบโครงสรางหลาย อยางในการนํามาสอนตามตองการ ทั้งหมดเปนที่รูจักดีในบทบาทของการออกแบบทางการศึกษา สําหรับคอมพิวเตอรชวยสอนหรือเครื่องมือมัลติมีเดีย ซึ่งความจริงมีหลักการแตกตางกันระหวาง คอมพิวเตอรชวยสอนกับเว็บชวยสอนนันคือความสามารถของ HTML ในการที่จะจัดทําใน  ้ แบบไฮเปอรเท็กซกับการเขาถึงขอมูลหนาจอโดยผานระบบอินเทอรเน็ต สรุปไดวา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย สามารถทําไดในหลายลักษณะขึ้นอยูกับ  ลักษณะของเนื้อหาหลักสูตรวาตองการนําเสนออะไร เชน สื่อบนเครือขายรายวิชา มีการบรรจุ เนื้อหา (Content) หรือเอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพียงอยางเดียว เปนสื่อบนเครือขาย รายวิชาที่มีเครืองมือ และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต สวนสื่อ ่ สนับสนุนรายวิชา จะมีลักษณะเปนรูปธรรมที่มีลักษณะเปนการสื่อสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธ ระหวางผูสอนและผูเรียน และสื่อแหลงทรัพยากรการศึกษา เปนสื่อที่มรายละเอียดทางการศึกษา ี เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบันการศึกษาไวดวยกัน และยังรวมถึงขอมูล เกี่ยวกับสถาบันการศึกษาทังหมด้ ขอดีของการสอนบนเว็บ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงขอดีของการสอนบนเว็บไววา การเรียนรูบนเว็บ ถือเปนความสําเร็จทางวิชาการโดยกระบวนการเรียนการสอนที่ใชสื่อที่ทันสมัย เปดโอกาสใหเรียนรูสิ่งตาง ๆ อยางมากมาย ซึ่งมีขอดี ดังนี้ 1. การสอนบนเว็บเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนที่อยูหางไกล หรือไมมีเวลาในการมา  เขาชั้นเรียนไดเรียนในเวลา และสถานที่ที่ตองการ ซึ่งอาจเปนที่บาน ที่ทํางาน หรือสถานศึกษา ใกลเคียงที่ผูเรียนสามารถเขาไปใชบริการทางอินเทอรเน็ตได การที่ผูเรียนไมจําเปนตองเดินทาง มายังสถานศึกษาที่กําหนดไว จึงสามารถชวยแกปญหาในดานของขอจํากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ ศึกษาของผูเรียนเปนอยางดี
  • 14. 14 2. การสอนบนเว็บยังเปนการสงเสริมใหเกิดความเทาเทียมกันทางการศึกษา ผูเรียนที่ ศึกษาอยูในสถาบันการศึกษาในภูมิภาค หรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย  กับอาจารย ครูผูสอนซึ่งสอนอยูที่สถาบันการศึกษาในนครหลวง หรือในตางประเทศก็ตาม 3. การสอนบนเว็บนี้ ยังชวยสงเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรูตลอดชีวิต เนื่องจาก เว็บเปนแหลงความรูที่เปดกวางใหผูที่ตองการศึกษาในเรืองใดเรื่องหนึง สามารถเขามาคนควาหา ่ ่ ความรูไดอยางตอเนื่อง และตลอดเวลา การสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองตอผูเรียนที่มีความใฝรู รวมทั้งมีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรูดวยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 4. การสอนบนเว็บ ชวยทลายกําแพงของหองเรียนและเปลี่ยนจากหองเรียน 4 เหลี่ยม ไปสูโลกกวางแหงการเรียนรู เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ ไดอยางสะดวก และมีประสิทธิภาพ สนับสนุนสิ่งแวดลอมทางการเรียนที่เชื่อมโยง สิ่งที่เรียนกับปญหาที่พบใน ความเปนจริง โดยเนนใหเกิดการเรียนรูตามบริบทในโลกแหงความเปนจริง (Contextualization) และการเรียนรูจากปญหา (Problem-Based Learning) ตามแนวคิดแบบ Constructivism 5. การสอนบนเว็บเปนวิธีการเรียนการสอน ที่มีศักยภาพ เนื่องจากที่เว็บไดกลายเปน แหลงคนควาขอมูลทางวิชาการรูปแบบใหม ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลก โดยไมจํากัดภาษา การสอนบนเว็บชวยแกปญหาของขอจํากัดของแหลงคนควาแบบเดิม จากหองสมุด อันไดแก ปญหาทรัพยากรการศึกษาทีมีอยูจํากัด และเวลาทีใชในการคนหาขอมูล เนื่องจากเว็บมีขอมูลที่ ่ ่ หลากหลายและเปนจํานวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใชการเชือมโยงในลักษณะของไฮเปอรมีเดีย ่ (Hypermedia) ซึ่งทําใหการคนหาทําไดสะดวกและงายดายกวาการคนหาขอมูลแบบเดิม 6. การสอนบนเว็บจะชวยสนับสนุนการเรียนรูที่กระตือรือรน ทั้งนี้เนื่องจาก คุณลักษณะของเว็บที่เอื้ออํานวยใหเกิดการศึกษาในลักษณะที่ผูเรียนถูกกระตุนใหแสดง ความคิดเห็นไดอยูตลอดเวลาโดยไมจําเปนตองเปดเผยตัวตนทีแทจริง ตัว อยางเชน การใหผูเรียน ่ รวมมือกันในการทํากิจกรรมตาง ๆ บนเครือขาย การใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและ แสดงไวบนเว็บบอรด หรือการใหผูเรียนมีโอกาสเขามาพบปะกับผูเรียนคนอื่น ๆ อาจารย หรือ ผูเชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันทีหองสนทนา เปนตน ่ 7. การสอนบนเว็บเอื้อใหเกิดการปฏิสัมพันธ ซึ่งการเปดปฏิสัมพันธนี้อาจทําได 2 รูปแบบ คือ 7.1 ปฏิสัมพันธกับผูเรียนดวยกันและ/หรือผูสอน 7.2 ปฏิสัมพันธกับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ
  • 15. 15 ซึ่งลักษณะแรกนี้ จะอยูในรูปของการเขาไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน (ดังที่ไดกลาวมาแลว) สวนในลักษณะหลังนั้น จะอยูในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบที่ผูสอนไดจัดหาไวใหแกผูเรียน 8. การสอนบนเว็บ ยังเปนการเปดโอกาสสําหรับผูเรียนในการเขาถึงผูเ ชี่ยวชาญ สาขา ตาง ๆ ทั้งในและนอกสถาบัน จากในประเทศและตางประเทศทั่วโลก โดยผูเรียนสามารถติดตอ สอบถามปญหาขอขอมูลตาง ๆ ที่ตองการศึกษาจากผูเชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซึ่งไมสามารถทําไดใน การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย เมื่อเปรียบเทียบกับ  การติดตอสื่อสารในลักษณะเดิม ๆ 9. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงผลงานของตนสูสายตาผูอื่น อยางงายดาย ทั้งนี้ไมไดจํากัดเฉพาะเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนหากแตเปนบุคคลทั่วไปทั่วโลกได ดังนัน ้ จึงถือเปนการสรางแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอยางหนึ่งสําหรับผูเรียน ผูเรียนจะพยายามผลิตผล งานที่ดีเพื่อไมใหเสียชื่อเสียงตนเอง นอกจากนี้ ผูเรียนยังมีโอกาสไดเห็นผลงานของผูอื่น เพื่อนํามา พัฒนางานของตนเองใหดียงขึ้น ิ่ 10. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูสอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหทันสมัย ไดอยางสะดวกสบายเนื่องจากขอมูลบนเว็บมีลักษณะเปนพลวัตร (Dynamic) ดังนั้นผูสอนสามารถ อัพเดตเนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแกผูเรียนไดตลอดเวลา นอกจากนี้การใหผูเรียนไดสอสารและ ื่ แสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาทําใหเนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุนมากกวาการเรียน การสอนแบบเดิม และเปลียนแปลงไปตามความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ ่ 11. การสอนบนเว็บสามารถนําเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน ภาพ 3 มิติ โดยผูสอนและผูเรียนสามารถเลือกรูปแบบของ  การนําเสนอ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน จากขอดีของการเรียนการสอนบนเว็บดังกลาว พอจะสรุปไดวาการจัดการเรียนการสอน บนเว็บเปนประโยชนตอการศึกษาในหลายลักษณะ ดังนี้ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน โดยใชสื่ออุปกรณ และคลังความรูที่มีอยูบน อินเทอรเน็ต เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนของครูและนักเรียน 2. เกิดเครือขายความรู ที่สามารถแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมซึ่งกันและกันบน อินเทอรเน็ต ขอมูลจะมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ และสะดวกและรวดเร็ว 3. ผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถสืบคนวิชาความรูไดดวยตนเอง โดยมีการให  คําปรึกษาและชี้แนะโดย ครู- อาจารย
  • 16. 16 4. ลดชองวางระหวางการศึกษาในเมืองและชนบท สรางความเทาเทียมกันและ กระจายโอกาสทางการศึกษาใหเด็กชนบทไดรูเทาทัน เพือสนับสนุนนโยบายและการพัฒนาระบบ ่ เทคโนโลยีการศึกษาและเครือขายสารสนเทศ เพื่อความสอดคลองและสนับสนุน การปฏิรูป การศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (2544 : 6-9) ไดกลาวถึง บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทยไววา สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ IT (Information Technology) ไดมวิวัฒนาการและ ี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามลําดับ ขณะนีก็จะมีวิถีของการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ้ และซับซอนมากกวายุคใด ๆ ที่ผานมา ซึ่งทั้งนี้ตองระดมสมอง สรรพกําลังทั้งมวลเพื่อที่จะใหเกิด การพัฒนาประเทศ เพื่อการเตรียมความพรอมสําหรับการแขงขันในเวทีโลก ประเทศไทยได เตรียมความพรอมเขาสูศตวรรษที่ 21 แลว โดยมีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีผลตอภาคธุรกิจการศึกษา สังคม ซึ่งเนนการใหความสะดวกในดานการบริหาร จัดการ และใหเกิดความคลองตัวตอการดําเนินงานไปในทิศทางที่สอดคลองกัน จึงไดวางนโยบาย E - Thailand ขึ้น เพื่อเปดประตูสูการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ไดเนนนโยบายหลักทางดานสังคมเพื่อลด ชองวางทางสังคม เปดเสรีทางการคาอีเล็กทรอนิกส นโยบายระหวางประเทศ ผลักดันโครงสราง พื้นฐานสารสนเทศ หนึ่งในนโยบายของ E - Thailand คือการสงเสริมพัฒนาสังคม สิ่งที่ควรจะ คํานึงถึงก็คือ E - Education เปนการใหการศึกษาแกมนุษยใหมีความรูความสามารถใน  ดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนํามาปรับใชในทุกสวนงานในวงการไอทีซึ่งมีการนําหลักการ 2 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้คือ 1. E - MIS ดานการบริหารงาน เปนการนําไปใช ดานการบริหารงานและการจัดการศึกษา เนนดานการจัดพิมพ เอกสาร ทําฐานขอมูล การประมวลผล เพื่อจัดทําสารสนเทศทางการศึกษา สําหรับการ ประกอบการตัดสินใจของผูบริหารในทุกระดับ  2. E-Learning เปนการนําไอทีไปใชในดานการสงเสริมประสิทธิภาพดานการเรียนการสอนใน หลากหลายรูปแบบ เชน การนํามัลติมีเดียมาใชเปนสื่อการสอนของ ครู - อาจารย ใหนกเรียนเรียนรู ั คนควาดวยตนเอง ดวยการเรียนผานเครือขายคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ตการเรียนทางไกลผาน
  • 17. 17 ดาวเทียม การนําไอทีมาใชเพื่อการเรียนการสอนของ E-Learning ในยุคปจจุบัน เปนการใช เทคโนโลยีคอมพิวเตอรทั้งทีเ่ ปนเครื่องเดียวเรียกวา Stand - Alone หรือการเรียกผานเครือขาย เชื่อมโยงสูอินเทอรเน็ต เพื่อการคนควาหาขอมูลแลกเปลี่ยนความรูบนเครือขายซึ่งที่ผานมาเราใช สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) ใชในการนําเสนอลงบนแผนซีดีรอม โดยใช Authoring Tool ทั้งภาพและเสียงเพือเกิดการปฏิสัมพันธ (Interactive) ใหกับผูเรียนซึ่งสื่อ ่ เหลานี้มีแนวโนมที่จะไดรับความสนใจสูงขึ้นเรื่อย ๆ แตปญหาที่ประสบก็คือเนื้อหาที่มีอยูไมตรง ตามหลักสูตรการศึกษานอกจากนียังมีการละเมิดลิขสิทธิ์ทําใหผูผลิตไมสามารถพัฒนาสื่อไดอยางมี ้ คุณภาพ ในระยะแรก ๆ เราไดมีการใชสื่อในหลายประเภทเพื่อการติดตอรับ – สงขอมูลทาง ดานการศึกษาที่เรียกวา การเรียนทางไกล แบงเปน 3 ประเภท คือ 2.1 การเรียนการสอนทางไปรษณีย ถือวาเปนยุคแรกเริ่มของการเรียนการสอนทางไกล มีการรับ – สงบทเรียนผานทางไปรษณีย ซึ่งจะตองใชระยะเวลามากในการติดตอกัน แตละครั้ง จึง เปนอุปสรรคอยางมากในการเรียนรูเพราะเอกสารอาจสูญหายระหวางทางได 2.2 การเรียนการสอนผานทางวิทยุกระจายเสียง เรามีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา เปนเครื่องมือที่เชื่อมตอไปยังภูมิภาคทั้งที่เปนของกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และ สถาบันการศึกษาหลายแหง 2.3 การเรียนการสอนผานทางโทรทัศนและเครือขายดาวเทียมของกรมการศึกษานอก โรงเรียน กรมสามัญศึกษาที่รวมกับมูลนิธการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไทยคม สถานีวิทยุ ิ โทรทัศนแหงประเทศไทย ชอง 11 ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนวิธีการของการเรียนการสอนที่เราเคยใชกนมา จนถึงปจจุบันก็ยัง ั มีการใชอยู แตดวยปจจุบนไอทีเขามามีบทบาทอยางมาก เราสามารถติดตอกับคนทังโลก สามารถ ั ้ เขาไปคนหาขอมูลไดเพียงปลายนิ้วสัมผัสบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนขุมความรูอนมหาศาล ดวย ั วิทยาการเพื่อใชในการพัฒนาองคความรู อันเปนแหลงทรัพยากรที่เปยมดวยคุณคามากมาย  ดังนั้นการปรับรูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบ E-Learning จึงเกิดขึ้น อีกทั้งพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติยังสนับสนุนการเรียนการสอนแบบนีอีกดวย ้ E-Learning เปนการเรียนการสอนผานทางคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ต การศึกษาที่นยมกันมากในขณะนี้คือ Web-Based-Learning การเรียนแบบนี้ ผูเรียนสามารถเรียนที่ ิ ไหนก็ได เวลาใดก็ไดไมมีขอจํากัด
  • 18. 18 รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลนในประเทศไทย มีดังนี้ 1. การเรียนการสอนทางไกล (Distance Education) เปนการเรียนการสอนที่ประยุกต เทคโนโลยีหลาย ๆ อยาง เชน ระบบเครือขายคอมพิวเตอร การประชุมทางไกลชนิดภาพและเสียง รวมถึงเอกสารตาง ๆ เพื่อเขาถึงผูเรียนที่อยูหางไกล 2. แบบมหาวิทยาลัยออนไลน เรียกวา Online University หรือ Virtual University เปน ระบบการเรียนการสอนที่อยูบนเครือขายในรูปเว็บเพจ มีการสรางกระดานถาม - ตอบ อีเล็กทรอนิกส (Web Board) 3. การเรียนการสอนผานทางอินเทอรเน็ตและเว็บเพจ (Online Learning, Internet Web-Based-Education) เปนการนําเสนอเนื้อหาและการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนโดย เนนสื่อประสมหลาย ๆ อยางเขาดวยกัน มีการสรางสภาวะแวดลอมที่ประสานงานกัน ใหผูเรียน และผูสอนเขาถึงฐานขอมูลหลายชนิดได โดยผูเรียนตองควบคุมจังหวะการเรียนรูดวยตนเองให เปน และเลือกเวลา สถานที่ในการเรียนรู 4. โครงขายการเรียนการสอนแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning Network: ALN) เปนการเรียนการสอนที่ตองมีการติดตามผลระหวางผูเรียนกับผูสอน โดยใชการทดสอบ บทเรียน เปนตัวโตตอบ เครื่องมือชวยเหลือการเรียนการสอนแบบ E-Learning เทคโนโลยีระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตจะชวยใหการเรียนการสอน แบบ E-Learning ไดประสิทธิภาพมากที่สด เราสามารถนําซอฟตแวรที่เกี่ยวของกับการเขียน ุ เว็บเพจ การสง E-Mail การใช Search Engine Newsgroup การใช http, ftp หรือ โปรแกรมทางดาน Authoring Tool เชน FrontPage, Macromedia Dreamweaver เปนตน การสราง Web Board ไว ถาม – ตอบ สิ่งที่ควรคํานึงถึงการเรียนการสอนแบบ E–Learning ในบานเราก็คือ คน องคประกอบที่สําคัญที่จะทําใหรูปแบบพัฒนาไปในทิศทางใด จากกรณีศึกษาโรงเรียนจิตรลดา ผูชวยอาจารยใหญฝายประถมศึกษา อาจารยมีนา รอดคลาย กลาววา ระยะแรก ๆ ตองใหความรู ทางเทคโนโลยีแกบุคลากร โดยเฉพาะผูบริหารตองใหทานเห็นความสําคัญและเขาใจใน  เทคโนโลยีวาไมไดยาก อํานวยความสะดวกสบายใหเราอยางไร เปนตน อันดับตอมาก็คือ ผูพัฒนา หลักสูตรและเนื้อหาวิชา ผูพฒนาระบบ ผูชวยสอนและทีปรึกษาทางการเรียน ั  ่