SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
บทที่ 2
                            เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                           ั ่

         ในการวิจยครั้งนี้ ผูวิจยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง และได้นาเสนอตามหัวข้อ
                  ั           ้ ั                          ั
เรี ยงตามลาดับดังนี้
         1. กิจกรรมกลุ่ม
         2. คุณธรรมและจริ ยธรรม
         3. ความรับผิดชอบ
         4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                    ั
         5. ขั้นตอนการเรี ยนรู ้ของกิจกรรมกลุ่มที่มีผลต่อความรับผิดชอบด้านการเรี ยนของนักเรี ยน

กิจกรรมกลุ่ม

          ผูวจยได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับกิจกรรมกลุ่ม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
            ้ิั
          1. ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม
             นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
             ดอร์ วน คาร์ทไรท์ และอัลวิน ซานเดอร์ (Dorwin Cartwright and Alvin Zander,
                   ิ
1953: 3) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่มเป็ นการนาเอาวิธีการต่าง ๆ เช่น บทบาทสมมติ สถานการณ์
จาลอง เกม การอภิปรายการสังเกต และการให้ขอวิจารณ์ (Feedback) ซึ่ งกันและกัน เพื่อช่วยให้
                                                   ้
การตัดสิ นใจรวมกัน และยังใช้ฝึกทักษะเกี่ยวกับมนุษย์สมพันธ์ หรื อการประชุมต่างๆ
                                                         ั
             โอลเซน (Ohlsen, 1970: 6 – 7) ได้สรุ ปความหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้ 2 ประการ
             1. กิจกรรมกลุ่มที่มีผนาเป็ นผูให้ขอมูลรายละเอียดต่าง ๆ แก่สมาชิกหรื อผูนาอภิปราย
                                  ู้       ้ ้                                      ้
เพื่อที่สมาชิกได้บรรลุถึงความมุ่งหมายต่าง ๆ ของกลุ่ม โดยปกติผนาในกลุ่มชนิดนี้ จะให้ขอมูล
                                                                  ู้                     ้
เกี่ยวกับการศึกษา อาชีพ หรื อสังคม และส่ งเสริ มให้สมาชิกในกลุ่มนาข้อมูลเหล่านี้มาอภิปราย
เพื่อประโยชน์สาหรับตน เช่น การปฐมนิเทศ การปั จฉิมนิเทศ หรื อกิจกรรมต่าง ๆ ที่จดขึ้นใน ั
ชัวโมง เป็ นต้น ในการทากิจกรรมกลุ่มแบบนี้ ครู จะเป็ นผูดาเนิ นการวางแผนงานกลุ่มให้สมาชิก
   ่                                                       ้
             2. กิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ที่สมาชิกเป็ นผูดาเนินการ คือ นักเรี ยนได้วางแผนร่ วมกันจัด
                                                     ้
ขึ้นเอง เช่น กลุ่มอภิปรายในเรื่ องต่าง ๆ ที่นกเรี ยนสนใจหรื อกิจกรรมเสริ มหลักสู ตร เป็ นต้น
                                              ั
เรแกน และ เซฟเฟิ ร์ด (Ragan & Shepherd, 1971: 197) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่ม
เป็ นการศึกษาถึงธรรมชาติของกลุ่ม เมื่อมนุษย์มารวมตัวกันซึ่ งมีการศึกษาพฤติกรรมของสมาชิก
แต่ละคนในกลุ่ม โดยใช้วธีการอภิปราย และประเมินผลร่ วมกัน
                               ิ
               เคมป์ และ กัลลี่ (Kemp & Gully, n.d. อ้างถึงใน พงษ์พนธ์ พงษ์โสภา, 2542: 3)
                                                                      ั
ได้ให้ความหมายว่า กลุ่มประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปมารวมกัน มีการพึ่งพาอาศัยและ
มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน มีความพึงพอใจมีการยอมรับและเคารพในความ
คิดเห็นซึ่ งกันและกัน มีความรู ้สึกว่าตนเองเป็ นส่ วนหนึ่งของกลุ่ม
               ทิศนา แขมมณี และคณะ (2542: 7) กล่าวว่า ประสบการณ์ได้จากการเข้ากลุ่มจะทาให้
ผูเ้ รี ยนมีโอกาสเรี ยนรู ้จากการมีส่วนร่ วม กระทากิจกรรมที่ส่งเสริ มการวิเคราะห์ความรู ้สึก
ความต้องการ ตลอดจนพฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มซึ่ งช่วยให้ผเู ้ รี ยน
สามารถพัฒนาบุคลิกภาพของตนได้อย่างดี
               คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 6) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่ม หมายถึง การนาเอา
ประสบการณ์มาวางแผนแลกเปลี่ยนซึ่ งกันและกัน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนในสิ่ งที่สมาชิ กต้องการ
และการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มโดยส่ วนรวม ผูนาจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                   ้
ก็ต่อเมื่อเขาได้เรี ยนรู ้วธีการที่จะช่วยอานวยความสะดวกให้เกิดปฏิสมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ระหว่าง
                           ิ                                            ั
สมาชิกแต่ละคน โดยวิธีดงกล่าวนี้ประสบการณ์ดงกล่าวจะทาให้เกิดพัฒนาการในตัวบุคคลทุกคน
                                 ั                      ั
และกลุ่มก็จะดาเนินไปด้วยความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่ต้ งไว้    ั
               กาญจนา ไชยพันธุ์ (2549: 3) กล่าวว่า การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณ์
ของกลุ่มหลาย ๆ ฝ่ ายศึกษาพฤติกรรมความเป็ นผูนา ความคิดฝึ กปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมี
                                                      ้
การศึกษาจากประสบการณ์ โดยผูศึกษาจะต้องเข้าไปมีส่วนร่ วมในประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่จดขึ้น
                                        ้                                                    ั
               จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม หมายถึง การจัด
                                               ่
ประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่ผเู ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในประสบการณ์ ร่ วมคิด
ร่ วมวิเคราะห์และแก้ปัญหาร่ วมกัน ส่ งผลให้กลุ่มเกิดความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมาย

       2. จุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม
           นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
           แทรคเลอร์ และ นอท (Traxler & North, 1966: 320) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของ
กิจกรรมกลุ่มว่า
           1. เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่บุคคลที่ยงไม่คุยเคยกับสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิงใน
                                               ั ้                                     ่
มหาวิทยาลัยหรื อในโรงเรี ยน โดยการจัดโครงการ เช่น ปฐมนิเทศนักเรี ยนใหม่ หรื อนาไปจัดใน
รู ปแบบของการแนะแนวได้ตลอดปี
2. เพื่อเสริ มสร้างประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากประสบการณ์ที่ได้รับจากหลักสู ตร
โดยเฉพาะอย่างยิงการจัดกิจกรรมในโรงเรี ยนเพื่อพัฒนาประสิ ทธิ ภาพในการศึกษาเล่าเรี ยน
                         ่
                3. เพื่อเป็ นรากฐานที่จะนาไปสู่ การให้คาปรึ กษาเป็ นรายบุคคล เพราะทาให้นกเรี ยน
                                                                                            ั
คุนเคยกับครู แนะแนวในขณะที่เข้าร่ วมจัดกิจกรรม
    ้
                4. เพื่อเป็ นการปรับตัว การบาบัดรักษา และความเจริ ญงอกงามของบุคคลในกลุ่ม
นอกจากนี้กิจกรรมกลุ่มยังสามารถนามาเป็ นเครื่ องช่วยแก้ไขในเรื่ องส่ วนตัวได้ เช่น การปรับ
บุคลิกภาพ การพัฒนาทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ เป็ นต้น
                บัททัน (Button, 1971: 1-2) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มว่า เพื่อช่วย
ส่ งเสริ มให้มนุษย์ให้เติบโตและพัฒนาขึ้น โดยเฉพาะทักษะทางสังคม การจัดกิจกรรมกลุ่มจึงเป็ น
การสร้างโอกาสให้มนุษย์ได้เรี ยนรู ้เดี่ยวกับการติดต่อสัมพันธ์กบบุคคลอื่น ในบรรยากาศที่ส่งเสริ ม
                                                                      ั
ซึ่ งกันและกันโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกกลุ่มพยายามช่วยสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เพื่อให้
             ่
บรรลุจุดมุงหมายที่กาหนด
                ประนอม เดชชัย (2531: 100 – 101) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้ดงนี้   ั
                1. เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ คือความเข้าใจของตนเอง และเข้าใจ
บุคคลอื่นภายในกลุ่ม ซึ่ งจะทาให้บุคคลปรับตัวเองเข้ากับบุคคลอื่นในกลุ่มได้ เกิดการเรี ยนรู ้เรื่ อง
                                                             ่
ของตนได้ดีข้ ึน เช่น รู ้ขอบกพร่ องของตนเองหรื อรู ้วาตนเป็ นอย่างไร เมื่อเปรี ยบเทียบกับบุคคลใน
                                 ้
กลุ่มเกิดความเข้าใจบุคคลอื่นในกลุ่ม โดยที่สมาชิกในกลุ่มได้ทากิจกรรมร่ วมกันย่อมทาให้เกิดการ
เรี ยนรู ้และรู ้จกซึ่ งกันและกันได้ดี ทราบข้อดีขอเสี ย ข้อบกพร่ องทั้งของตนเอง และคนอื่นอันจะ
                  ั                                   ้
เป็ นแนวทางให้เกิดความรู ้สึกเห็นใจซึ่ งกันและกัน คิดช่วยเหลือตลอดจนการปรับตัวเข้าหากันด้วย
                2. เพื่อให้ผเู้ รี ยนเข้าใจกระบวนการการทางาน หรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่ วมกัน
ประสบการณ์ท่ีจดในกิจกรรมกลุ่มจะช่วยให้สมาชิกได้เรี ยนรู ้วธีการทางานร่ วมกัน เพราะไม่มี
                       ั                                            ิ
มนุษย์คนใดอยูคนเดียวได้โดยไม่ตองพึ่งพาอาศัยซึ่ งกัน ฉะนั้นการฝึ กกิจกรรมกลุ่มในการเรี ยนการ
                    ่                       ้
สอน จะช่วยฝึ กให้บุคคลเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางานและร่ วมมือกันแก้ปัญหา
                3. เพื่อให้ผเู้ รี ยนฝึ กความรู้สึกทางด้านคุณธรรม และจริ ยธรรมในระหว่างร่ วมกิจกรรม
กลุ่ม เช่น ฝึ กความรู้สึกอดทน ฝึ กการยอมรับความคิดเห็นของส่ วนรวม เป็ นต้น สิ่ งที่ได้มาจาก
กิจกรรมกลุ่มเหล่านี้ จะไปช่วยพัฒนาบุคคลและสังคมต่อไป
                คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 149 – 150) กล่าวถึง ความมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้
ดังนี้
                1. เพื่อสร้างความเข้าใจในตนเองอย่างถูกต้อง โดยปกติทวไปอาจจะคิดว่าตนเองมี
                                                                           ั่
ความเข้าใจในตนเองไม่จาเป็ นต้องให้คนอื่นชี้แจงว่าตนเป็ นคนอย่างไร ในทางจิตวิทยาแล้วมนุษย์
ย่อมเข้าใจตนเอง แต่บางด้านอาจจะไม่เข้าใจตนเอง ทั้งนี้ เพราะว่าแต่ละคนมีการปรับตัวกับ
สิ่ งแวดล้อมโดยใช้กลวิธานแตกต่างกันไป ด้วยเหตุน้ ีกิจกรรมก็อาจช่วยมนุษย์ได้ โดยเป็ นกระจก
เงาสะท้อนให้เห็นภาพของตนเองทุก ๆ ด้าน
            2. เพื่อสร้างความเข้าใจในบุคคลอื่น มนุษย์มีความต้องการที่จะอยูร่วมกันอย่างมี
                                                                            ่
ความสุ ข ปั จจัยที่สาคัญประการหนึ่งก็คือความเข้าใจในสมาชิกของกลุ่ม ความเข้าใจในบุคคลอื่น
จะทาให้เกิดการยอมรับพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมา ดังนั้นในการทากิจกรรมกลุ่มร่ วมกัน ของ
สมาชิกจะเปิ ดโอกาสให้สมาชิกเกิดการเรี ยนรู ้ลกษณะต่างๆ ของแต่ละคนได้เป็ นอย่างดี
                                              ั
            3. เพื่อสร้างความสามารถในการทางานร่ วมกันระหว่างสมาชิก ซึ่งนอกจากจะอาศัย
ความรู้ ความสามารถในการทางานร่ วมกันระหว่างสมาชิ ก สิ่ งที่สาคัญและมีความหมายต่อ
ความสาเร็ จของกลุ่ม คือ ความร่ วมมือ ซึ่ งถ้าขาดความร่ วมมือที่ดีจะทาให้การทางานของกลุ่มไม่
ประสบความสาเร็ จเท่าที่ควรดังนั้นในการทากิจกรรมกลุ่ม จึงมีจุดมุ่งหมายที่จะเสริ มสร้าง
คุณลักษณะที่ดีให้แก่สมาชิกกลุ่มให้มีทกษะที่จาเป็ นต่อการทางานร่ วมกับผูอื่น
                                      ั                                 ้
            จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา จุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม คือการช่วยให้บุคคลมี
                                        ่
โอกาสฝึ กทักษะให้แก่ตนเอง เพื่อให้สามารถแก้ไขปั ญหาส่ วนตัวและคนอื่น และช่วยให้คนพบ   ้
หนทางในการที่จะช่วยให้สมาชิกปรับตัวเพื่อนาไปสู่ ความเจริ ญงอกงาม มีทกษะในการทางานกลุ่ม
                                                                          ั
มีความเข้าใจตนเองและเข้าใจผูอื่น ตลอดจนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
                               ้

           3. ขนาดของกลุ่ม
              ขนาดของกลุ่ม คือ จานวนสมาชิกในกลุ่มซึ่ งมีผลกระทบต่อคุณภาพของการ
ปฏิสัมพันธ์และการสื่ อสารระหว่างสมาชิก ได้มีผให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับจานวนสมาชิกในกลุ่มไว้
                                                 ู้
ดังนี้
              อ๊อตตาเวย์ (Ottaway, 1966: 7) กล่าวว่า กลุ่มควรมีขนาดเล็ก เพราะจะช่วยให้สมาชิก
มีโอกาสแสดงอย่างอิสระได้อย่างทัวถึงกัน โดยสมาชิกไม่ตองใช้เสี ยงดังมากนัก ทุกคนในกลุ่ม
                                    ่                      ้
ก็จะได้ยนอย่างทัวถึงกัน ดังนั้นกลุ่มควรมีขนาดอย่างมากที่สุด 12 คน หรื อถ้ามากกว่านั้น ไม่เกิน
         ิ         ่
15 คน ส่ วนขนาดของกลุ่มที่มีความเหมาะสมที่สุดนั้น ควรมีสมาชิก 9 – 10 คน จึงจะทาให้
การทางานบังเกิดผลที่ดีที่สุด
              ชอว์ (Shaw, 1981: 4) ได้กล่าวถึงขนาดของกลุ่มว่า กลุ่มย่อยควรมีสมาชิก 10 คน
เป็ นอย่างมาก แต่ถามีสมาชิกจานวน 30 คนขึ้นไป จะจัดเป็ นกลุ่มใหญ่และถึงแม้วากลุ่มจะมี
                     ้                                                         ่
สมาชิกจานวน 30 คน ก็อาจเป็ นกลุ่มย่อยได้ จานวนสมาชิกไม่ได้เป็ นปั ญหาสาคัญ แต่
องค์ประกอบอื่น ๆ ซึ่ งได้แก่ ความสาคัญของสมาชิก และความร่ วมมือในการทางานของสมาชิก
จะมีความสาคัญต่อการทางานกลุ่มมากกว่า
ทิศนา แขมมณี (2545: 153) กล่าวว่า ขนาดของกลุ่มจะมีเท่าใดนั้น ขึ้นอยูกบลักษณะ
                                                                                ่ ั
และจุดประสงค์ของกิจกรรม กลุ่มขนาดเล็กมักจะประกอบด้วยสมาชิก 2 – 5 คน ขนาดใหญ่
ประมาณ 10 – 20 คน แต่ขนาดที่นิยมคือ 6 – 8 คน
            คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 110 - 111) กล่าวว่า ขนาดของกลุ่มในการจัดกิจกรรมนั้น
ไม่ควรเกิน 15 คน เพราะในกลุ่มที่มีสมาชิกมากเกินความจาเป็ น สมาชิกจะต้องทางานซ้ าซ้อนกัน
บางคนอาจจะรับผิดชอบทั้งหมดในขณะที่คนอื่น ๆ รู ้สึกคับข้องใจที่มีมีงานทาในกลุ่ม ไม่มีโอกาส
ที่จะใช้ทกษะที่ตนเองมีอยู่ แต่ท้ งนี้ก็ข้ ึนอยูกบสถานการณ์
         ั                       ั             ่ ั
            กาญจนา ไชยพันธ์ (2549: 18) กล่าวว่า จานวนสมาชิกของกลุ่มที่จะจัดเกี่ยวกับการ
ช่วยในการทางานหรื อการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมคือ 5 – 10 คน โดยครู ควรเลือกให้เหมาะสม
กับเนื้อหาวิชาและกิจกรรม โดยเฉพาะกลุ่มเล็กที่สมาชิกไม่เกิน 15 คน จะช่วยให้เกิดการ
เคลื่อนไหวได้ง่าย ถ้าสมาชิกมากเกินไปอาจมีผลต่อการแสดงความคิดเห็นและความต้องการได้
ไม่ทวถึง รวมถึงสมาชิกไม่เกิดความสนใจและอาจออกไปจากกลุ่ม
      ั่
            จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ขนาดของกลุ่มนั้น ไม่มีการกาหนดสมาชิกที่ตายตัว แต่
                                             ่
ควรมีจานวนไม่ควรเกิน 15 คนต่อหนึ่งกลุ่ม กลุ่มที่จาทากิจกรรมนั้นควรมีขนาดไม่ใหญ่หรื อเล็ก
จนเกินไป และขนาดของกลุ่มที่นิยม คือ 6 – 8 คน

          4. เวลาในการใช้ กจกรรมกลุ่ม
                            ิ
             นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงเวลาในการใช้กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
             แพธเธอร์สัน (Patterson, 2000: 105) กล่าวว่า การทากิจกรรมเป็ นกลุ่มควรจัดสัปดาห์
ละ 2 ครั้ง แต่ถาเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มมีนอยอาจจัดสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ช่วงเวลาในการ
                  ้                                  ้
เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มควรใช้เวลาไม่เกิน 1 ชัวโมง ในระดับเด็กประถมศึกษา เพราะเด็กอาจเกิด
                                              ่
ความเบื่อหน่าย
             บุหงา วชิระศักดิ์มงคล (2535: 66) กล่าวว่า ในการกาหนดความถี่ และระยะเวลาเข้า
ร่ วมกิจกรรมกลุ่มนั้น ควรเป็ นหน้าที่ของผูนากลุ่มที่จะต้องพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น
                                          ้
ชนิดของกลุ่ม อายุ สมาชิก ประสบการณ์ของผูนากลุ่ม ้
             ทิพยวรรณ กิตติพร (2535: 197) กล่าวว่า ระยะเวลาในการเข้ากลุ่มต้องคานึงถึงความ
เหมาะสม โดยพิจารณาจากชนิดของกลุ่ม อายุสมาชิก จุดมุ่งหมายของกลุ่ม ลักษณะของสมาชิก
                                                                                  ่ ั ้
ซึ่ งสอดคล้องโดยตรงกับความถี่ระยะเวลาเพียงพอของการพบปะสมาชิก ซึ่ งขึ้นอยูกบผูนาต้อง
                                            ั
กาหนดเวลาให้เพียงพอกับการปฏิสัมพันธ์กนขณะเดียวกันก็พยายามไม่ให้มีเวลามากเกินไป
             นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2542: 120) กล่าวว่า เวลามากหรื อน้อยเป็ นปั จจัยสาคัญที่วทยากร
                                                                                          ิ
ควรให้ความสาคัญ ถ้าเวลาไม่เกิน 30 นาที กิจกรรมอาจประกอบไปด้วย 1 หรื อ 2 กิจกรรม แต่ถา           ้
มีเวลาเกิน 30 นาทีแล้ว ควรมีรูปแบบของกิจกรรมที่เปลี่ยนไปทุก 30 นาที เพื่อหลีกเลี่ยงความ
ซ้ าซากและเบื่อหน่าย และวิทยากรควรพิจารณาด้วยว่ากิจกรรมลักษณะใดที่จะใช้กิจกรรมใด
           จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา เวลาในการใช้กิจกรรมกลุ่มนั้น ควรจัดโดยคานึงถึง
                                     ่
ความเหมาะสมของอายุสมาชิก และจุดมุ่งหมายของกลุ่ม การจัดกิจกรรมไม่ควรเกิน 30 นาที

           5. ประโยชน์ ของการใช้ กจกรรมกลุ่ม
                                   ิ
              ในการศึกษาประโยชน์ของการใช้กิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงประโยชน์ของการใช้
                                                                 ู้
กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
              โรเจอร์ส (Rogers, 1970: 121-122) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของกิจกรรมกลุ่มดังนี้
              1. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านการรับรู้ทางความรู้สึก
              2. มีการตระหนักถึงความรู ้สึกของตนเองและผูอื่นมากขึ้น ตลอดจนเปิ ดเผยความรู้สึก
                                                             ้
มีความจริ งใจและเป็ นไปอย่างธรรมชาติ มีการเปลี่ยนแปลงทางความสามารถในการควบคุม
ความรู ้สึกต่าง ๆ ของตนเองมีการแสดงที่ตรงกับความรู ้สึกของตน
              3. เกิดแนวทางในการสร้างแรงจูงใจ หมายถึง การเข้าใจตนเอง (Self - Actualization)
การรู้จกตัดสิ นใจด้วยตนเอง
         ั
              4. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านทัศนคติท้ งต่อตนเองและผูอื่น หมายความว่า บุคคล
                                                       ั               ้
ยอมรับตนเอง พัฒนาในเรื่ องคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเองและมีความมันคงยิงขึ้น ลดการ
                                                                         ่ ่
สั่งสอนและควบคุมผูอื่น มีส่วนร่ วมในกิจกรรมมากขึ้น และมีความรู ้สึกพึ่งพากันและกัน เชื่อใน
                        ้
ความสามารถของบุคคล มีการแก้ปัญหาโดยการทางานเป็ นกลุ่มและเป็ นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
              บุหงา วชิระศักดิ์มงคล (2535: 30) กล่าวว่า หลังการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มประเภท
ต่าง ๆ แล้ว นอกจากจะทาให้ได้ผลงานตามจุดมุ่งหมายของกลุ่มชนิดนั้น ๆ แล้วยังมีผลทาให้
บุคคลที่เป็ นสมาชิกของกลุ่มมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน และมีประโยชน์ต่อผูให้บริ การแนะแนว
                                                                           ้
ในโรงเรี ยนและชุมชนอีกด้วย ได้แก่
              1. ประโยชน์ต่อสมาชิกกลุ่ม การเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มจะมีผลให้นกเรี ยนได้รับการ
                                                                               ั
ตอบสนองความต้องการทางสังคม ทั้งยังเป็ นการก่อให้เกิดพัฒนาการในด้านต่าง ๆ อีกด้วย
เช่น การพัฒนาการทางด้านสติปัญญา พัฒนาการทางด้านเจตคติ คือ มีการเปลี่ยนแปลงต่อตนเอง
และผูอื่นเป็ นไปในทางที่สร้างสรรค์ข้ ึน และพัฒนาการทางด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะทางสังคม
       ้
ทักษะในการศึกษาค้นคว้า ทักษะทางปั ญญา และทักษะในการทางานเป็ นกลุ่ม
              2. ประโยชน์ต่อผูแนะแนวหรื อผูนากลุ่ม ในฐานะผูให้บริ การแนะแนวซึ่ งต้องจัดบริ การ
                               ้              ้                ้
     ั                                                                       ั
ให้กบนักเรี ยนเพื่อส่ งเสริ มและพัฒนา เพื่อป้ องกันปั ญหาเพื่อแก้ไขปั ญหาให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อจะ
ให้บริ การนักเรี ยนเป็ นกลุ่มได้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย
จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ประโยชน์ของการใช้กิจกรรมกลุ่มนั้น จะช่วยให้
                                     ่
สมาชิกกลุ่มมีการพัฒนาตนเองทั้งทางด้านการอยูร่วมกันในสังคม และตัวของสมาชิกเอง ทาให้
                                           ่
สมาชิกมีความรับผิดชอบ มีเหตุผล รวมไปถึงการพัฒนาทางด้านความคิด เจตคติ ค่านิยม และ
พฤติกรรม สามารถที่จะเผชิ ญกับสถานการณต่าง ๆ และเรี ยนรู ้ท่ีจะแก้ไขหรื อสู ้ได้อย่างถูกต้อง
ทาให้มีประสบการณ์ในการดารงชีพอย่างอิสระและถูกต้อง

         6. การเรี ยนรู้ ตามกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม
                     ในการศึกษาการเรี ยนรู ้ตามกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงกระบวนการกิจกรรม
                                                                           ู้
กลุ่ม ดังนี้
                     กรมวิชาการ (2542: 187) ได้เขียนตาราการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยมีข้ นตอนที่ใช้
                                                                                         ั
ในกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
                     1. ขั้นนา เป็ นการเริ่ มบทเรี ยนให้น่าสนใจ มีสาระแทรกความสนุกสนานและตื่นเต้น
ในบางครั้งเพื่อช่วยให้นกเรี ยนตื่นตัว มีสมาธิ เกิดความต้องการในสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ กิจกรมในขั้นนา
                                 ั
จะเป็ นกิจกรรมสั้น ๆ อาจใช้สื่อการสอนบางอย่างประกอบด้วย เช่น การเสนอข่าว การเชิดหุ่น
การแสดง การเล่านิทาน ฯลฯ อาจเพิ่มเติมคาแนะนา กติกา คาสั่งต่าง ๆ การแบ่งกลุ่มการรับ
มอบหมายที่กาหนดให้ เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมในขั้นต่อไปเกิดความเข้าใจตรงกัน ทั้งนี้ควรเปิ ด
โอกาสให้นกเรี ยนไดศึกษา ทบทวน และซักถามความเข้าใจด้วย
                   ั
                     2. ขั้นกิจกรรม นักเรี ยนทุกคนจะได้รับบทบาทและหน้าที่ในการดาเนินกิจกรรมตามที่
ได้รับมอบหมาย การแยกย้ายตามกลุ่ม การกาหนดและเลือกประธาน เลขานุการ สมาชิกกลุ่มเพื่อ
ประชุมปรึ กษาหารื อ การวางแผน การเสนอความคิดเห็นของสมาชิกแต่ละคน การหาข้อสรุ ป
คาตอบที่ตองการ การกาหนดการเสนอผลงาน การแสดงออก การดาเนิ นกิจกรรมที่กาหนดไว้
             ้
ครู ตองคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนา และดูแลนักเรี ยนทุกคนที่เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรมทุก
     ้
ระยะ การจัดเตรี ยมอุปกรณ์บางอย่างให้พอเพียง พร้อมทั้งอานวยความสะดวกในการดาเนิน
กิจกรรมแต่ละกลุ่ม คอยช่วยเหลือกลุ่มที่ออกมาเสนอที่เกิดปั ญหาและข้ออุปสรรคในบางครั้ง
                     3. ขั้นอภิปราย ขั้นตอนนี้จะต้องจัดโอกาสให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
                                                                    ั
การซักถาม การอภิปรายในแง่คิดประเด็นต่าง ๆ การวิพากษ์วจารณ์ การให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม
                                                                      ิ
การตอบปั ญหา การเสนอแนะวิธีการต่าง ๆ ได้พดคุยสนทนาแกเปลี่ยนความคิดประสบการณ์ของ
                                                           ู
ตนเองกับผูอื่น รู้จกยอมรับฟัง และให้เกียรติความคิดเห็นของผูอื่นที่แตกต่างจากตนเอง เกิดการ
               ้            ั                                           ้
เปลี่ยนแปลงแนวความคิดของตนเอง ขั้นการอภิปรายจะบรรลุผลสาเร็ จครู ควรจะต้องตั้งประเด็น
ท้าทายให้นกเรี ยนคิดวิเคราะห์และให้เหตุผลวิพากษ์วจารณ์ การตั้งคาถามที่ฝึกฝนให้ผเู้ รี ยนรู้จก
                 ั                                              ิ                              ั
การหาคาตอบที่ใช้ความคิดในระดับสู ง มีความเชื่อมันในการพูด และการแสดงออกในสิ่ งที่คิดขึ้น
                                                              ่
ได้ ครู ตองเตรี ยมตัวอย่างเหตุการณ์ เรื่ องราวที่เกี่ยวข้อง น่าสนใจประกอบเสมอ เพื่อทาให้ขอคิด
          ้                                                                                         ้
                                          ่
ประเด็นต่าง ๆ ที่นกเรี ยนได้รับตั้งอยูบนพื้นฐานของความเป็ นจริ งที่เกิดขึ้นในสังคมสิ่ งแวดล้อม
                       ั
และการดาเนินชี วตของบุคคลต่าง ๆ
                     ิ
              4. ขั้นสรุ ปและประยุกต์ใช้ในขั้นนี้นกเรี ยนจะประมวลเนื้ อหากิจกรรมและ
                                                      ั
ประสบการณ์ดวยความคิดเห็นต่าง ๆ ใน 2 ลักษณะ คือ การสรุ ปสิ่ งที่เรี ยนมาทั้งหมดได้อย่าง
                  ้
ถูกต้อง ได้รับหลักการแนวคิดที่ชดเจน มีแนวทางข้อเสนอหลาย ๆ ด้านที่เป็ นประโยชน์ และ
                                      ั
สามารถปฏิบติได้ รวมทั้งคุณลักษณะด้านจริ ยธรรมของนักเรี ยนจะพัฒนาได้สูงและมีประสิ ทธิภาพ
                ั
ยิงขึ้น ครู จะต้องพยายามสนับสนุนติดตามให้นกเรี ยนนาความรู้ ความคิด ทักษะต่าง ๆ ที่ได้รับไป
  ่                                                ั
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตของนักเรี ยนแต่ละคนทั้งในห้องเรี ยน ครอบครัวและ
ชุมชนของเขา
              ทิศนา แขมมณี (2545: 146-147) กล่าวว่า การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มมี
ลักษณะเฉพาะบางประการ การเตรี ยมการจึงต้องคานึงถึงลักษณะ ดังนี้
              1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย เพื่อให้การจัดกิจกรรมไม่ออกนอกลู่นอกทางโดยกาหนด
เป็ น 2 ลักษณะ คือ จุดมุ่งหมายทัวไป และจุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่ งลักษณะเฉพาะนี้นิยมเขียนใน
                                        ่
เชิงพฤติกรรม (Behavior or Performance Objective) และยังแบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านความรู้
(Cognitive Domain) ด้านทักษะ (Psychomotor) และด้านเจตคติ (Affective Domain) ขึ้นอยูกบ           ่ ั
ความเหมาะสมและจุดมุ่งหมาย การกาหนดเช่นนี้จะทาให้เกิดความสะดวกและชัดเจนในการจัด
กิจกรรมและการประเมิน
              2. การกาหนดเนื้อหาหรื อความคิดรวบยอด เพื่อให้เข้าใจชัดเจนเป็ นหลักในการ
ออกแบบกิจกรรมสาหรับผูเ้ รี ยน
              3. การกาหนดกิจกรรมหรื อประสบการณ์เรี ยนรู ้สาหรับผูเ้ รี ยน การจัดกิจกรรมให้
สอดคล้องดังกล่าว สามารถใช้กระบวนการเป็ นขั้นตอนดังนี้
                  3.1 ขั้นนา คือ การเตรี ยมความพร้อมให้แก่ผเู ้ รี ยน เช่น การเตรี ยมความรู้และจัด
บรรยากาศที่เหมาะสม เป็ นต้น
                  3.2 ขั้นกิจกรรม คือ การให้ผเู ้ รี ยนลงมือทากิจกรรมที่เตรี ยมไว้ ให้มีส่วนร่ วมและ
รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ที่จะนามาวิเคราะห์อภิปรายให้เกิดการเรี ยนรู ้
                  3.3 ขั้นอภิปราย คือ การให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิด
ความรู้สึก และการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้น
3.4 ขั้นสรุ ปและนาไปใช้ คือ เป็ นการรวบรวมความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ จาก
ขั้นกิจกรรมและอภิปรายมาประสานกัน จนได้ขอสรุ ปที่ชดเจน รวมทั้งกระตุนให้ผเู ้ รี ยนนาไปใช้
                                                 ้         ั                  ้
ในชีวตประจาวัน
       ิ
                                                                                         ่
            4. การประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ้ นกิจกรรมแล้ว จาเป็ นต้องประเมินผลเพื่อดูวาได้
          ่
บรรลุจุดมุงหมายที่ต้ งไว้หรื อไม่
                      ั
            คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 27 - 28) ยังได้กล่าวถึง ระยะพัฒนาของกลุ่มว่า
พฤติกรรมที่สมาชิกแสดงออกตอนเริ่ มเข้ากลุ่มอาจแตกต่างจากภายหลังที่ได้รับเข้ากลุ่มเป็ น
เวลานานแล้ว ทั้งนี้เพราะว่าการที่จะทาให้กลุ่มเป็ นกลุ่มที่สมบูรณ์ข้ ึน จะต้องอาศัยเวลาในการ
พัฒนากลุ่ม ดังนั้น มักจะพบว่า กลุ่มจะต้องผ่านระยะต่าง ๆ 4 ระยะ คือ
                                                                       ่
            1. ระยะที่บุคคลแต่ละคนมีการแข่งขัน และมีศูนย์กลางอยูที่ตนเอง (Individually
centered, Competitive phase)
            2. ระยะของความขัดแย้ง และความคับข้องใจ (Frustration and Conflict phase)
            3. ระยะกลุ่มมีความสามัคคี (Group harmony phase)
            4. ระยะที่มีผลงาน และยึดกลุ่มเป็ นศูนย์กลาง (Group centered productive phase)

         7. ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้ องกับกิจกรรมกลุ่ม
             ในการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมกลุ่ม มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
             ทฤษฏีสนาม (Field Theory) ของ Kurt Lewin ลักษณะของกลุ่มเป็ น 2 แบบ (กาญจนา
ไชยพันธุ์, 2549: 24-32 อ้างจาก วินิจ เกตุขา และคมเพชร ฉัตรศุภกุล, 2522)
             1. ลักษณะตามสภาพของกลุ่ม (Topological Construction) หมายถึง กลุ่มพิจารณา
สภาพภายในของกลุ่มเป็ นสาคัญ ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ
                1.1 พื้นที่ (Region) ส่ วนของขนาดและรู ปร่ างของกลุ่ม (Social Space) มีความ
แตกต่างกันออกไป ทาให้กลุ่มเกิดความตึงเครี ยดหรื อสมดุลได้
                1.2 ขอบเขต (Barrier) เป็ นส่ วนของขอบเขตที่ติดต่อระหว่างบุคคล ถ้าบุคคลหรื อ
ระหว่างกลุ่มต่อกลุ่ม มีขอบเขตมากก็จะเป็ นอุปสรรคในการติดต่อสื่ อสารหรื อการสร้างสัมพันธ์กน  ั
             2. ลักษณะตามการเคลื่อนที่ของกลุ่ม (Dynamics Construction) กลุ่มที่พิจารณาตาม
พลังกลุ่มเป็ นสาคัญ
                2.1 ลดความตึงเครี ยด (Tension) เป็ นภาวะที่เกิดความไม่สมดุลในกลุ่มสมาชิกของ
กลุ่มต้องช่วยกันลดความตึงเครี ยดลง
2.2 ทิศทาง (Vector) เป็ นการเคลื่อนที่ไปสู่ จุดหมาย จะช่วยให้กลุ่มเกิดการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ถือว่าเป็ นพลวัตรของกลุ่ม ดังนั้นในกระบวนการกลุ่มสมาชิกต้องช่วยกัน
ในการดาเนินกิจกรรมทาให้ทิศทางไปสู่ จุดหมายเร็ วขึ้น
                2.3 แรงดึงดูด (Valance) เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มและแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างกลุ่ม ทาให้กลุ่มบรรลุเป้ าหมาย ถ้าสมาชิกในกลุ่มมีแรงยึดเหนี่ยวสู ง กลุ่มก็จะรวม
ตัวกันสู ง ก่อให้เกิดความสาเร็ จในการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม
             3. พฤติกรรมของบุคคลในกลุ่ม
                3.1 พฤติกรรมเป็ นผลมาจากพลังความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มไม่ได้เกิด
จากการรวมตัวของสมาชิกเพียงอย่างเดียว แต่เป็ นผลจากการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนและกันในกลุ่ม
                                                                              ั
                3.2 โครงสร้างของกลุ่มเกิดจากการรวมตัวของบุคคลที่มีลกษณะแตกต่างกัน
                                                                         ั
                3.3 การรวมกลุ่มแต่ละครั้ง จะต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยเป็ น
ปฏิสัมพันธ์ในรู ปของ การกระทา ความรู้สึก และความคิด
                3.4 องค์ประกอบด้านปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การกระทา ความรู้สึกและความคิด
จะก่อให้เกิดโครงสร้างของกลุ่ม ซึ่ งมีลกษณะแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของสมาชิกในกลุ่ม
                                       ั
                3.5 สมาชิกในกลุ่มจะมีการปรับตัวเข้าหากันและพยายามช่วยกันทางาน ซึ่งการที่
บุคคลพยายามปรับบุคลิกภาพของตนที่มีความแตกต่างกันนี้ จะก่อให้เกิดความเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกันและทาให้เกิดแรงผลักดันของกลุ่มในการทางานเป็ นไปด้วยดี
             ทฤษฏีปฏิสัมพันธ์ (Interaction Theory) ของ Bales (ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2522
อ้างจาก Bales, n.d.) ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของทฤษฏีน้ ี คือ
             1. กลุ่มจะมีปฏิสัมพันธ์โดยการกระทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
             2. ปฏิสัมพันธ์จะเป็ นปฏิสัมพันธ์ทุกๆ ด้าน คือ
                2.1 ปฏิสัมพันธ์ทางร่ างกาย
                2.2 ปฏิสัมพันธ์ทางวาจา
                2.3 ปฏิสัมพันธ์ทางจิตใจ
             3. กิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทาผ่านการมีปฏิสัมพันธ์น้ ี จะก่อให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึก
             ทฤษฏีบุคลิกภาพของกลุ่ม (Group Syntality Theory) ของ Cattell ทฤษฏีน้ ีอาศัย
หลักการจากทฤษฏีการเสริ มแรง (Reinforcement Teory) (โยธิน คันสนยุทธ, 2528) คือ กฎแห่งผล
(Low of Effect) เพื่ออธิ บายพฤติกรรมของกลุ่ม แนวคิดในทฤษฏีน้ ีประกอบด้วย
             1. ลักษณะของกลุ่มประกอบด้วย
1.1 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิกซึ่ งมีบุคลิกภาพเฉพาะตัว (Population
Traits) ได้แก่ สติปัญญา ทัศนคติ บุคลิกภาพ เป็ นต้น
                1.2 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีบุคลิกภาพเฉพาะกลุ่ม (Syntality Traits หรื อ Personality
Traits) ซึ่งจะทาให้แต่ละกลุ่มมีลกษณะที่แตกต่างกันออกไป บุคลิกภาพของกลุ่มได้จาก
                                 ั
ความสามารถของกลุ่มที่มีอยูในการกระทาของสมาชิกร่ วมกัน เช่น การตัดสิ นใจ พฤติกรรม หรื อ
                             ่
การแสดงออกของสมาชิก เป็ นต้น
                1.3 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีลกษณะโครงสร้างภายในโดยเฉพาะ (Characteristic of
                                        ั
Internal Structure) ซึ่งหมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและแบบแผนหรื อลักษณะในการ
รวมกลุ่ม เช่น มีการแสดงบทบาทตาแหน่งหน้าที่ มีการสื่ อสารระหว่างสมาชิก เป็ นต้น
             2. พลังหรื อการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของกลุ่ม (Dynamics of Syntality) หมายถึง
การแสดงกิจกรรมหรื อความร่ วมมือของสมาชิกในกลุ่มเพื่อจุดมุ่งหมาย อย่างใดอย่างหนึ่ง
มีลกษณะ 2 ประการ คือ
    ั
                2.1 ลักษณะที่ทาให้กลุ่มรวมกันได้ (Maintenance Synergy) หมายถึง ลักษณะของ
ความร่ วมมือในการทากิจกรรมของสมาชิกแต่ละกลุ่มเพื่อให้ความสัมพันธ์ เป็ นไปได้อย่างราบรื่ น
และก่อให้เกิดความสามัคคี ความร่ วมแรงร่ วมใจกัน (Cohesion) ซึ่ งจะทาให้การรวมกลุ่มไม่มีการ
แตกแยกหรื อการถอนตัวออกจากกลุ่ม
                2.2 ลักษณะที่ทาให้กลุ่มประสบความสาเร็ จ (Effective Synergy) หมายถึง กิจกรรม
ที่สมาชิกกระทาเพื่อให้กลุ่มบรรลุจุดมุ่งหมายที่ต้ งไว้
                                                 ั

         8. กิจกรรมทีใช้ ในกิจกรรมกลุ่ม
                     ่
            ในการศึกษากิจกรรมที่ใช้ในกิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการจัด
                                                      ู้
กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้
            ทิศนา แขมมณี (2545 : 152 ) ได้กล่าวถึง เทคนิคและวิธีการการจัดกิจกรรมกลุ่มให้
                              ่
สอดคล้องกับหลักทฤษฏี มีอยูหลายวิธี ดังนี้
            1. เกม (Game) การใช้กิจกรรมเกมเป็ นการให้สมาชิกเข้าไปร่ วมในสถานการณ์ที่ผเู ้ ล่น
ยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบติตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง เพื่อให้ได้ตามเป้ าหมายตามที่ตองการ ซึ่ง
                          ั                                                      ้
มักจะมีผลในรู ปแบบของการแพ้ชนะ การเล่นเกมจะช่วยให้สมาชิกได้เรี ยนรู ้ยทธวิธีต่าง ๆ ที่จะ
                                                                         ุ
เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ และได้ฝึกฝนเทคนิคและทักษะที่ตองการ รวมทั้งช่วยให้เกิดความ
                                                         ้
สนุกสนาน
            2. บทบาทสมมติ (Role - Play) การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ ม
ให้นกเรี ยนได้มีโอกาสแดสงออก เกิดความรู ้สึก ความนึกคิดในการแสดงบทบาทของคนอื่นที่
    ั
ไม่ใช่ตนเอง โดยใช้ตวละครที่สมมติข้ ึนจากสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่ใกล้เคียงความเป็ น
                            ั
จริ งมาเป็ นเครื่ องมือในการจัดกิจกรรม โดยให้นกเรี ยนแสดงบทบาทสมมติน้ น ๆ และการแสดง
                                                        ั                       ั
บทบาทสมมติจะให้ความรู้ ความเข้าใจ สามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดออกมา วิธีการนี้ ช่วยให้มี
โอกาสศึกษาวิเคราะห์ถึงความรู ้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผูอื่นได้อย่างลึกซึ้ ง และช่วยให้
                                                                        ้
เข้าใจบทบาทที่ต่างไปจากตน โดยไม่ตองเผชิ ญหน้ากับสิ่ งเหล่านั้นในเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นใน
                                                 ้
ชีวตประจาวันของนักเรี ยนแต่ละคน
    ิ
                   วัตถุประสงค์ของการใช้บทบาทสมมติ
                   2.1 เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความเข้าใจในความรู้สึก พฤติกรรม กรแสดงออกของผูอื่น
                                    ั                                                             ้
                   2.2 เพื่อให้นกเรี ยนมีการปรับหรื อเปลี่ยนเจตคติ พฤติกรรมและการปฏิบติตนใน
                                  ั                                                         ั
สังคมอย่างเหมาะสม
                   2.3 เพื่อให้นกเรี ยนได้ฝึกการใช้ความรู ้ในการเผชิ ญสถานการณ์ต่าง ๆ ฝึ กการแก้ไข
                                      ั
ปั ญหาและการตัดสิ นใจ
                   2.4 เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนได้มีโอกาสแสดงออกได้เรี ยนอย่าง
สนุกสนาน
                   2.5 เพื่อช่วยให้การเรี ยนการสอนมีความใกล้เคียงกับสภาพความเป็ นจริ งมากขึ้น
               3. กรณี ตวอย่าง (Case) เป็ นการสอนทีสร้างขึ้นง่าย ๆ มีสาระน่าสนใจ ให้ขอคิดเห็น
                          ั                                                                   ้
ที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในการพัฒนาคุณลักษณะทางจริ ยธรรม
เป็ นอย่างมาก โดยครู สามารถใช้กรณี ตวอย่างหรื อเรื่ องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริ งมาดัดแปลงและใช้
                                               ั
เป็ นสื่ อ ตัวอย่าง หรื อเครื่ องมือในการศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายกันเป็ นการช่วยฝึ กฝน การใช้
ความคิดในการแก้ปัญหาหลายๆ แบบ วิธีน้ ีช่วยให้คิดพิจารณาข้อมูลที่ตนได้รับอย่างถี่ถวน       ้
นอกจากนั้นยังช่วยให้การเรี ยนรู ้มีลกษณะใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง โดยการเชื่ อมโยงเอาสิ่ งต่าง ๆ
                                             ั
ที่เกิดขึ้นในสังคมสิ่ งแวดล้อม ชีวตประจาวันที่น่าสนใจ ชวนติดตาม และยังหาข้อสรุ ปเด่นชัดไม่
                                         ิ
ได้มาปรับปรุ งให้เป็ นตัวอย่างแก่นกเรี ยนอย่างมีกระบวนการและขั้นตอนที่เหมาะสม นักเรี ยนจะ
                                           ั
ได้ฝึกฝนกับการเผชิ ญเรื่ องราวต่าง ๆ นักเรี ยนจะได้ฝึกฝนการวิเคราะห์แยกแยะประเด็นปั ญหาและ
ตัดสิ นใจได้อย่างมีหลักเกณฑ์อย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ นกเรี ยนยังได้แลกเปลี่ยนความคิด
                                                                ั
ประสบการณ์ ความรู้สึก เจตคติของตนเองต่อผูอื่นด้วย พร้อมทั้งได้พฒนาทักษะความเป็ นผูนา
                                                      ้                    ั                    ้
การทางานเป็ นกลุ่ม การอภิปรายกลุ่มย่อย และมติของกลุ่ม
               4. สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็ นการใช้สถานการณ์ที่จาลองขึ้นให้เหมือนจริ ง
                                                                      ่
หรื อใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมาเป็ นเครื่ องมือ โดยให้เข้าไปอยูในสถานการณ์และมีปฏิสัมพันธ์
กับสิ่ งต่าง ๆ ในสถานการณ์จาลอง ทาให้ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ในชีวตจริ งอาจไม่กล้า
                                                                                    ิ
แสดง การใช้สถานการณ์จาลองจะช่วยให้เกิดความเข้าใจลึกซึ้ งในองค์ประกอบที่ซบซ้อนของ      ั
ความเป็ นจริ ง
              5. ละคร (Acting or Dramatization) คือ วิธีการที่ให้ผเู้ รี ยนได้ทดลองแสดงบทบาท
ตามที่เรี ยนหรื อกาหนดไว้ โดยผูเ้ รี ยนจะต้องพยายามแสดงให้สมบทบาทตามที่กาหนดไว้ โดยไม่
นาเอาบุคลิกภาพและความรู ้สึกนึกคิดของตนเข้าไปเกี่ยวข้อง วิธีการนี้จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้มี
ประสบการณ์ในการที่จะเข้าใจความรู้สึก เหตุผลและพฤติกรรมของผูอื่น ทาให้เกิดความเห็นอก
                                                                           ้
เห็นใจกัน นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสแสดงละครร่ วมกันจะช่วยฝึ กให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรับผิดชอบ
ในการเรี ยนรู ้ร่วมกันและได้ฝึกการทางานร่ วมกัน
              6. อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group) การใช้กลุ่มย่อยช่วยเปิ ดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วน
ร่ วมในกิจกรรมอย่างทัวถึง รวมทั้งให้สมาชิกเรี ยนรู ้จากกันและกัน คือ ได้เรี ยนรู้จากความรู้สึก
                        ่
พฤติกรรมการปรับตัว การมีปฏิสัมพันธ์ การเรี ยนรู้บทบาทหน้าที่ การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ
ร่ วมกัน การใช้เทคนิคกลุ่มย่อยมีหลายวิธีดวยกันแล้วแต่ผจดจะคิดค้นขึ้น แต่ที่นิยมใช้จะเป็ นกลุ่ม
                                            ้              ู้ ั
ระดมสมอง
              จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มมี
                                          ่
หลากหลายวิธีดวยกัน ได้แก่ เกม บทบาทสมมติ กรณี ตวอย่าง สถานการณ์จาลอง และกลุ่มย่อย
                  ้                                      ั
ซึ่ งแต่ละวิธีจะมีการดาเนินการเฉพาะของแต่ละวิธี ฉะนั้นในการที่จะเลือกให้เทคนิคหรื อวิธีการใด
นั้นจึงต้องคานึงถึงหลักการของแต่ละแบบตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ความเหมาะสมในทุกด้าน
รวมทั้งคานึงถึงวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของกิจกรรมกลุ่มในแต่ละครั้งด้วย

งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
               ่
        งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับกิจกรรมกลุ่ม
        1. งานวิจัยในประเทศ

               นรารัตน์ กิจเจริ ญ ( 2547) ได้ศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการรับรู ้ความสามารถใน
การแก้ปัญหาด้านการเรี ยนของนักศึกษาชั้นปี ที่ 3 วิทยาลัยมิชชัน มวกเหล็ก พบว่า หลังใช้
                                                                  ่
โปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม ทาให้นกศึกษาแก้ปัญหาด้านการเรี ยนได้ดีข้ ึน เพราะกิจกรรมกลุ่มเป็ น
                                     ั
วิธีการที่ดีในการนาไปพัฒนาบุคคลและกลุ่ม เพราะเป็ นการให้ประสบการณ์ตรง เรี ยนรู้โดยการ
ปฏิบติปฏิบติ ช่วยให้ผเู ้ ข้าร่ วมกลุ่มมีความซาบซึ้ งใจ และพอใจที่จะเปลี่ยนแปลงและปรับปรุ งตน
       ั     ั
               ภณิ ตา เจริ ญสุ ข (2549) ได้ศึกษาเรื่ องการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนามนุษยสัมพันธ์ของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาเผ่าม้ง พบว่า หลังเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม นักเรี ยนมีคะแนนมนุษยสัมพันธ์
ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านเข้าใจและยอมรับตนเอง ด้านเข้าใจและยอมรับผูอื่น ด้านการติดต่อสื่ อสาร
                                                                         ้
ระหว่างบุคคล ด้านการแสดงความซาบซึ้ งและขอบคุณ และด้านการเคารพในสิ ทธิและความเป็ น
ตัวของตัวเองของบุคคล สู งกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                                                                     ั
                   แคทลียา แสนนางชน (2549) ได้ศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อความรับผิดชอบด้าน
การทางานที่เกี่ยวข้อง กับการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนนาหลวง เขตทุ่งครุ
กรุ งเทพมหานคร ผลการวิจยพบว่า นักเรี ยนมีความรับผิดชอบด้านการทางานที่เกี่ยวข้องกับการ
                                      ั
เรี ยนมากขึ้นหลังจากเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรี ยนมีความ
                                                          ั
รับผิดชอบด้านการทางานที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนมากขึ้นหลังจากไม่ได้เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มมีความรับผิดชอบด้านการทางาน
ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนมากกว่านักเรี ยนที่ไม่ได้เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่
                                                                                    ั
ระดับ .01
                   ศุภร บุตรสุ วรรณ (2550) ได้ศึกษาเรื่ องผลการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 พบว่า นักเรี ยนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกัน โดยนักเรี ยนกลุ่มทดลองมีคะแนนสู งกว่ากลุ่มควบคุม
อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรี ยนที่เข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม แบบกลุ่มเปิ ด
             ั
และกลุ่มปิ ด มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกัน โดยนักเรี ยนกลุ่มปิ ดมีคะแนนสู งกว่า
นักเรี ยนกลุ่มเปิ ด อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
                                    ั
                   จิรุตถ์ ภู่เจริ ญ (2551) ได้ศึกษาผลการใช้กิจกรรมกลุ่มที่ส่งผลต่ออัตมโนทัศน์ของ
นักศึกษาที่มีความบกพร่ องทางการได้ยนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่า นักศึกษาที่มีความบกพร่ อง
                                                 ิ
ทาการได้ยนเมื่อทดลองใช้กิจกรรมกลุ่มแล้วส่ งผลอัตมโนทัศน์ส่วนใหญ่อยูในระดับมาก ได้แก่
                 ิ                                                                ่
ด้านลักษณะพฤติกรรม ด้านสติปัญญาของนักศึกษา ด้านรู ปร่ างและคุณลักษณะ ด้านความสุ ขและ
ความพึงพอใจ สาหรับด้านอัตมโนทัศน์ดานความวิตกกังวล และลักษะความเป็ นคนน่านิยม
                                                   ้
มีระดับอยูในระดับปานกลาง และนักศึกษาที่มีความบกพร่ องทาการได้ยน หลังจากทากิจกรรมกลุ่ม
               ่                                                               ิ
แล้ว มีอตมโนทัศน์มากกว่าก่อนการทากิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
           ั                                                       ั
                   พระจีรศักดิ์ บุญฤทธ์ (2554) ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 ที่มีต่อ
พฤติกรรมความรับผิดชอบในการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิจยพบว่า ได้    ั
โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน และหลังการ
เข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน
นักเรี ยนมีความรับผิดชอบในการเรี ยนมากกว่าก่อนเข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ
บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                                                               ั
2. งานวิจัยต่ างประเทศ
              เคอร์ติส (Curtis, 2000) ได้สารวจกิจกรรมการแนะแนวระดับมัธยมศึกษา โดยมี
เป้ าหมายเพื่อพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาอัตมโนทัศน์ของนักเรี ยน โดยแบ่ง
นักเรี ยนเป็ น 3 กลุ่ม เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มสัปดาห์ละ 1 ครั้งรวม 6 ครั้ง พบว่า นักเรี ยนมีทกษะ
                                                                                           ั
ความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มมากขึ้นและมีอตมโนทัศน์ดีข้ ึน
                                             ั
              แบรนนิแกน (Brannigan, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่ม กับหลักทาง
                                                            ั
จิตวิทยาการศึกษา เป็ นรู ปแบบในการพัฒนาความสามารถทางด้านวิชาการ ที่ Queensbury Middle
School ซึ่ งวัยรุ่ นตอนกลางอายุระหว่าง 10 – 15 ปี เป็ นช่วงวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน
พัฒนาการต่าง ๆ มักคิดด้านลบกับตนเอง ซึ่ งส่ งผลให้เกิดความเครี ยดและขาดความมันใจในตนเอง่
รวมถึงการเรี ยนในระดับนี้ ตองสามารถอธิ บายเกี่ยวกับการพัฒนาทางด้านวิชาการ เด็กวัยนี้จะถูก
                                  ้
คาดหวังและเกิดแรงกดดันทางสังคมในเรื่ องการเรี ยน การออกแบบการวิจยครั้งนี้ส่งผลให้นกเรี ยน
                                                                            ั                ั
                                                                        ั
ได้รู้การใช้ทกษะการสื่ อสาร ทาอย่างไรจึงจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบครู และเพื่อน ๆ การบริ หาร
               ั
เวลาในการทาการบ้าน การสนับสนุนจากพ่อแม่ ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้จะกระตุนให้เด็กลดความกลัว
                                                                          ้
มีความภาคภูมิใจในตนเอง และสามารถเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขพร้อมทั้งพัฒนาความสามารถด้าน
วิชาการให้สูงยิงขึ้น
                   ่
              โจนส์ (Jones, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการพัฒนาเด็กหญิง
                                                 ั
วัยรุ่ นตอนต้นที่ Nancy Khattab Victory Elementary School ในเรื่ องการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้
ทักษะการอยูในสังคม การพัฒนานิสัย บทบาทการวางตัวของวัยรุ่ น การเห็นคุณค่าในตนเองการ
                 ่
มองตนเองในแง่บวกในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น พบว่า กลุ่มสามารถพัฒนาใน
เรื่ องต่าง ๆ ได้ดี เนื่องจากกลุ่มทาให้เกิดการพัฒนาทักษะด้านการสื่ อสาร ทาให้เกิดความสัมพันธ์ใน
หมู่เพื่อน และมีประสิ ทธิ ภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่ นในอนาคต
              แฮมม์ (Hamm, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่ม ในการพัฒนาทักษะ
                                                   ั
ความสัมพันธ์ในหมู่วยรุ่ นตอนต้นที่ Middle School โดยที่ความสาคัญของการเข้ากลุ่มเพื่อน
                          ั
จะเกิดโอกาสที่ดีในการทางานกลุ่มให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เมื่อกลุ่มเกิดความไว้วางใจ
การสร้างบรรทัดฐานในกลุ่ม ความรู ้สึกที่เกิดจะมีคุณค่าและเกิดการรับฟังเหตุผลซึ่ งกันและกันมาก
ขึ้น และยังพบว่าการเข้ากลุ่มทาให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล
                                ่
ซึ่ งจะทาให้เข้าใจบุคคลที่อยูรอบข้างมากขึ้นโดยลดความขัดแย้งลง

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 

What's hot (20)

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมKrudoremon
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 

Viewers also liked (11)

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
05 classification 1 decision tree and rule based classification
05 classification 1 decision tree and rule based classification05 classification 1 decision tree and rule based classification
05 classification 1 decision tree and rule based classification
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROCEvaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือjoongka3332
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mikanokun
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (20)

บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ ในการวิจยครั้งนี้ ผูวิจยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง และได้นาเสนอตามหัวข้อ ั ้ ั ั เรี ยงตามลาดับดังนี้ 1. กิจกรรมกลุ่ม 2. คุณธรรมและจริ ยธรรม 3. ความรับผิดชอบ 4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 5. ขั้นตอนการเรี ยนรู ้ของกิจกรรมกลุ่มที่มีผลต่อความรับผิดชอบด้านการเรี ยนของนักเรี ยน กิจกรรมกลุ่ม ผูวจยได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับกิจกรรมกลุ่ม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ้ิั 1. ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ ดอร์ วน คาร์ทไรท์ และอัลวิน ซานเดอร์ (Dorwin Cartwright and Alvin Zander, ิ 1953: 3) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่มเป็ นการนาเอาวิธีการต่าง ๆ เช่น บทบาทสมมติ สถานการณ์ จาลอง เกม การอภิปรายการสังเกต และการให้ขอวิจารณ์ (Feedback) ซึ่ งกันและกัน เพื่อช่วยให้ ้ การตัดสิ นใจรวมกัน และยังใช้ฝึกทักษะเกี่ยวกับมนุษย์สมพันธ์ หรื อการประชุมต่างๆ ั โอลเซน (Ohlsen, 1970: 6 – 7) ได้สรุ ปความหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้ 2 ประการ 1. กิจกรรมกลุ่มที่มีผนาเป็ นผูให้ขอมูลรายละเอียดต่าง ๆ แก่สมาชิกหรื อผูนาอภิปราย ู้ ้ ้ ้ เพื่อที่สมาชิกได้บรรลุถึงความมุ่งหมายต่าง ๆ ของกลุ่ม โดยปกติผนาในกลุ่มชนิดนี้ จะให้ขอมูล ู้ ้ เกี่ยวกับการศึกษา อาชีพ หรื อสังคม และส่ งเสริ มให้สมาชิกในกลุ่มนาข้อมูลเหล่านี้มาอภิปราย เพื่อประโยชน์สาหรับตน เช่น การปฐมนิเทศ การปั จฉิมนิเทศ หรื อกิจกรรมต่าง ๆ ที่จดขึ้นใน ั ชัวโมง เป็ นต้น ในการทากิจกรรมกลุ่มแบบนี้ ครู จะเป็ นผูดาเนิ นการวางแผนงานกลุ่มให้สมาชิก ่ ้ 2. กิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ที่สมาชิกเป็ นผูดาเนินการ คือ นักเรี ยนได้วางแผนร่ วมกันจัด ้ ขึ้นเอง เช่น กลุ่มอภิปรายในเรื่ องต่าง ๆ ที่นกเรี ยนสนใจหรื อกิจกรรมเสริ มหลักสู ตร เป็ นต้น ั
  • 2. เรแกน และ เซฟเฟิ ร์ด (Ragan & Shepherd, 1971: 197) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่ม เป็ นการศึกษาถึงธรรมชาติของกลุ่ม เมื่อมนุษย์มารวมตัวกันซึ่ งมีการศึกษาพฤติกรรมของสมาชิก แต่ละคนในกลุ่ม โดยใช้วธีการอภิปราย และประเมินผลร่ วมกัน ิ เคมป์ และ กัลลี่ (Kemp & Gully, n.d. อ้างถึงใน พงษ์พนธ์ พงษ์โสภา, 2542: 3) ั ได้ให้ความหมายว่า กลุ่มประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปมารวมกัน มีการพึ่งพาอาศัยและ มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน มีความพึงพอใจมีการยอมรับและเคารพในความ คิดเห็นซึ่ งกันและกัน มีความรู ้สึกว่าตนเองเป็ นส่ วนหนึ่งของกลุ่ม ทิศนา แขมมณี และคณะ (2542: 7) กล่าวว่า ประสบการณ์ได้จากการเข้ากลุ่มจะทาให้ ผูเ้ รี ยนมีโอกาสเรี ยนรู ้จากการมีส่วนร่ วม กระทากิจกรรมที่ส่งเสริ มการวิเคราะห์ความรู ้สึก ความต้องการ ตลอดจนพฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มซึ่ งช่วยให้ผเู ้ รี ยน สามารถพัฒนาบุคลิกภาพของตนได้อย่างดี คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 6) กล่าวว่า กิจกรรมกลุ่ม หมายถึง การนาเอา ประสบการณ์มาวางแผนแลกเปลี่ยนซึ่ งกันและกัน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนในสิ่ งที่สมาชิ กต้องการ และการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มโดยส่ วนรวม ผูนาจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ ก็ต่อเมื่อเขาได้เรี ยนรู ้วธีการที่จะช่วยอานวยความสะดวกให้เกิดปฏิสมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ระหว่าง ิ ั สมาชิกแต่ละคน โดยวิธีดงกล่าวนี้ประสบการณ์ดงกล่าวจะทาให้เกิดพัฒนาการในตัวบุคคลทุกคน ั ั และกลุ่มก็จะดาเนินไปด้วยความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่ต้ งไว้ ั กาญจนา ไชยพันธุ์ (2549: 3) กล่าวว่า การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณ์ ของกลุ่มหลาย ๆ ฝ่ ายศึกษาพฤติกรรมความเป็ นผูนา ความคิดฝึ กปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมี ้ การศึกษาจากประสบการณ์ โดยผูศึกษาจะต้องเข้าไปมีส่วนร่ วมในประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่จดขึ้น ้ ั จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ความหมายของกิจกรรมกลุ่ม หมายถึง การจัด ่ ประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่ผเู ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในประสบการณ์ ร่ วมคิด ร่ วมวิเคราะห์และแก้ปัญหาร่ วมกัน ส่ งผลให้กลุ่มเกิดความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมาย 2. จุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ แทรคเลอร์ และ นอท (Traxler & North, 1966: 320) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของ กิจกรรมกลุ่มว่า 1. เพื่อให้การศึกษาอบรมแก่บุคคลที่ยงไม่คุยเคยกับสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิงใน ั ้ ่ มหาวิทยาลัยหรื อในโรงเรี ยน โดยการจัดโครงการ เช่น ปฐมนิเทศนักเรี ยนใหม่ หรื อนาไปจัดใน รู ปแบบของการแนะแนวได้ตลอดปี
  • 3. 2. เพื่อเสริ มสร้างประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากประสบการณ์ที่ได้รับจากหลักสู ตร โดยเฉพาะอย่างยิงการจัดกิจกรรมในโรงเรี ยนเพื่อพัฒนาประสิ ทธิ ภาพในการศึกษาเล่าเรี ยน ่ 3. เพื่อเป็ นรากฐานที่จะนาไปสู่ การให้คาปรึ กษาเป็ นรายบุคคล เพราะทาให้นกเรี ยน ั คุนเคยกับครู แนะแนวในขณะที่เข้าร่ วมจัดกิจกรรม ้ 4. เพื่อเป็ นการปรับตัว การบาบัดรักษา และความเจริ ญงอกงามของบุคคลในกลุ่ม นอกจากนี้กิจกรรมกลุ่มยังสามารถนามาเป็ นเครื่ องช่วยแก้ไขในเรื่ องส่ วนตัวได้ เช่น การปรับ บุคลิกภาพ การพัฒนาทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ เป็ นต้น บัททัน (Button, 1971: 1-2) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มว่า เพื่อช่วย ส่ งเสริ มให้มนุษย์ให้เติบโตและพัฒนาขึ้น โดยเฉพาะทักษะทางสังคม การจัดกิจกรรมกลุ่มจึงเป็ น การสร้างโอกาสให้มนุษย์ได้เรี ยนรู ้เดี่ยวกับการติดต่อสัมพันธ์กบบุคคลอื่น ในบรรยากาศที่ส่งเสริ ม ั ซึ่ งกันและกันโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกกลุ่มพยายามช่วยสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เพื่อให้ ่ บรรลุจุดมุงหมายที่กาหนด ประนอม เดชชัย (2531: 100 – 101) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้ดงนี้ ั 1. เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ คือความเข้าใจของตนเอง และเข้าใจ บุคคลอื่นภายในกลุ่ม ซึ่ งจะทาให้บุคคลปรับตัวเองเข้ากับบุคคลอื่นในกลุ่มได้ เกิดการเรี ยนรู ้เรื่ อง ่ ของตนได้ดีข้ ึน เช่น รู ้ขอบกพร่ องของตนเองหรื อรู ้วาตนเป็ นอย่างไร เมื่อเปรี ยบเทียบกับบุคคลใน ้ กลุ่มเกิดความเข้าใจบุคคลอื่นในกลุ่ม โดยที่สมาชิกในกลุ่มได้ทากิจกรรมร่ วมกันย่อมทาให้เกิดการ เรี ยนรู ้และรู ้จกซึ่ งกันและกันได้ดี ทราบข้อดีขอเสี ย ข้อบกพร่ องทั้งของตนเอง และคนอื่นอันจะ ั ้ เป็ นแนวทางให้เกิดความรู ้สึกเห็นใจซึ่ งกันและกัน คิดช่วยเหลือตลอดจนการปรับตัวเข้าหากันด้วย 2. เพื่อให้ผเู้ รี ยนเข้าใจกระบวนการการทางาน หรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่ วมกัน ประสบการณ์ท่ีจดในกิจกรรมกลุ่มจะช่วยให้สมาชิกได้เรี ยนรู ้วธีการทางานร่ วมกัน เพราะไม่มี ั ิ มนุษย์คนใดอยูคนเดียวได้โดยไม่ตองพึ่งพาอาศัยซึ่ งกัน ฉะนั้นการฝึ กกิจกรรมกลุ่มในการเรี ยนการ ่ ้ สอน จะช่วยฝึ กให้บุคคลเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางานและร่ วมมือกันแก้ปัญหา 3. เพื่อให้ผเู้ รี ยนฝึ กความรู้สึกทางด้านคุณธรรม และจริ ยธรรมในระหว่างร่ วมกิจกรรม กลุ่ม เช่น ฝึ กความรู้สึกอดทน ฝึ กการยอมรับความคิดเห็นของส่ วนรวม เป็ นต้น สิ่ งที่ได้มาจาก กิจกรรมกลุ่มเหล่านี้ จะไปช่วยพัฒนาบุคคลและสังคมต่อไป คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 149 – 150) กล่าวถึง ความมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่มไว้ ดังนี้ 1. เพื่อสร้างความเข้าใจในตนเองอย่างถูกต้อง โดยปกติทวไปอาจจะคิดว่าตนเองมี ั่ ความเข้าใจในตนเองไม่จาเป็ นต้องให้คนอื่นชี้แจงว่าตนเป็ นคนอย่างไร ในทางจิตวิทยาแล้วมนุษย์
  • 4. ย่อมเข้าใจตนเอง แต่บางด้านอาจจะไม่เข้าใจตนเอง ทั้งนี้ เพราะว่าแต่ละคนมีการปรับตัวกับ สิ่ งแวดล้อมโดยใช้กลวิธานแตกต่างกันไป ด้วยเหตุน้ ีกิจกรรมก็อาจช่วยมนุษย์ได้ โดยเป็ นกระจก เงาสะท้อนให้เห็นภาพของตนเองทุก ๆ ด้าน 2. เพื่อสร้างความเข้าใจในบุคคลอื่น มนุษย์มีความต้องการที่จะอยูร่วมกันอย่างมี ่ ความสุ ข ปั จจัยที่สาคัญประการหนึ่งก็คือความเข้าใจในสมาชิกของกลุ่ม ความเข้าใจในบุคคลอื่น จะทาให้เกิดการยอมรับพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมา ดังนั้นในการทากิจกรรมกลุ่มร่ วมกัน ของ สมาชิกจะเปิ ดโอกาสให้สมาชิกเกิดการเรี ยนรู ้ลกษณะต่างๆ ของแต่ละคนได้เป็ นอย่างดี ั 3. เพื่อสร้างความสามารถในการทางานร่ วมกันระหว่างสมาชิก ซึ่งนอกจากจะอาศัย ความรู้ ความสามารถในการทางานร่ วมกันระหว่างสมาชิ ก สิ่ งที่สาคัญและมีความหมายต่อ ความสาเร็ จของกลุ่ม คือ ความร่ วมมือ ซึ่ งถ้าขาดความร่ วมมือที่ดีจะทาให้การทางานของกลุ่มไม่ ประสบความสาเร็ จเท่าที่ควรดังนั้นในการทากิจกรรมกลุ่ม จึงมีจุดมุ่งหมายที่จะเสริ มสร้าง คุณลักษณะที่ดีให้แก่สมาชิกกลุ่มให้มีทกษะที่จาเป็ นต่อการทางานร่ วมกับผูอื่น ั ้ จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา จุดมุ่งหมายของกิจกรรมกลุ่ม คือการช่วยให้บุคคลมี ่ โอกาสฝึ กทักษะให้แก่ตนเอง เพื่อให้สามารถแก้ไขปั ญหาส่ วนตัวและคนอื่น และช่วยให้คนพบ ้ หนทางในการที่จะช่วยให้สมาชิกปรับตัวเพื่อนาไปสู่ ความเจริ ญงอกงาม มีทกษะในการทางานกลุ่ม ั มีความเข้าใจตนเองและเข้าใจผูอื่น ตลอดจนมีความสามารถในการแก้ปัญหา ้ 3. ขนาดของกลุ่ม ขนาดของกลุ่ม คือ จานวนสมาชิกในกลุ่มซึ่ งมีผลกระทบต่อคุณภาพของการ ปฏิสัมพันธ์และการสื่ อสารระหว่างสมาชิก ได้มีผให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับจานวนสมาชิกในกลุ่มไว้ ู้ ดังนี้ อ๊อตตาเวย์ (Ottaway, 1966: 7) กล่าวว่า กลุ่มควรมีขนาดเล็ก เพราะจะช่วยให้สมาชิก มีโอกาสแสดงอย่างอิสระได้อย่างทัวถึงกัน โดยสมาชิกไม่ตองใช้เสี ยงดังมากนัก ทุกคนในกลุ่ม ่ ้ ก็จะได้ยนอย่างทัวถึงกัน ดังนั้นกลุ่มควรมีขนาดอย่างมากที่สุด 12 คน หรื อถ้ามากกว่านั้น ไม่เกิน ิ ่ 15 คน ส่ วนขนาดของกลุ่มที่มีความเหมาะสมที่สุดนั้น ควรมีสมาชิก 9 – 10 คน จึงจะทาให้ การทางานบังเกิดผลที่ดีที่สุด ชอว์ (Shaw, 1981: 4) ได้กล่าวถึงขนาดของกลุ่มว่า กลุ่มย่อยควรมีสมาชิก 10 คน เป็ นอย่างมาก แต่ถามีสมาชิกจานวน 30 คนขึ้นไป จะจัดเป็ นกลุ่มใหญ่และถึงแม้วากลุ่มจะมี ้ ่ สมาชิกจานวน 30 คน ก็อาจเป็ นกลุ่มย่อยได้ จานวนสมาชิกไม่ได้เป็ นปั ญหาสาคัญ แต่ องค์ประกอบอื่น ๆ ซึ่ งได้แก่ ความสาคัญของสมาชิก และความร่ วมมือในการทางานของสมาชิก จะมีความสาคัญต่อการทางานกลุ่มมากกว่า
  • 5. ทิศนา แขมมณี (2545: 153) กล่าวว่า ขนาดของกลุ่มจะมีเท่าใดนั้น ขึ้นอยูกบลักษณะ ่ ั และจุดประสงค์ของกิจกรรม กลุ่มขนาดเล็กมักจะประกอบด้วยสมาชิก 2 – 5 คน ขนาดใหญ่ ประมาณ 10 – 20 คน แต่ขนาดที่นิยมคือ 6 – 8 คน คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 110 - 111) กล่าวว่า ขนาดของกลุ่มในการจัดกิจกรรมนั้น ไม่ควรเกิน 15 คน เพราะในกลุ่มที่มีสมาชิกมากเกินความจาเป็ น สมาชิกจะต้องทางานซ้ าซ้อนกัน บางคนอาจจะรับผิดชอบทั้งหมดในขณะที่คนอื่น ๆ รู ้สึกคับข้องใจที่มีมีงานทาในกลุ่ม ไม่มีโอกาส ที่จะใช้ทกษะที่ตนเองมีอยู่ แต่ท้ งนี้ก็ข้ ึนอยูกบสถานการณ์ ั ั ่ ั กาญจนา ไชยพันธ์ (2549: 18) กล่าวว่า จานวนสมาชิกของกลุ่มที่จะจัดเกี่ยวกับการ ช่วยในการทางานหรื อการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมคือ 5 – 10 คน โดยครู ควรเลือกให้เหมาะสม กับเนื้อหาวิชาและกิจกรรม โดยเฉพาะกลุ่มเล็กที่สมาชิกไม่เกิน 15 คน จะช่วยให้เกิดการ เคลื่อนไหวได้ง่าย ถ้าสมาชิกมากเกินไปอาจมีผลต่อการแสดงความคิดเห็นและความต้องการได้ ไม่ทวถึง รวมถึงสมาชิกไม่เกิดความสนใจและอาจออกไปจากกลุ่ม ั่ จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ขนาดของกลุ่มนั้น ไม่มีการกาหนดสมาชิกที่ตายตัว แต่ ่ ควรมีจานวนไม่ควรเกิน 15 คนต่อหนึ่งกลุ่ม กลุ่มที่จาทากิจกรรมนั้นควรมีขนาดไม่ใหญ่หรื อเล็ก จนเกินไป และขนาดของกลุ่มที่นิยม คือ 6 – 8 คน 4. เวลาในการใช้ กจกรรมกลุ่ม ิ นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงเวลาในการใช้กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ แพธเธอร์สัน (Patterson, 2000: 105) กล่าวว่า การทากิจกรรมเป็ นกลุ่มควรจัดสัปดาห์ ละ 2 ครั้ง แต่ถาเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มมีนอยอาจจัดสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ช่วงเวลาในการ ้ ้ เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มควรใช้เวลาไม่เกิน 1 ชัวโมง ในระดับเด็กประถมศึกษา เพราะเด็กอาจเกิด ่ ความเบื่อหน่าย บุหงา วชิระศักดิ์มงคล (2535: 66) กล่าวว่า ในการกาหนดความถี่ และระยะเวลาเข้า ร่ วมกิจกรรมกลุ่มนั้น ควรเป็ นหน้าที่ของผูนากลุ่มที่จะต้องพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ้ ชนิดของกลุ่ม อายุ สมาชิก ประสบการณ์ของผูนากลุ่ม ้ ทิพยวรรณ กิตติพร (2535: 197) กล่าวว่า ระยะเวลาในการเข้ากลุ่มต้องคานึงถึงความ เหมาะสม โดยพิจารณาจากชนิดของกลุ่ม อายุสมาชิก จุดมุ่งหมายของกลุ่ม ลักษณะของสมาชิก ่ ั ้ ซึ่ งสอดคล้องโดยตรงกับความถี่ระยะเวลาเพียงพอของการพบปะสมาชิก ซึ่ งขึ้นอยูกบผูนาต้อง ั กาหนดเวลาให้เพียงพอกับการปฏิสัมพันธ์กนขณะเดียวกันก็พยายามไม่ให้มีเวลามากเกินไป นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2542: 120) กล่าวว่า เวลามากหรื อน้อยเป็ นปั จจัยสาคัญที่วทยากร ิ ควรให้ความสาคัญ ถ้าเวลาไม่เกิน 30 นาที กิจกรรมอาจประกอบไปด้วย 1 หรื อ 2 กิจกรรม แต่ถา ้
  • 6. มีเวลาเกิน 30 นาทีแล้ว ควรมีรูปแบบของกิจกรรมที่เปลี่ยนไปทุก 30 นาที เพื่อหลีกเลี่ยงความ ซ้ าซากและเบื่อหน่าย และวิทยากรควรพิจารณาด้วยว่ากิจกรรมลักษณะใดที่จะใช้กิจกรรมใด จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา เวลาในการใช้กิจกรรมกลุ่มนั้น ควรจัดโดยคานึงถึง ่ ความเหมาะสมของอายุสมาชิก และจุดมุ่งหมายของกลุ่ม การจัดกิจกรรมไม่ควรเกิน 30 นาที 5. ประโยชน์ ของการใช้ กจกรรมกลุ่ม ิ ในการศึกษาประโยชน์ของการใช้กิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงประโยชน์ของการใช้ ู้ กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ โรเจอร์ส (Rogers, 1970: 121-122) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของกิจกรรมกลุ่มดังนี้ 1. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านการรับรู้ทางความรู้สึก 2. มีการตระหนักถึงความรู ้สึกของตนเองและผูอื่นมากขึ้น ตลอดจนเปิ ดเผยความรู้สึก ้ มีความจริ งใจและเป็ นไปอย่างธรรมชาติ มีการเปลี่ยนแปลงทางความสามารถในการควบคุม ความรู ้สึกต่าง ๆ ของตนเองมีการแสดงที่ตรงกับความรู ้สึกของตน 3. เกิดแนวทางในการสร้างแรงจูงใจ หมายถึง การเข้าใจตนเอง (Self - Actualization) การรู้จกตัดสิ นใจด้วยตนเอง ั 4. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านทัศนคติท้ งต่อตนเองและผูอื่น หมายความว่า บุคคล ั ้ ยอมรับตนเอง พัฒนาในเรื่ องคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเองและมีความมันคงยิงขึ้น ลดการ ่ ่ สั่งสอนและควบคุมผูอื่น มีส่วนร่ วมในกิจกรรมมากขึ้น และมีความรู ้สึกพึ่งพากันและกัน เชื่อใน ้ ความสามารถของบุคคล มีการแก้ปัญหาโดยการทางานเป็ นกลุ่มและเป็ นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม บุหงา วชิระศักดิ์มงคล (2535: 30) กล่าวว่า หลังการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มประเภท ต่าง ๆ แล้ว นอกจากจะทาให้ได้ผลงานตามจุดมุ่งหมายของกลุ่มชนิดนั้น ๆ แล้วยังมีผลทาให้ บุคคลที่เป็ นสมาชิกของกลุ่มมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน และมีประโยชน์ต่อผูให้บริ การแนะแนว ้ ในโรงเรี ยนและชุมชนอีกด้วย ได้แก่ 1. ประโยชน์ต่อสมาชิกกลุ่ม การเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มจะมีผลให้นกเรี ยนได้รับการ ั ตอบสนองความต้องการทางสังคม ทั้งยังเป็ นการก่อให้เกิดพัฒนาการในด้านต่าง ๆ อีกด้วย เช่น การพัฒนาการทางด้านสติปัญญา พัฒนาการทางด้านเจตคติ คือ มีการเปลี่ยนแปลงต่อตนเอง และผูอื่นเป็ นไปในทางที่สร้างสรรค์ข้ ึน และพัฒนาการทางด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะทางสังคม ้ ทักษะในการศึกษาค้นคว้า ทักษะทางปั ญญา และทักษะในการทางานเป็ นกลุ่ม 2. ประโยชน์ต่อผูแนะแนวหรื อผูนากลุ่ม ในฐานะผูให้บริ การแนะแนวซึ่ งต้องจัดบริ การ ้ ้ ้ ั ั ให้กบนักเรี ยนเพื่อส่ งเสริ มและพัฒนา เพื่อป้ องกันปั ญหาเพื่อแก้ไขปั ญหาให้กบผูเ้ รี ยน เพื่อจะ ให้บริ การนักเรี ยนเป็ นกลุ่มได้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย
  • 7. จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา ประโยชน์ของการใช้กิจกรรมกลุ่มนั้น จะช่วยให้ ่ สมาชิกกลุ่มมีการพัฒนาตนเองทั้งทางด้านการอยูร่วมกันในสังคม และตัวของสมาชิกเอง ทาให้ ่ สมาชิกมีความรับผิดชอบ มีเหตุผล รวมไปถึงการพัฒนาทางด้านความคิด เจตคติ ค่านิยม และ พฤติกรรม สามารถที่จะเผชิ ญกับสถานการณต่าง ๆ และเรี ยนรู ้ท่ีจะแก้ไขหรื อสู ้ได้อย่างถูกต้อง ทาให้มีประสบการณ์ในการดารงชีพอย่างอิสระและถูกต้อง 6. การเรี ยนรู้ ตามกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม ในการศึกษาการเรี ยนรู ้ตามกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงกระบวนการกิจกรรม ู้ กลุ่ม ดังนี้ กรมวิชาการ (2542: 187) ได้เขียนตาราการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยมีข้ นตอนที่ใช้ ั ในกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ 1. ขั้นนา เป็ นการเริ่ มบทเรี ยนให้น่าสนใจ มีสาระแทรกความสนุกสนานและตื่นเต้น ในบางครั้งเพื่อช่วยให้นกเรี ยนตื่นตัว มีสมาธิ เกิดความต้องการในสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ กิจกรมในขั้นนา ั จะเป็ นกิจกรรมสั้น ๆ อาจใช้สื่อการสอนบางอย่างประกอบด้วย เช่น การเสนอข่าว การเชิดหุ่น การแสดง การเล่านิทาน ฯลฯ อาจเพิ่มเติมคาแนะนา กติกา คาสั่งต่าง ๆ การแบ่งกลุ่มการรับ มอบหมายที่กาหนดให้ เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมในขั้นต่อไปเกิดความเข้าใจตรงกัน ทั้งนี้ควรเปิ ด โอกาสให้นกเรี ยนไดศึกษา ทบทวน และซักถามความเข้าใจด้วย ั 2. ขั้นกิจกรรม นักเรี ยนทุกคนจะได้รับบทบาทและหน้าที่ในการดาเนินกิจกรรมตามที่ ได้รับมอบหมาย การแยกย้ายตามกลุ่ม การกาหนดและเลือกประธาน เลขานุการ สมาชิกกลุ่มเพื่อ ประชุมปรึ กษาหารื อ การวางแผน การเสนอความคิดเห็นของสมาชิกแต่ละคน การหาข้อสรุ ป คาตอบที่ตองการ การกาหนดการเสนอผลงาน การแสดงออก การดาเนิ นกิจกรรมที่กาหนดไว้ ้ ครู ตองคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนา และดูแลนักเรี ยนทุกคนที่เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรมทุก ้ ระยะ การจัดเตรี ยมอุปกรณ์บางอย่างให้พอเพียง พร้อมทั้งอานวยความสะดวกในการดาเนิน กิจกรรมแต่ละกลุ่ม คอยช่วยเหลือกลุ่มที่ออกมาเสนอที่เกิดปั ญหาและข้ออุปสรรคในบางครั้ง 3. ขั้นอภิปราย ขั้นตอนนี้จะต้องจัดโอกาสให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ั การซักถาม การอภิปรายในแง่คิดประเด็นต่าง ๆ การวิพากษ์วจารณ์ การให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม ิ การตอบปั ญหา การเสนอแนะวิธีการต่าง ๆ ได้พดคุยสนทนาแกเปลี่ยนความคิดประสบการณ์ของ ู ตนเองกับผูอื่น รู้จกยอมรับฟัง และให้เกียรติความคิดเห็นของผูอื่นที่แตกต่างจากตนเอง เกิดการ ้ ั ้ เปลี่ยนแปลงแนวความคิดของตนเอง ขั้นการอภิปรายจะบรรลุผลสาเร็ จครู ควรจะต้องตั้งประเด็น ท้าทายให้นกเรี ยนคิดวิเคราะห์และให้เหตุผลวิพากษ์วจารณ์ การตั้งคาถามที่ฝึกฝนให้ผเู้ รี ยนรู้จก ั ิ ั การหาคาตอบที่ใช้ความคิดในระดับสู ง มีความเชื่อมันในการพูด และการแสดงออกในสิ่ งที่คิดขึ้น ่
  • 8. ได้ ครู ตองเตรี ยมตัวอย่างเหตุการณ์ เรื่ องราวที่เกี่ยวข้อง น่าสนใจประกอบเสมอ เพื่อทาให้ขอคิด ้ ้ ่ ประเด็นต่าง ๆ ที่นกเรี ยนได้รับตั้งอยูบนพื้นฐานของความเป็ นจริ งที่เกิดขึ้นในสังคมสิ่ งแวดล้อม ั และการดาเนินชี วตของบุคคลต่าง ๆ ิ 4. ขั้นสรุ ปและประยุกต์ใช้ในขั้นนี้นกเรี ยนจะประมวลเนื้ อหากิจกรรมและ ั ประสบการณ์ดวยความคิดเห็นต่าง ๆ ใน 2 ลักษณะ คือ การสรุ ปสิ่ งที่เรี ยนมาทั้งหมดได้อย่าง ้ ถูกต้อง ได้รับหลักการแนวคิดที่ชดเจน มีแนวทางข้อเสนอหลาย ๆ ด้านที่เป็ นประโยชน์ และ ั สามารถปฏิบติได้ รวมทั้งคุณลักษณะด้านจริ ยธรรมของนักเรี ยนจะพัฒนาได้สูงและมีประสิ ทธิภาพ ั ยิงขึ้น ครู จะต้องพยายามสนับสนุนติดตามให้นกเรี ยนนาความรู้ ความคิด ทักษะต่าง ๆ ที่ได้รับไป ่ ั ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตของนักเรี ยนแต่ละคนทั้งในห้องเรี ยน ครอบครัวและ ชุมชนของเขา ทิศนา แขมมณี (2545: 146-147) กล่าวว่า การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มมี ลักษณะเฉพาะบางประการ การเตรี ยมการจึงต้องคานึงถึงลักษณะ ดังนี้ 1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย เพื่อให้การจัดกิจกรรมไม่ออกนอกลู่นอกทางโดยกาหนด เป็ น 2 ลักษณะ คือ จุดมุ่งหมายทัวไป และจุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่ งลักษณะเฉพาะนี้นิยมเขียนใน ่ เชิงพฤติกรรม (Behavior or Performance Objective) และยังแบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ (Cognitive Domain) ด้านทักษะ (Psychomotor) และด้านเจตคติ (Affective Domain) ขึ้นอยูกบ ่ ั ความเหมาะสมและจุดมุ่งหมาย การกาหนดเช่นนี้จะทาให้เกิดความสะดวกและชัดเจนในการจัด กิจกรรมและการประเมิน 2. การกาหนดเนื้อหาหรื อความคิดรวบยอด เพื่อให้เข้าใจชัดเจนเป็ นหลักในการ ออกแบบกิจกรรมสาหรับผูเ้ รี ยน 3. การกาหนดกิจกรรมหรื อประสบการณ์เรี ยนรู ้สาหรับผูเ้ รี ยน การจัดกิจกรรมให้ สอดคล้องดังกล่าว สามารถใช้กระบวนการเป็ นขั้นตอนดังนี้ 3.1 ขั้นนา คือ การเตรี ยมความพร้อมให้แก่ผเู ้ รี ยน เช่น การเตรี ยมความรู้และจัด บรรยากาศที่เหมาะสม เป็ นต้น 3.2 ขั้นกิจกรรม คือ การให้ผเู ้ รี ยนลงมือทากิจกรรมที่เตรี ยมไว้ ให้มีส่วนร่ วมและ รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ที่จะนามาวิเคราะห์อภิปรายให้เกิดการเรี ยนรู ้ 3.3 ขั้นอภิปราย คือ การให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิด ความรู้สึก และการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้น
  • 9. 3.4 ขั้นสรุ ปและนาไปใช้ คือ เป็ นการรวบรวมความคิดเห็นและข้อมูลต่าง ๆ จาก ขั้นกิจกรรมและอภิปรายมาประสานกัน จนได้ขอสรุ ปที่ชดเจน รวมทั้งกระตุนให้ผเู ้ รี ยนนาไปใช้ ้ ั ้ ในชีวตประจาวัน ิ ่ 4. การประเมินผล หลังจากเสร็ จสิ้ นกิจกรรมแล้ว จาเป็ นต้องประเมินผลเพื่อดูวาได้ ่ บรรลุจุดมุงหมายที่ต้ งไว้หรื อไม่ ั คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546: 27 - 28) ยังได้กล่าวถึง ระยะพัฒนาของกลุ่มว่า พฤติกรรมที่สมาชิกแสดงออกตอนเริ่ มเข้ากลุ่มอาจแตกต่างจากภายหลังที่ได้รับเข้ากลุ่มเป็ น เวลานานแล้ว ทั้งนี้เพราะว่าการที่จะทาให้กลุ่มเป็ นกลุ่มที่สมบูรณ์ข้ ึน จะต้องอาศัยเวลาในการ พัฒนากลุ่ม ดังนั้น มักจะพบว่า กลุ่มจะต้องผ่านระยะต่าง ๆ 4 ระยะ คือ ่ 1. ระยะที่บุคคลแต่ละคนมีการแข่งขัน และมีศูนย์กลางอยูที่ตนเอง (Individually centered, Competitive phase) 2. ระยะของความขัดแย้ง และความคับข้องใจ (Frustration and Conflict phase) 3. ระยะกลุ่มมีความสามัคคี (Group harmony phase) 4. ระยะที่มีผลงาน และยึดกลุ่มเป็ นศูนย์กลาง (Group centered productive phase) 7. ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้ องกับกิจกรรมกลุ่ม ในการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมกลุ่ม มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ทฤษฏีสนาม (Field Theory) ของ Kurt Lewin ลักษณะของกลุ่มเป็ น 2 แบบ (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549: 24-32 อ้างจาก วินิจ เกตุขา และคมเพชร ฉัตรศุภกุล, 2522) 1. ลักษณะตามสภาพของกลุ่ม (Topological Construction) หมายถึง กลุ่มพิจารณา สภาพภายในของกลุ่มเป็ นสาคัญ ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ 1.1 พื้นที่ (Region) ส่ วนของขนาดและรู ปร่ างของกลุ่ม (Social Space) มีความ แตกต่างกันออกไป ทาให้กลุ่มเกิดความตึงเครี ยดหรื อสมดุลได้ 1.2 ขอบเขต (Barrier) เป็ นส่ วนของขอบเขตที่ติดต่อระหว่างบุคคล ถ้าบุคคลหรื อ ระหว่างกลุ่มต่อกลุ่ม มีขอบเขตมากก็จะเป็ นอุปสรรคในการติดต่อสื่ อสารหรื อการสร้างสัมพันธ์กน ั 2. ลักษณะตามการเคลื่อนที่ของกลุ่ม (Dynamics Construction) กลุ่มที่พิจารณาตาม พลังกลุ่มเป็ นสาคัญ 2.1 ลดความตึงเครี ยด (Tension) เป็ นภาวะที่เกิดความไม่สมดุลในกลุ่มสมาชิกของ กลุ่มต้องช่วยกันลดความตึงเครี ยดลง
  • 10. 2.2 ทิศทาง (Vector) เป็ นการเคลื่อนที่ไปสู่ จุดหมาย จะช่วยให้กลุ่มเกิดการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ถือว่าเป็ นพลวัตรของกลุ่ม ดังนั้นในกระบวนการกลุ่มสมาชิกต้องช่วยกัน ในการดาเนินกิจกรรมทาให้ทิศทางไปสู่ จุดหมายเร็ วขึ้น 2.3 แรงดึงดูด (Valance) เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างกลุ่ม ทาให้กลุ่มบรรลุเป้ าหมาย ถ้าสมาชิกในกลุ่มมีแรงยึดเหนี่ยวสู ง กลุ่มก็จะรวม ตัวกันสู ง ก่อให้เกิดความสาเร็ จในการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม 3. พฤติกรรมของบุคคลในกลุ่ม 3.1 พฤติกรรมเป็ นผลมาจากพลังความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มไม่ได้เกิด จากการรวมตัวของสมาชิกเพียงอย่างเดียว แต่เป็ นผลจากการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนและกันในกลุ่ม ั 3.2 โครงสร้างของกลุ่มเกิดจากการรวมตัวของบุคคลที่มีลกษณะแตกต่างกัน ั 3.3 การรวมกลุ่มแต่ละครั้ง จะต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยเป็ น ปฏิสัมพันธ์ในรู ปของ การกระทา ความรู้สึก และความคิด 3.4 องค์ประกอบด้านปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การกระทา ความรู้สึกและความคิด จะก่อให้เกิดโครงสร้างของกลุ่ม ซึ่ งมีลกษณะแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของสมาชิกในกลุ่ม ั 3.5 สมาชิกในกลุ่มจะมีการปรับตัวเข้าหากันและพยายามช่วยกันทางาน ซึ่งการที่ บุคคลพยายามปรับบุคลิกภาพของตนที่มีความแตกต่างกันนี้ จะก่อให้เกิดความเป็ นอันหนึ่ง อันเดียวกันและทาให้เกิดแรงผลักดันของกลุ่มในการทางานเป็ นไปด้วยดี ทฤษฏีปฏิสัมพันธ์ (Interaction Theory) ของ Bales (ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2522 อ้างจาก Bales, n.d.) ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของทฤษฏีน้ ี คือ 1. กลุ่มจะมีปฏิสัมพันธ์โดยการกระทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง 2. ปฏิสัมพันธ์จะเป็ นปฏิสัมพันธ์ทุกๆ ด้าน คือ 2.1 ปฏิสัมพันธ์ทางร่ างกาย 2.2 ปฏิสัมพันธ์ทางวาจา 2.3 ปฏิสัมพันธ์ทางจิตใจ 3. กิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทาผ่านการมีปฏิสัมพันธ์น้ ี จะก่อให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึก ทฤษฏีบุคลิกภาพของกลุ่ม (Group Syntality Theory) ของ Cattell ทฤษฏีน้ ีอาศัย หลักการจากทฤษฏีการเสริ มแรง (Reinforcement Teory) (โยธิน คันสนยุทธ, 2528) คือ กฎแห่งผล (Low of Effect) เพื่ออธิ บายพฤติกรรมของกลุ่ม แนวคิดในทฤษฏีน้ ีประกอบด้วย 1. ลักษณะของกลุ่มประกอบด้วย
  • 11. 1.1 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิกซึ่ งมีบุคลิกภาพเฉพาะตัว (Population Traits) ได้แก่ สติปัญญา ทัศนคติ บุคลิกภาพ เป็ นต้น 1.2 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีบุคลิกภาพเฉพาะกลุ่ม (Syntality Traits หรื อ Personality Traits) ซึ่งจะทาให้แต่ละกลุ่มมีลกษณะที่แตกต่างกันออกไป บุคลิกภาพของกลุ่มได้จาก ั ความสามารถของกลุ่มที่มีอยูในการกระทาของสมาชิกร่ วมกัน เช่น การตัดสิ นใจ พฤติกรรม หรื อ ่ การแสดงออกของสมาชิก เป็ นต้น 1.3 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีลกษณะโครงสร้างภายในโดยเฉพาะ (Characteristic of ั Internal Structure) ซึ่งหมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและแบบแผนหรื อลักษณะในการ รวมกลุ่ม เช่น มีการแสดงบทบาทตาแหน่งหน้าที่ มีการสื่ อสารระหว่างสมาชิก เป็ นต้น 2. พลังหรื อการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของกลุ่ม (Dynamics of Syntality) หมายถึง การแสดงกิจกรรมหรื อความร่ วมมือของสมาชิกในกลุ่มเพื่อจุดมุ่งหมาย อย่างใดอย่างหนึ่ง มีลกษณะ 2 ประการ คือ ั 2.1 ลักษณะที่ทาให้กลุ่มรวมกันได้ (Maintenance Synergy) หมายถึง ลักษณะของ ความร่ วมมือในการทากิจกรรมของสมาชิกแต่ละกลุ่มเพื่อให้ความสัมพันธ์ เป็ นไปได้อย่างราบรื่ น และก่อให้เกิดความสามัคคี ความร่ วมแรงร่ วมใจกัน (Cohesion) ซึ่ งจะทาให้การรวมกลุ่มไม่มีการ แตกแยกหรื อการถอนตัวออกจากกลุ่ม 2.2 ลักษณะที่ทาให้กลุ่มประสบความสาเร็ จ (Effective Synergy) หมายถึง กิจกรรม ที่สมาชิกกระทาเพื่อให้กลุ่มบรรลุจุดมุ่งหมายที่ต้ งไว้ ั 8. กิจกรรมทีใช้ ในกิจกรรมกลุ่ม ่ ในการศึกษากิจกรรมที่ใช้ในกิจกรรมกลุ่ม มีผกล่าวถึงเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการจัด ู้ กิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2545 : 152 ) ได้กล่าวถึง เทคนิคและวิธีการการจัดกิจกรรมกลุ่มให้ ่ สอดคล้องกับหลักทฤษฏี มีอยูหลายวิธี ดังนี้ 1. เกม (Game) การใช้กิจกรรมเกมเป็ นการให้สมาชิกเข้าไปร่ วมในสถานการณ์ที่ผเู ้ ล่น ยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบติตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง เพื่อให้ได้ตามเป้ าหมายตามที่ตองการ ซึ่ง ั ้ มักจะมีผลในรู ปแบบของการแพ้ชนะ การเล่นเกมจะช่วยให้สมาชิกได้เรี ยนรู ้ยทธวิธีต่าง ๆ ที่จะ ุ เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ และได้ฝึกฝนเทคนิคและทักษะที่ตองการ รวมทั้งช่วยให้เกิดความ ้ สนุกสนาน 2. บทบาทสมมติ (Role - Play) การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ ม ให้นกเรี ยนได้มีโอกาสแดสงออก เกิดความรู ้สึก ความนึกคิดในการแสดงบทบาทของคนอื่นที่ ั
  • 12. ไม่ใช่ตนเอง โดยใช้ตวละครที่สมมติข้ ึนจากสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่ใกล้เคียงความเป็ น ั จริ งมาเป็ นเครื่ องมือในการจัดกิจกรรม โดยให้นกเรี ยนแสดงบทบาทสมมติน้ น ๆ และการแสดง ั ั บทบาทสมมติจะให้ความรู้ ความเข้าใจ สามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดออกมา วิธีการนี้ ช่วยให้มี โอกาสศึกษาวิเคราะห์ถึงความรู ้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผูอื่นได้อย่างลึกซึ้ ง และช่วยให้ ้ เข้าใจบทบาทที่ต่างไปจากตน โดยไม่ตองเผชิ ญหน้ากับสิ่ งเหล่านั้นในเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นใน ้ ชีวตประจาวันของนักเรี ยนแต่ละคน ิ วัตถุประสงค์ของการใช้บทบาทสมมติ 2.1 เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความเข้าใจในความรู้สึก พฤติกรรม กรแสดงออกของผูอื่น ั ้ 2.2 เพื่อให้นกเรี ยนมีการปรับหรื อเปลี่ยนเจตคติ พฤติกรรมและการปฏิบติตนใน ั ั สังคมอย่างเหมาะสม 2.3 เพื่อให้นกเรี ยนได้ฝึกการใช้ความรู ้ในการเผชิ ญสถานการณ์ต่าง ๆ ฝึ กการแก้ไข ั ปั ญหาและการตัดสิ นใจ 2.4 เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนได้มีโอกาสแสดงออกได้เรี ยนอย่าง สนุกสนาน 2.5 เพื่อช่วยให้การเรี ยนการสอนมีความใกล้เคียงกับสภาพความเป็ นจริ งมากขึ้น 3. กรณี ตวอย่าง (Case) เป็ นการสอนทีสร้างขึ้นง่าย ๆ มีสาระน่าสนใจ ให้ขอคิดเห็น ั ้ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในการพัฒนาคุณลักษณะทางจริ ยธรรม เป็ นอย่างมาก โดยครู สามารถใช้กรณี ตวอย่างหรื อเรื่ องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริ งมาดัดแปลงและใช้ ั เป็ นสื่ อ ตัวอย่าง หรื อเครื่ องมือในการศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายกันเป็ นการช่วยฝึ กฝน การใช้ ความคิดในการแก้ปัญหาหลายๆ แบบ วิธีน้ ีช่วยให้คิดพิจารณาข้อมูลที่ตนได้รับอย่างถี่ถวน ้ นอกจากนั้นยังช่วยให้การเรี ยนรู ้มีลกษณะใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง โดยการเชื่ อมโยงเอาสิ่ งต่าง ๆ ั ที่เกิดขึ้นในสังคมสิ่ งแวดล้อม ชีวตประจาวันที่น่าสนใจ ชวนติดตาม และยังหาข้อสรุ ปเด่นชัดไม่ ิ ได้มาปรับปรุ งให้เป็ นตัวอย่างแก่นกเรี ยนอย่างมีกระบวนการและขั้นตอนที่เหมาะสม นักเรี ยนจะ ั ได้ฝึกฝนกับการเผชิ ญเรื่ องราวต่าง ๆ นักเรี ยนจะได้ฝึกฝนการวิเคราะห์แยกแยะประเด็นปั ญหาและ ตัดสิ นใจได้อย่างมีหลักเกณฑ์อย่างมีเหตุผล นอกจากนี้ นกเรี ยนยังได้แลกเปลี่ยนความคิด ั ประสบการณ์ ความรู้สึก เจตคติของตนเองต่อผูอื่นด้วย พร้อมทั้งได้พฒนาทักษะความเป็ นผูนา ้ ั ้ การทางานเป็ นกลุ่ม การอภิปรายกลุ่มย่อย และมติของกลุ่ม 4. สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็ นการใช้สถานการณ์ที่จาลองขึ้นให้เหมือนจริ ง ่ หรื อใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมาเป็ นเครื่ องมือ โดยให้เข้าไปอยูในสถานการณ์และมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่ งต่าง ๆ ในสถานการณ์จาลอง ทาให้ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ในชีวตจริ งอาจไม่กล้า ิ
  • 13. แสดง การใช้สถานการณ์จาลองจะช่วยให้เกิดความเข้าใจลึกซึ้ งในองค์ประกอบที่ซบซ้อนของ ั ความเป็ นจริ ง 5. ละคร (Acting or Dramatization) คือ วิธีการที่ให้ผเู้ รี ยนได้ทดลองแสดงบทบาท ตามที่เรี ยนหรื อกาหนดไว้ โดยผูเ้ รี ยนจะต้องพยายามแสดงให้สมบทบาทตามที่กาหนดไว้ โดยไม่ นาเอาบุคลิกภาพและความรู ้สึกนึกคิดของตนเข้าไปเกี่ยวข้อง วิธีการนี้จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้มี ประสบการณ์ในการที่จะเข้าใจความรู้สึก เหตุผลและพฤติกรรมของผูอื่น ทาให้เกิดความเห็นอก ้ เห็นใจกัน นอกจากนี้ ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสแสดงละครร่ วมกันจะช่วยฝึ กให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรับผิดชอบ ในการเรี ยนรู ้ร่วมกันและได้ฝึกการทางานร่ วมกัน 6. อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group) การใช้กลุ่มย่อยช่วยเปิ ดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วน ร่ วมในกิจกรรมอย่างทัวถึง รวมทั้งให้สมาชิกเรี ยนรู ้จากกันและกัน คือ ได้เรี ยนรู้จากความรู้สึก ่ พฤติกรรมการปรับตัว การมีปฏิสัมพันธ์ การเรี ยนรู้บทบาทหน้าที่ การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ ร่ วมกัน การใช้เทคนิคกลุ่มย่อยมีหลายวิธีดวยกันแล้วแต่ผจดจะคิดค้นขึ้น แต่ที่นิยมใช้จะเป็ นกลุ่ม ้ ู้ ั ระดมสมอง จากเอกสารดังกล่าวสรุ ปได้วา เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มมี ่ หลากหลายวิธีดวยกัน ได้แก่ เกม บทบาทสมมติ กรณี ตวอย่าง สถานการณ์จาลอง และกลุ่มย่อย ้ ั ซึ่ งแต่ละวิธีจะมีการดาเนินการเฉพาะของแต่ละวิธี ฉะนั้นในการที่จะเลือกให้เทคนิคหรื อวิธีการใด นั้นจึงต้องคานึงถึงหลักการของแต่ละแบบตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ความเหมาะสมในทุกด้าน รวมทั้งคานึงถึงวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของกิจกรรมกลุ่มในแต่ละครั้งด้วย งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับกิจกรรมกลุ่ม 1. งานวิจัยในประเทศ นรารัตน์ กิจเจริ ญ ( 2547) ได้ศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการรับรู ้ความสามารถใน การแก้ปัญหาด้านการเรี ยนของนักศึกษาชั้นปี ที่ 3 วิทยาลัยมิชชัน มวกเหล็ก พบว่า หลังใช้ ่ โปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม ทาให้นกศึกษาแก้ปัญหาด้านการเรี ยนได้ดีข้ ึน เพราะกิจกรรมกลุ่มเป็ น ั วิธีการที่ดีในการนาไปพัฒนาบุคคลและกลุ่ม เพราะเป็ นการให้ประสบการณ์ตรง เรี ยนรู้โดยการ ปฏิบติปฏิบติ ช่วยให้ผเู ้ ข้าร่ วมกลุ่มมีความซาบซึ้ งใจ และพอใจที่จะเปลี่ยนแปลงและปรับปรุ งตน ั ั ภณิ ตา เจริ ญสุ ข (2549) ได้ศึกษาเรื่ องการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนามนุษยสัมพันธ์ของ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาเผ่าม้ง พบว่า หลังเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม นักเรี ยนมีคะแนนมนุษยสัมพันธ์
  • 14. ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านเข้าใจและยอมรับตนเอง ด้านเข้าใจและยอมรับผูอื่น ด้านการติดต่อสื่ อสาร ้ ระหว่างบุคคล ด้านการแสดงความซาบซึ้ งและขอบคุณ และด้านการเคารพในสิ ทธิและความเป็ น ตัวของตัวเองของบุคคล สู งกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั แคทลียา แสนนางชน (2549) ได้ศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อความรับผิดชอบด้าน การทางานที่เกี่ยวข้อง กับการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนนาหลวง เขตทุ่งครุ กรุ งเทพมหานคร ผลการวิจยพบว่า นักเรี ยนมีความรับผิดชอบด้านการทางานที่เกี่ยวข้องกับการ ั เรี ยนมากขึ้นหลังจากเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรี ยนมีความ ั รับผิดชอบด้านการทางานที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนมากขึ้นหลังจากไม่ได้เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มมีความรับผิดชอบด้านการทางาน ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนมากกว่านักเรี ยนที่ไม่ได้เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ ั ระดับ .01 ศุภร บุตรสุ วรรณ (2550) ได้ศึกษาเรื่ องผลการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 พบว่า นักเรี ยนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกัน โดยนักเรี ยนกลุ่มทดลองมีคะแนนสู งกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรี ยนที่เข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม แบบกลุ่มเปิ ด ั และกลุ่มปิ ด มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกัน โดยนักเรี ยนกลุ่มปิ ดมีคะแนนสู งกว่า นักเรี ยนกลุ่มเปิ ด อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ั จิรุตถ์ ภู่เจริ ญ (2551) ได้ศึกษาผลการใช้กิจกรรมกลุ่มที่ส่งผลต่ออัตมโนทัศน์ของ นักศึกษาที่มีความบกพร่ องทางการได้ยนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่า นักศึกษาที่มีความบกพร่ อง ิ ทาการได้ยนเมื่อทดลองใช้กิจกรรมกลุ่มแล้วส่ งผลอัตมโนทัศน์ส่วนใหญ่อยูในระดับมาก ได้แก่ ิ ่ ด้านลักษณะพฤติกรรม ด้านสติปัญญาของนักศึกษา ด้านรู ปร่ างและคุณลักษณะ ด้านความสุ ขและ ความพึงพอใจ สาหรับด้านอัตมโนทัศน์ดานความวิตกกังวล และลักษะความเป็ นคนน่านิยม ้ มีระดับอยูในระดับปานกลาง และนักศึกษาที่มีความบกพร่ องทาการได้ยน หลังจากทากิจกรรมกลุ่ม ่ ิ แล้ว มีอตมโนทัศน์มากกว่าก่อนการทากิจกรรมกลุ่ม อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ั ั พระจีรศักดิ์ บุญฤทธ์ (2554) ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 ที่มีต่อ พฤติกรรมความรับผิดชอบในการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิจยพบว่า ได้ ั โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน และหลังการ เข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน นักเรี ยนมีความรับผิดชอบในการเรี ยนมากกว่าก่อนเข้าร่ วมโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มด้วยหลักอิทธิ บาท 4 เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบในการเรี ยน อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั
  • 15. 2. งานวิจัยต่ างประเทศ เคอร์ติส (Curtis, 2000) ได้สารวจกิจกรรมการแนะแนวระดับมัธยมศึกษา โดยมี เป้ าหมายเพื่อพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาอัตมโนทัศน์ของนักเรี ยน โดยแบ่ง นักเรี ยนเป็ น 3 กลุ่ม เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่มสัปดาห์ละ 1 ครั้งรวม 6 ครั้ง พบว่า นักเรี ยนมีทกษะ ั ความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มมากขึ้นและมีอตมโนทัศน์ดีข้ ึน ั แบรนนิแกน (Brannigan, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่ม กับหลักทาง ั จิตวิทยาการศึกษา เป็ นรู ปแบบในการพัฒนาความสามารถทางด้านวิชาการ ที่ Queensbury Middle School ซึ่ งวัยรุ่ นตอนกลางอายุระหว่าง 10 – 15 ปี เป็ นช่วงวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน พัฒนาการต่าง ๆ มักคิดด้านลบกับตนเอง ซึ่ งส่ งผลให้เกิดความเครี ยดและขาดความมันใจในตนเอง่ รวมถึงการเรี ยนในระดับนี้ ตองสามารถอธิ บายเกี่ยวกับการพัฒนาทางด้านวิชาการ เด็กวัยนี้จะถูก ้ คาดหวังและเกิดแรงกดดันทางสังคมในเรื่ องการเรี ยน การออกแบบการวิจยครั้งนี้ส่งผลให้นกเรี ยน ั ั ั ได้รู้การใช้ทกษะการสื่ อสาร ทาอย่างไรจึงจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบครู และเพื่อน ๆ การบริ หาร ั เวลาในการทาการบ้าน การสนับสนุนจากพ่อแม่ ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้จะกระตุนให้เด็กลดความกลัว ้ มีความภาคภูมิใจในตนเอง และสามารถเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขพร้อมทั้งพัฒนาความสามารถด้าน วิชาการให้สูงยิงขึ้น ่ โจนส์ (Jones, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการพัฒนาเด็กหญิง ั วัยรุ่ นตอนต้นที่ Nancy Khattab Victory Elementary School ในเรื่ องการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ ทักษะการอยูในสังคม การพัฒนานิสัย บทบาทการวางตัวของวัยรุ่ น การเห็นคุณค่าในตนเองการ ่ มองตนเองในแง่บวกในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น พบว่า กลุ่มสามารถพัฒนาใน เรื่ องต่าง ๆ ได้ดี เนื่องจากกลุ่มทาให้เกิดการพัฒนาทักษะด้านการสื่ อสาร ทาให้เกิดความสัมพันธ์ใน หมู่เพื่อน และมีประสิ ทธิ ภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่ นในอนาคต แฮมม์ (Hamm, 2007) ได้ทาการวิจยโดยการใช้กิจกรรมกลุ่ม ในการพัฒนาทักษะ ั ความสัมพันธ์ในหมู่วยรุ่ นตอนต้นที่ Middle School โดยที่ความสาคัญของการเข้ากลุ่มเพื่อน ั จะเกิดโอกาสที่ดีในการทางานกลุ่มให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เมื่อกลุ่มเกิดความไว้วางใจ การสร้างบรรทัดฐานในกลุ่ม ความรู ้สึกที่เกิดจะมีคุณค่าและเกิดการรับฟังเหตุผลซึ่ งกันและกันมาก ขึ้น และยังพบว่าการเข้ากลุ่มทาให้เกิดศักยภาพในการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล ่ ซึ่ งจะทาให้เข้าใจบุคคลที่อยูรอบข้างมากขึ้นโดยลดความขัดแย้งลง