SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
หน่ วยที่ 11 การเขียนเค้ าโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
             (การวางแผนการวิจัยในชันเรี ยน)
                                     ้
                                              การเขี ย น เ ค้ า โ ค รง ก า รวิ จั ย ( เพื่ อพั ฒ น า
                                     การเรี ยนรู้ ) คือ การวางแผนการวิจยว่าจะวิจยเรื่ องอะไร
                                                                            ั          ั
                                     จะดําเนินการในการวิจยอย่างไร จนกระทังได้ ผลวิจยและ
                                                              ั                    ่           ั
                                     จัดทํารายงานวิจยได้ การเขียนเค้ าโครงการวิจย จะทําให้
                                                         ั                               ั
                                     มองเห็ น ภาพของงานตัง แต่เ ริ่ ม ต้ น จนบรรลุเ ป าหมาย
                                                                ้                           ้
                                     สุดท้ ายที่ชดเจนมีหลักการใหญ่ๆ ที่สําคัญ คือ
                                                  ั


หลักการใหญ่ ๆ ดังแผนภูมิข้างล่าง

    กําหนด                                 จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
                     สร้างนวัตกรรม                                        วัดและประเมินผล
    ปั ญหา                                 โดยใช้นวัตกรรม

1. การกําหนดปั ญหาความจําเป็ น ความต้ องการในการปรับปรุ งพัฒนา
        ครูผ้ ทําวิจยจะต้ องวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนของ
              ู     ั
ตนเองและต้ องวิเคราะห์ ให้ ทราบสาเหตุแห่ งปั ญหานัน มีสาเหตุใดที่เป็ นสาเหตุท่ สาคัญ
                                                           ้                        ี ํ
จะต้ องได้ รับการแก้ ไข เพื่อไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อผู้เรี ยนในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ใน
แนวทางที่ไม่พงประสงค์
                ึ

2. การสร้ างนวัตกรรมในการแก้ ปัญหา/พัฒนา
      ครูผ้ วิจยเลือกและสร้ างเครื่ องมือ (นวัตกรรม) ในการแก้ ปัญหา/พัฒนา
            ู ั

3. การจัดกิจกรรมการแก้ ปัญหา/พัฒนา
       ครูผ้ วิจยนํานวัตกรรมที่สร้ างขึ ้นไปใช้ แก้ ปัญหา/พัฒนาตามแผนที่กําหนดไว้
             ู ั

4. การวัดและประเมินผล
       ครูผ้ วิจยวัดและประเมินผลโดยใช้ เครื่ องมือวัด/รวบรวมข้ อมูลที่สอดคล้ องกับ
             ู ั
150




    การเข้ าเค้ าโครงการวิจยในชันเรี ยน
                           ั      ้
    เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้มีหวข้ อและ
                             ั
    รายละเอียดที่สําคัญอะไรบ้ างครับ




                                          หัวข้ อของเค้ าโครงการวิจยมีดงนี ้
                                                                   ั ั
                                          ครับ




1. ชื่อเรื่ องการวิจย
                    ั                     6. วิธีการดําเนินการวิจย ั
2. ความสําคัญของปั ญหา                       6.1 วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้
   (หลักการและเหตุผล)                        6.2 ผู้เรี ยนที่มีปัญหา/ต้ องพัฒนาขันไหน
                                                                                 ้
3. วัตถุประสงค์ของการวิจย ั                        จํานวนเท่าไหร่
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ                6.3 เครื่ องมือและการรวบรวมข้ อมูล
5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ในการ           6.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการนําเสนอ
   แก้ ปัญหา/พัฒนา                                 ข้ อมูล
                                          7. ระยะเวลาในการดําเนินการวิจย     ั
                                          8. ผู้รับผิดชอบ
151



                                                   ตัวอย่ าง
                                                   1. การพั ฒ นาทั ก ษะการวาดภาพสั ต ว์
                                                       ของนั ก เรี ย นชั น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2
                                                                           ้
1. ชื่อเรื่องการวิจัย
                                                       โดยใช้ แบบฝึ กทั ก ษะการวาดภาพ
            ชื่ อเรื่ องการวิจัยเพื่อพัฒนาการ
                                                       สัตว์
เรี ยนรู้สวนใหญ่จะบอกถึง
          ่                                        2. ผลการใช้ แบบฝึ กทักษะภาษาไทยสระ
      1. คุ ณ ลัก ษณะของสิ่ ง ที่ ต้ องการ             เปลี่ยนและสระลดรูป เพื่อพัฒนาการ
ศึกษา (ตัวแปร) เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการ                   อ่ า น แ ล ะ เ ขี ย น สํ า ห รั บ ชั ้ น
เรี ย นความสามารถในการอ่ า น ทัก ษะ                    ประถมศึกษาปี ที่ 1
การแก้ โจทย์ปัญหา ฯลฯ                              3. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
      2. ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง คื อ ผู้ เ รี ย น       นั ก เรี ย นชั น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 วิ ช า
                                                                      ้
กลุมเปาหมายที่ผ้ วิจยต้ องการศึกษา
     ่ ้                 ู ั                           ว43101 วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม โดย
      3. นวัตกรรม คือ เทคนิค วิธีการ                   ใช้ วิธีสอนแบบบูรณาการ
วิธีสอน สื่อ ฯลฯ ที่ผ้ ูวิจัยสร้ างขึ ้นมาเพื่อ    4. การพัฒนาการเคลื่อนไหวร่ างกายโดย
มาใช้ ในการพัฒนา/แก้ ปัญหา                             ใช้ เพลงและเกม
                                                   5. การใช้ กิจกรรมคิดเลขเร็ วเพื่อพัฒนา
                                                       ทักษะการคิดคํานวณของนักเรี ยน
152



2. ความสําคัญของปั ญหา                                กล่าวถึงสภาพคุณภาพการเรี ยนการสอนที่พง                   ึ
   (หลักการและเหตุผล)                                 ปรารถนา หรื อควรจะเป็ น โดยอาจกล่าวถึง
    - ความนํา                                         แผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ จุ ด มุ่ ง หมายของ
    - สภาพปั ญหาและชี ้ประเด็น                        หลักสูตร นโยบายการจัดการศึกษาของ สพฐ.
        สาเหตุของปั ญหาให้ ชดเจน
                            ั                         ตลอดจนผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง ตัวชี ้วัดชันปี        ้
    - ความจําเป็ นในการแก้ ปัญหา/                     ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ที่รับผิดชอบ เหตุผล
        พัฒนา                                         ที่นําเสนอควรเป็ นเหตุผลที่ นําไปสู่จุดที่ เป็ น
                                                      ปั ญ ห า ที่ จ ะ ทํ า วิ จั ย แ ล ะ ช่ ว ย ชี ้ใ ห้ เ ห็ น
                                                      ความสําคัญของสิ่งที่จะวิจยและควรมีข้อมูล
                                                                                       ั


                                                      ตัวอย่ าง
3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
                                                      1. เพื่ อ ประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น
        ผู้วิ จัย ต้ อ งการศึก ษาอะไร การ
                                                          ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ
เขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยต้ องเขียน
                                ั
                                                          ชั น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โดยใช้ บทบาท
                                                             ้
ให้ สอดคล้ องกับปั ญหาวิจย   ั
                                                          สมมุติ
                                                      2. ศึกษาเจตคติของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้
                                                          บทบาทสมมติ
4. ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ
                        ี                             ตัวอย่ าง
            ผู้วิ จัย ต้ อ งตอบคํ า ถามให้ ไ ด้ ว่า   1. เพื่อเป็ นแนวทางให้ ครู ได้ รูปแบบและวิธี
เมื่ อ ทํ า วิ จั ย เสร็ จแล้ วเราจะนํ า ไปใช้            สอนที่มีประสิทธิภาพมาช่วย
ประโยชน์โดยตรงได้ อย่างไรบ้ าง ซึงต้ อง    ่          2. เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งแก้ ไขวิธี
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม เ ป็ น ม า แ ล ะ              สอนสาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ในระดับ
ความสําคัญของปั ญหา และให้ กล่าวถึง                       มัธ ยมศึ ก ษา เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการจั ด
ประโยชน์ที่เป็ นผลตามมาด้ วย                              กิจกรรมการเรี ยนการสอน
153



5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ในการ             1. การเสนอแนวคิดและเนื ้อหาต้ องมีความ
แก้ ปัญหา/พัฒนา                                       ต่อเนื่องสอดคล้ องกับคุณลักษณะที่ต้อง
   การศึกษาแนวคิด หลักการที่นํามาใช้                  ศึกษา
ในการแก้ ปัญหา/พัฒนา มีความจําเป็ น            2. เขี ย นโดยการวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์
ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ต่ อ ไ ป ใ น          ข้ อความโดยคํานึงถึงความสัมพันธ์ อย่าง
รายละเอียดของการสร้ างเครื่ องมือที่ ใช้              มีเหตุผล
ในการแก้ ปั ญหาโดยเฉพาะแนวคิ ด /               3. สรุ ปสาระสําคัญในการนําเสนอเพื่อการ
หลักการที่ สําคัญๆ ที่ จะต้ องนํามาใช้ ใน             แก้ ปัญหา/พัฒนา
การปรั บ วิ ธี ก าร/สื่ อ หรื อ นวัต กรรมให้   นวัตกรรม
สอดคล้ องกับสภาพปั ญหา                                - วิธีสอน
                                                      - เทคนิคการสอน
                                                      - สื่อ
                                                      - อุปกรณ์
                                               กลุมตัวอย่าง
                                                  ่
                                                      - ผู้เรี ยนกลุมสาระการเรี ยนรู้ .............
                                                                        ่
                                                           ชัน............... ปี การศึกษา ..........
                                                             ้
6. วิธีดาเนินการวิจัย
         ํ
    6.1 วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้ ใน                  โรงเรี ยน.............
การแก้ ปัญหา/พัฒนา                                    - จํานวน……….คน
    6.2 ผู้เรี ยนที่ เป็ นปั ญหา/ต้ องการ      เครื่ องมือที่ใช้ ในการรวบรวมข้ อมูล
พัฒนาขันใด จํานวนเท่าใด
           ้                                          - แบทดสอบ
    6.3 เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ในการรวบรวม            - แบบสังเกต
ข้ อมูล                                               - แบบสอบถาม
    6.4 การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล และการ                - แบบสัมภาษณ์
นําเสนอข้ อมูล                                 การวิเคราะห์ข้อมูล
                                                      - สถิตที่ใช้
                                                                ิ
                                                      - แนวทางในการวิเคราะห์
                                                      - เกณฑ์ในการประเมิน
                                               การนําเสนอข้ อมูล
                                                      - ตาราง
                                                      - กราฟ
                                                      - ข้ อความ
154




                                                     เดือน ก ส ก ต พ ธ ม ก มี เม   พ   มิ
7. ระยะเวลาในการ
                              รายการ                       ค ค ย ค ย ค ค พ ค ย     ค   ย
ดําเนินการวิจัย                   กิจกรรม
        นําเสนอรายการของ      1. ปรับแผนการเรี ยนรู้
                              2. พัฒนาแบบฝึ กทักษะ
กิจกรรมและช่วงเวลาที่         3. สร้ างเครื่ องมือวัด
ดําเนินการ                    4. แก้ ปัญหา/พัฒนา
                              5. รวบรวมข้ อมูล/
                              วิเคราะห์ข้อมูล
                              6. สรุปแบะเขียนรายงาน




8. ผู้ผิดชอบ
         ระบุชื่อครูผ้ วิจย
                       ู ั


                                                            ชัดเจนดีครับ
                                                             มันใจทําได้
                                                               ่
155



                                                         ขอดูตวอย่าง เค้ าโครงการวิจย
                                                               ั                    ั
                                                         สันๆ พอเป็ นแนวทางด้ วยครับ
                                                           ้




เค้ าโครงวิจย 1
              ั
เรื่อง การศึกษาผลพัฒนาการเรี ยนรหัสวิชา ง 30108 ช่างซ่อมเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ านของนักเรี ยน
                                                                        ้
ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน
   ้                             ุ
ชื่อผู้วิจัย นายเพชรนํ ้า นิเวศวรทานต์
ตําแหน่ ง ครูชํานาญการ
สภาพและความเป็ นมาของปั ญหา
           หลักสูตรการศึกษาขันพื ้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็ นหลักสูตรแกนกลางของประเทศที่มี
                               ้
จุดประสงค์ที่จะพัฒนาคุณภาพของผู้เรี ยนให้ เป็ นคนดี มี ปั ญญา มีคณภาพชีวิตที่ดี มีขีด
                                                                  ุ
ความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิง การเพิ่มศักยภาพของผู้เรี ยนให้ สงขึ ้น สามารถ
                                              ่                                ู
ดํารงชีวิตอย่างมีความสุขได้ บนพื ้นของความเป็ นไทยและความเป็ นสากล รวมทังมีความสามารถ
                                                                             ้
ในการประกอบอาชีพหรื อศึกษาต่อตามความถนัดและความสามารถของแต่ละบุคคล
           จากมาตรา 22 และ 23 แห่งพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 การจัดการ
                                                     ิ
ศึกษาต้ องยึดหลักว่า ผู้เรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสําคัญที่สด กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
                  ุ
และเต็มตามศักยภาพ ประกอบกับต้ องมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและ ดํารงชีวิต
อย่างมีความสุข และประกอบกับมาตรา 30 ให้ สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มี
ประสิทธิภาพ รวมทังการส่งเสริ มให้ ผ้ สอนสามารถวิจยเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรี ยน
                     ้                ู            ั
ในแต่ละระดับการศึกษา และจากการศึกษาผลการสอนนักเรี ยน พบว่า นักเรี ยนยังมีปัญหาใน
156




การเรี ยนการสอน เพื่อใช้ ในการสอนเรื่ อง การซ่อมเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน
                                                                 ้
วัตถุประสงค์
          1. เพื่อสร้ างและพัฒนาชุดสือเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชัน
                                           ่                                         ้
มัธยมศึกษาปี ที่ 3
          2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยน
                                                                          ุ
การสอน รหัสวิชา ง 30108
          3. เพื่อศึกษาเจตคติของที่มีตอชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชัน
                                             ่                                               ้
มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ
                ี
          1. ได้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                  ุ                                                 ้
          2. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ ้น
วิธีดาเนินการวิจัย
        ํ
          กลุ่มที่ศึกษา
          เป็ นนักเรี ยน ชัน ม.3 /3 ที่ผ้ วิจยเป็ นผู้สอน
                           ้              ู ั
เครื่องมือที่ใช้ ในการวบรวมข้ อมูล
          1. สร้ างและพัฒนาชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษา
                                                                                  ้
ปี ที่ 3
          2. สร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน วิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                                                                            ้
          3. สร้ างแบบสอบถามเจตคติของนักเรี ยนต่อชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา
ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
              ้
การวิเคราะห์ ข้อมูล
          วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และค่าเบียงเบนมาตรฐาน และ t –test แบบ
                                                        ่
Dependent
157




เค้ าโครงวิจย 2
              ั
เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นกเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2
                                                         ั       ้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวมาลี สมเสียง
ตําแหน่ ง ครูชํานาญการ
สภาพและความเป็ นมาของปั ญหา
           จากการจัดการเรี ยนการสอนกลุมสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ขาด
                                             ่                               ้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และได้ สงผลกระทบต่อการพัฒนาให้ เด็ก คิดเป็ น ทําเป็ น
                                                  ่
แก้ ปัญหาเป็ น ปั ญหาดังกล่าว เป็ นปั ญหาที่กระทบถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนในวิชาตํ่ากว่าเกณฑ์
จึงได้ จดทําแบบฝึ กปฏิบติ เพื่อแก้ ปัญหาการขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน
         ั                    ั
และพัฒนาทักษะพื ้นฐานที่สาคัญและจําเป็ น
                                   ํ
วัตถุประสงค์ ของการวิจย         ั
                   1. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางด้ านทักษะทางวิทยาศาสตร์ ก่อนและหลังการใช้
แบบฝึ กของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2
                            ้
                   2. เพื่อศึกษาผลการใช้ แบบฝั กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน
ชันประถมศึกษาปี ที่ 2
   ้
ขอบเขตของการวิจัย
                  1. เนื ้อหาที่ทําวิจย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชันประถมศึกษาปี ที่ 2
                                      ั                                    ้
จํานวน 7 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการคํานวณ ทักษะการจําแนก
ประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปคกับสเปสและสเปสกับเวลา ทักษะการจัด
กระทํา และสือความหมายข้ อมูล และทักษะการลงความคิดเห็นจากข้ อมูล
                ่
                  2. กลุมตัวอย่าง เป็ นนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2549 จํานวน
                          ่                         ้
14 คน
                  3. เวลาที่ใช้ ในการศึกษา 10 สัปดาห์ ตังแต่วนที่ 11 พฤศจิกายน – 17 มกราคม
                                                           ้ ั
2549
158



เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจย
                         ั
         1. แบบฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะของแบบฝึ ก เป็ นแบบฝึ กที่ให้
นักเรี ยนปฏิบตจริ ง จํานวน 7 ชุด ได้ แก่
               ัิ
            ชุดที่ 1 ทักษะการสังเกต
            ชุดที่ 2 ทักษะการวัด
            ชุดที่ 3 ทักษะการคํานวณ
            ชุดที่ 4 ทักษะการจําแนกประเภท
            ชุดที่ 5 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา
            ชุดที่ 6 ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายข้ อมูล
            ชุดที่ 7 ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้ อมูล
         2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางด้ านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ น
แบบทดสอบท่กําหนดสถานการณ์ให้ นกเรียนปฏิบตจริง และตอบคําถาม จํานวน 4 สถานการณ์
                                      ั       ัิ
และข้ อสอบแบบเลืกตอบ 10 ข้ อ ครอบคลุมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทง้ั 7 ทักษะ
วิธีดาเนินการ
     ํ
         1. ทดสอบก่อนใช้ แบบฝึ ก
         2. ปฏิบตกิจกรรมในแต่ละแบบฝึ ก บันทึกคะแนนจากการปฏิบตกิจกรรม แล้ วนําคะแนน
                   ัิ                                          ัิ
มาหาค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิการกระจาย (CV)
             ่
         3. ทดสอบหลังการใช้ แบบฝึ ก
         4. วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนน จากการทดสอบก่อนและหลังการใช้ แบบฝึ ก
159




ตัวอย่างเค้ าโครงการวิจย ั
ทังสอง คงช่วยให้ ได้ เห็น
  ้
ภาพชัดเจนยิ่งขึ ้นนะครับ




             ทดลองตอบคําถาม เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้ าใจในหน้ าต่อไป
160




   คําถาม

ข้ อที่ 35 คําชีแจง จงพิจารณาข้ อความที่กําหนดให้ ทางขวามือว่าข้ อใดมีความสัมพันธ์กบ
                ้                                                                  ั
                               ข้ อความทางซ้ ายมือ แล้ วนําตัวอักษรไปใส่หน้ าข้ อความที่มีความสัมพันธ์
                               และถูกต้ อง

..............1. ชื่อเรื่ อง                            A. ข้ อความที่ช่วยในการตัดสินว่าเป็ นงานวิจย
                                                                                                   ั
                                                           ที่สมควรทําหรื อไม่
..............2. ความเป็ นมาและความสําคัญ               B. ผู้เรี ยนที่จะศึกษา
                 ของปั ญหา                              C. ข้ อความที่เขียนในลักษณะสังเคราะห์
..............3. วัตถุประสงค์ของการวิจย ั               D. เครื่ องมือกํากับการดําเนินการวิจย
                                                                                            ั
..............4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ             E. ข้ อความที่แสดงถึงคุณค่าของการวิจย  ั
..............5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ใน           F. ข้ อความที่แสดงให้ เห็นถึงลักษณะของ
                 การแก้ ปัญหา/พัฒนา                        ตัวแปรที่จะศึกษา
..............6. วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้         H. การออกแบบการวิจย     ั
..............7. กลุมเปาหมาย
                     ่ ้                                I. เป็ นประโยคบอกเล่าและสอดคล้ องกับ
                                                           ปั ญหาการวิจย    ั
..............8. ระยะเวลา (ปฏิทิน)                      J. ทรัพยากรและการจัดการ
                                                        K. กรอบความคิดในการวิจย     ั
161




    เฉลย

F     1.
E     2.
I     3.
A     4.
C     5.
H     6.
B     7.
D     8.

           ________________________________________________________


                                             ขอแสดงความยินดีกบท่าน ที่มี
                                                                 ั
                                             ความรู้ความเข้ าใจ “การวิจย
                                                                       ั
                                             เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้”
162




“ท่านศึกษา การวิจยเพื่อพัฒนา
                     ั
การเรี ยนรู้ จบแล้ วครับ ขอให้ ทานหยุด
                                ่
พักสักครู่ ก่อนทําแบบทดสอบต่อไป ”

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Fon Edu Com-sci
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านInfluencer TH
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงyasotornrit
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์Nuttapol Time
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลง
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
 
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 

Similar to เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2krupornpana55
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2 (20)

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรnang_phy29
 

More from nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
 

เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2

  • 1. หน่ วยที่ 11 การเขียนเค้ าโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (การวางแผนการวิจัยในชันเรี ยน) ้ การเขี ย น เ ค้ า โ ค รง ก า รวิ จั ย ( เพื่ อพั ฒ น า การเรี ยนรู้ ) คือ การวางแผนการวิจยว่าจะวิจยเรื่ องอะไร ั ั จะดําเนินการในการวิจยอย่างไร จนกระทังได้ ผลวิจยและ ั ่ ั จัดทํารายงานวิจยได้ การเขียนเค้ าโครงการวิจย จะทําให้ ั ั มองเห็ น ภาพของงานตัง แต่เ ริ่ ม ต้ น จนบรรลุเ ป าหมาย ้ ้ สุดท้ ายที่ชดเจนมีหลักการใหญ่ๆ ที่สําคัญ คือ ั หลักการใหญ่ ๆ ดังแผนภูมิข้างล่าง กําหนด จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สร้างนวัตกรรม วัดและประเมินผล ปั ญหา โดยใช้นวัตกรรม 1. การกําหนดปั ญหาความจําเป็ น ความต้ องการในการปรับปรุ งพัฒนา ครูผ้ ทําวิจยจะต้ องวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนของ ู ั ตนเองและต้ องวิเคราะห์ ให้ ทราบสาเหตุแห่ งปั ญหานัน มีสาเหตุใดที่เป็ นสาเหตุท่ สาคัญ ้ ี ํ จะต้ องได้ รับการแก้ ไข เพื่อไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อผู้เรี ยนในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ใน แนวทางที่ไม่พงประสงค์ ึ 2. การสร้ างนวัตกรรมในการแก้ ปัญหา/พัฒนา ครูผ้ วิจยเลือกและสร้ างเครื่ องมือ (นวัตกรรม) ในการแก้ ปัญหา/พัฒนา ู ั 3. การจัดกิจกรรมการแก้ ปัญหา/พัฒนา ครูผ้ วิจยนํานวัตกรรมที่สร้ างขึ ้นไปใช้ แก้ ปัญหา/พัฒนาตามแผนที่กําหนดไว้ ู ั 4. การวัดและประเมินผล ครูผ้ วิจยวัดและประเมินผลโดยใช้ เครื่ องมือวัด/รวบรวมข้ อมูลที่สอดคล้ องกับ ู ั
  • 2. 150 การเข้ าเค้ าโครงการวิจยในชันเรี ยน ั ้ เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้มีหวข้ อและ ั รายละเอียดที่สําคัญอะไรบ้ างครับ หัวข้ อของเค้ าโครงการวิจยมีดงนี ้ ั ั ครับ 1. ชื่อเรื่ องการวิจย ั 6. วิธีการดําเนินการวิจย ั 2. ความสําคัญของปั ญหา 6.1 วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้ (หลักการและเหตุผล) 6.2 ผู้เรี ยนที่มีปัญหา/ต้ องพัฒนาขันไหน ้ 3. วัตถุประสงค์ของการวิจย ั จํานวนเท่าไหร่ 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ 6.3 เครื่ องมือและการรวบรวมข้ อมูล 5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ในการ 6.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการนําเสนอ แก้ ปัญหา/พัฒนา ข้ อมูล 7. ระยะเวลาในการดําเนินการวิจย ั 8. ผู้รับผิดชอบ
  • 3. 151 ตัวอย่ าง 1. การพั ฒ นาทั ก ษะการวาดภาพสั ต ว์ ของนั ก เรี ย นชั น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ้ 1. ชื่อเรื่องการวิจัย โดยใช้ แบบฝึ กทั ก ษะการวาดภาพ ชื่ อเรื่ องการวิจัยเพื่อพัฒนาการ สัตว์ เรี ยนรู้สวนใหญ่จะบอกถึง ่ 2. ผลการใช้ แบบฝึ กทักษะภาษาไทยสระ 1. คุ ณ ลัก ษณะของสิ่ ง ที่ ต้ องการ เปลี่ยนและสระลดรูป เพื่อพัฒนาการ ศึกษา (ตัวแปร) เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการ อ่ า น แ ล ะ เ ขี ย น สํ า ห รั บ ชั ้ น เรี ย นความสามารถในการอ่ า น ทัก ษะ ประถมศึกษาปี ที่ 1 การแก้ โจทย์ปัญหา ฯลฯ 3. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ 2. ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง คื อ ผู้ เ รี ย น นั ก เรี ย นชั น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 วิ ช า ้ กลุมเปาหมายที่ผ้ วิจยต้ องการศึกษา ่ ้ ู ั ว43101 วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม โดย 3. นวัตกรรม คือ เทคนิค วิธีการ ใช้ วิธีสอนแบบบูรณาการ วิธีสอน สื่อ ฯลฯ ที่ผ้ ูวิจัยสร้ างขึ ้นมาเพื่อ 4. การพัฒนาการเคลื่อนไหวร่ างกายโดย มาใช้ ในการพัฒนา/แก้ ปัญหา ใช้ เพลงและเกม 5. การใช้ กิจกรรมคิดเลขเร็ วเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดคํานวณของนักเรี ยน
  • 4. 152 2. ความสําคัญของปั ญหา กล่าวถึงสภาพคุณภาพการเรี ยนการสอนที่พง ึ (หลักการและเหตุผล) ปรารถนา หรื อควรจะเป็ น โดยอาจกล่าวถึง - ความนํา แผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ จุ ด มุ่ ง หมายของ - สภาพปั ญหาและชี ้ประเด็น หลักสูตร นโยบายการจัดการศึกษาของ สพฐ. สาเหตุของปั ญหาให้ ชดเจน ั ตลอดจนผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง ตัวชี ้วัดชันปี ้ - ความจําเป็ นในการแก้ ปัญหา/ ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ที่รับผิดชอบ เหตุผล พัฒนา ที่นําเสนอควรเป็ นเหตุผลที่ นําไปสู่จุดที่ เป็ น ปั ญ ห า ที่ จ ะ ทํ า วิ จั ย แ ล ะ ช่ ว ย ชี ้ใ ห้ เ ห็ น ความสําคัญของสิ่งที่จะวิจยและควรมีข้อมูล ั ตัวอย่ าง 3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่ อ ประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ผู้วิ จัย ต้ อ งการศึก ษาอะไร การ ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยต้ องเขียน ั ชั น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โดยใช้ บทบาท ้ ให้ สอดคล้ องกับปั ญหาวิจย ั สมมุติ 2. ศึกษาเจตคติของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ บทบาทสมมติ 4. ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ ี ตัวอย่ าง ผู้วิ จัย ต้ อ งตอบคํ า ถามให้ ไ ด้ ว่า 1. เพื่อเป็ นแนวทางให้ ครู ได้ รูปแบบและวิธี เมื่ อ ทํ า วิ จั ย เสร็ จแล้ วเราจะนํ า ไปใช้ สอนที่มีประสิทธิภาพมาช่วย ประโยชน์โดยตรงได้ อย่างไรบ้ าง ซึงต้ อง ่ 2. เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งแก้ ไขวิธี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม เ ป็ น ม า แ ล ะ สอนสาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ในระดับ ความสําคัญของปั ญหา และให้ กล่าวถึง มัธ ยมศึ ก ษา เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการจั ด ประโยชน์ที่เป็ นผลตามมาด้ วย กิจกรรมการเรี ยนการสอน
  • 5. 153 5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ในการ 1. การเสนอแนวคิดและเนื ้อหาต้ องมีความ แก้ ปัญหา/พัฒนา ต่อเนื่องสอดคล้ องกับคุณลักษณะที่ต้อง การศึกษาแนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ศึกษา ในการแก้ ปัญหา/พัฒนา มีความจําเป็ น 2. เขี ย นโดยการวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ต่ อ ไ ป ใ น ข้ อความโดยคํานึงถึงความสัมพันธ์ อย่าง รายละเอียดของการสร้ างเครื่ องมือที่ ใช้ มีเหตุผล ในการแก้ ปั ญหาโดยเฉพาะแนวคิ ด / 3. สรุ ปสาระสําคัญในการนําเสนอเพื่อการ หลักการที่ สําคัญๆ ที่ จะต้ องนํามาใช้ ใน แก้ ปัญหา/พัฒนา การปรั บ วิ ธี ก าร/สื่ อ หรื อ นวัต กรรมให้ นวัตกรรม สอดคล้ องกับสภาพปั ญหา - วิธีสอน - เทคนิคการสอน - สื่อ - อุปกรณ์ กลุมตัวอย่าง ่ - ผู้เรี ยนกลุมสาระการเรี ยนรู้ ............. ่ ชัน............... ปี การศึกษา .......... ้ 6. วิธีดาเนินการวิจัย ํ 6.1 วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้ ใน โรงเรี ยน............. การแก้ ปัญหา/พัฒนา - จํานวน……….คน 6.2 ผู้เรี ยนที่ เป็ นปั ญหา/ต้ องการ เครื่ องมือที่ใช้ ในการรวบรวมข้ อมูล พัฒนาขันใด จํานวนเท่าใด ้ - แบทดสอบ 6.3 เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ในการรวบรวม - แบบสังเกต ข้ อมูล - แบบสอบถาม 6.4 การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล และการ - แบบสัมภาษณ์ นําเสนอข้ อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล - สถิตที่ใช้ ิ - แนวทางในการวิเคราะห์ - เกณฑ์ในการประเมิน การนําเสนอข้ อมูล - ตาราง - กราฟ - ข้ อความ
  • 6. 154 เดือน ก ส ก ต พ ธ ม ก มี เม พ มิ 7. ระยะเวลาในการ รายการ ค ค ย ค ย ค ค พ ค ย ค ย ดําเนินการวิจัย กิจกรรม นําเสนอรายการของ 1. ปรับแผนการเรี ยนรู้ 2. พัฒนาแบบฝึ กทักษะ กิจกรรมและช่วงเวลาที่ 3. สร้ างเครื่ องมือวัด ดําเนินการ 4. แก้ ปัญหา/พัฒนา 5. รวบรวมข้ อมูล/ วิเคราะห์ข้อมูล 6. สรุปแบะเขียนรายงาน 8. ผู้ผิดชอบ ระบุชื่อครูผ้ วิจย ู ั ชัดเจนดีครับ มันใจทําได้ ่
  • 7. 155 ขอดูตวอย่าง เค้ าโครงการวิจย ั ั สันๆ พอเป็ นแนวทางด้ วยครับ ้ เค้ าโครงวิจย 1 ั เรื่อง การศึกษาผลพัฒนาการเรี ยนรหัสวิชา ง 30108 ช่างซ่อมเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ านของนักเรี ยน ้ ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน ้ ุ ชื่อผู้วิจัย นายเพชรนํ ้า นิเวศวรทานต์ ตําแหน่ ง ครูชํานาญการ สภาพและความเป็ นมาของปั ญหา หลักสูตรการศึกษาขันพื ้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็ นหลักสูตรแกนกลางของประเทศที่มี ้ จุดประสงค์ที่จะพัฒนาคุณภาพของผู้เรี ยนให้ เป็ นคนดี มี ปั ญญา มีคณภาพชีวิตที่ดี มีขีด ุ ความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิง การเพิ่มศักยภาพของผู้เรี ยนให้ สงขึ ้น สามารถ ่ ู ดํารงชีวิตอย่างมีความสุขได้ บนพื ้นของความเป็ นไทยและความเป็ นสากล รวมทังมีความสามารถ ้ ในการประกอบอาชีพหรื อศึกษาต่อตามความถนัดและความสามารถของแต่ละบุคคล จากมาตรา 22 และ 23 แห่งพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 การจัดการ ิ ศึกษาต้ องยึดหลักว่า ผู้เรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี ความสําคัญที่สด กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ ุ และเต็มตามศักยภาพ ประกอบกับต้ องมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและ ดํารงชีวิต อย่างมีความสุข และประกอบกับมาตรา 30 ให้ สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ รวมทังการส่งเสริ มให้ ผ้ สอนสามารถวิจยเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรี ยน ้ ู ั ในแต่ละระดับการศึกษา และจากการศึกษาผลการสอนนักเรี ยน พบว่า นักเรี ยนยังมีปัญหาใน
  • 8. 156 การเรี ยนการสอน เพื่อใช้ ในการสอนเรื่ อง การซ่อมเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน ้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้ างและพัฒนาชุดสือเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชัน ่ ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยน ุ การสอน รหัสวิชา ง 30108 3. เพื่อศึกษาเจตคติของที่มีตอชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชัน ่ ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ ี 1. ได้ ชดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ุ ้ 2. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ ้น วิธีดาเนินการวิจัย ํ กลุ่มที่ศึกษา เป็ นนักเรี ยน ชัน ม.3 /3 ที่ผ้ วิจยเป็ นผู้สอน ้ ู ั เครื่องมือที่ใช้ ในการวบรวมข้ อมูล 1. สร้ างและพัฒนาชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษา ้ ปี ที่ 3 2. สร้ างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน วิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ้ 3. สร้ างแบบสอบถามเจตคติของนักเรี ยนต่อชุดสื่อเอกสารการเรี ยนการสอน รหัสวิชา ง 30108 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ้ การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และค่าเบียงเบนมาตรฐาน และ t –test แบบ ่ Dependent
  • 9. 157 เค้ าโครงวิจย 2 ั เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นกเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ั ้ ชื่อผู้วิจัย นางสาวมาลี สมเสียง ตําแหน่ ง ครูชํานาญการ สภาพและความเป็ นมาของปั ญหา จากการจัดการเรี ยนการสอนกลุมสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ขาด ่ ้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และได้ สงผลกระทบต่อการพัฒนาให้ เด็ก คิดเป็ น ทําเป็ น ่ แก้ ปัญหาเป็ น ปั ญหาดังกล่าว เป็ นปั ญหาที่กระทบถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนในวิชาตํ่ากว่าเกณฑ์ จึงได้ จดทําแบบฝึ กปฏิบติ เพื่อแก้ ปัญหาการขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน ั ั และพัฒนาทักษะพื ้นฐานที่สาคัญและจําเป็ น ํ วัตถุประสงค์ ของการวิจย ั 1. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางด้ านทักษะทางวิทยาศาสตร์ ก่อนและหลังการใช้ แบบฝึ กของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ้ 2. เพื่อศึกษาผลการใช้ แบบฝั กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน ชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ้ ขอบเขตของการวิจัย 1. เนื ้อหาที่ทําวิจย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ั ้ จํานวน 7 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการคํานวณ ทักษะการจําแนก ประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปคกับสเปสและสเปสกับเวลา ทักษะการจัด กระทํา และสือความหมายข้ อมูล และทักษะการลงความคิดเห็นจากข้ อมูล ่ 2. กลุมตัวอย่าง เป็ นนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2549 จํานวน ่ ้ 14 คน 3. เวลาที่ใช้ ในการศึกษา 10 สัปดาห์ ตังแต่วนที่ 11 พฤศจิกายน – 17 มกราคม ้ ั 2549
  • 10. 158 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจย ั 1. แบบฝึ กทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะของแบบฝึ ก เป็ นแบบฝึ กที่ให้ นักเรี ยนปฏิบตจริ ง จํานวน 7 ชุด ได้ แก่ ัิ ชุดที่ 1 ทักษะการสังเกต ชุดที่ 2 ทักษะการวัด ชุดที่ 3 ทักษะการคํานวณ ชุดที่ 4 ทักษะการจําแนกประเภท ชุดที่ 5 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ชุดที่ 6 ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายข้ อมูล ชุดที่ 7 ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้ อมูล 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางด้ านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ น แบบทดสอบท่กําหนดสถานการณ์ให้ นกเรียนปฏิบตจริง และตอบคําถาม จํานวน 4 สถานการณ์ ั ัิ และข้ อสอบแบบเลืกตอบ 10 ข้ อ ครอบคลุมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทง้ั 7 ทักษะ วิธีดาเนินการ ํ 1. ทดสอบก่อนใช้ แบบฝึ ก 2. ปฏิบตกิจกรรมในแต่ละแบบฝึ ก บันทึกคะแนนจากการปฏิบตกิจกรรม แล้ วนําคะแนน ัิ ัิ มาหาค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิการกระจาย (CV) ่ 3. ทดสอบหลังการใช้ แบบฝึ ก 4. วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนน จากการทดสอบก่อนและหลังการใช้ แบบฝึ ก
  • 11. 159 ตัวอย่างเค้ าโครงการวิจย ั ทังสอง คงช่วยให้ ได้ เห็น ้ ภาพชัดเจนยิ่งขึ ้นนะครับ ทดลองตอบคําถาม เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้ าใจในหน้ าต่อไป
  • 12. 160 คําถาม ข้ อที่ 35 คําชีแจง จงพิจารณาข้ อความที่กําหนดให้ ทางขวามือว่าข้ อใดมีความสัมพันธ์กบ ้ ั ข้ อความทางซ้ ายมือ แล้ วนําตัวอักษรไปใส่หน้ าข้ อความที่มีความสัมพันธ์ และถูกต้ อง ..............1. ชื่อเรื่ อง A. ข้ อความที่ช่วยในการตัดสินว่าเป็ นงานวิจย ั ที่สมควรทําหรื อไม่ ..............2. ความเป็ นมาและความสําคัญ B. ผู้เรี ยนที่จะศึกษา ของปั ญหา C. ข้ อความที่เขียนในลักษณะสังเคราะห์ ..............3. วัตถุประสงค์ของการวิจย ั D. เครื่ องมือกํากับการดําเนินการวิจย ั ..............4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ E. ข้ อความที่แสดงถึงคุณค่าของการวิจย ั ..............5. แนวคิด หลักการที่นํามาใช้ ใน F. ข้ อความที่แสดงให้ เห็นถึงลักษณะของ การแก้ ปัญหา/พัฒนา ตัวแปรที่จะศึกษา ..............6. วิธีการ/กิจกรรม/นวัตกรรมที่ใช้ H. การออกแบบการวิจย ั ..............7. กลุมเปาหมาย ่ ้ I. เป็ นประโยคบอกเล่าและสอดคล้ องกับ ปั ญหาการวิจย ั ..............8. ระยะเวลา (ปฏิทิน) J. ทรัพยากรและการจัดการ K. กรอบความคิดในการวิจย ั
  • 13. 161 เฉลย F 1. E 2. I 3. A 4. C 5. H 6. B 7. D 8. ________________________________________________________ ขอแสดงความยินดีกบท่าน ที่มี ั ความรู้ความเข้ าใจ “การวิจย ั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้”
  • 14. 162 “ท่านศึกษา การวิจยเพื่อพัฒนา ั การเรี ยนรู้ จบแล้ วครับ ขอให้ ทานหยุด ่ พักสักครู่ ก่อนทําแบบทดสอบต่อไป ”