SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา   ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีในวิถี              สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ
                                                                                  ่
ศาสนา และวัฒนธรรม       ประชาธิปไตย                             ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: คนดีสังคมดี                    เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง
ที่ ๓
สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม
                 ่                                   ิ
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารง
                            ั
รักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
                                   ิ ่
๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
         การอยูร่วมกันในสังคม ถ้าทุกคนปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี สังคมนั้นจะสงบสุ ข มีความ
               ่                           ั
            ้                ั                                        ่
เจริ ญ แต่ถาคนในสังคมไม่ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี สังคมนั้นก็จะเกิดความวุนวายไม่สงบเรี ยบร้อย
ไม่เจริ ญก้าวหน้า
๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
          ั
      ๒.๑ ตัวชี้วด
                 ั
      ส ๒.๑ ม.๒/๒ เห็นคุณค่าการปฏิบติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ใน
                                       ั
ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
              ม.๒/๓ วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม
      ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้
          ๑.เข้าใจลักษณะของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี
                                   ั
          ๒.วิเคราะห์ประโยชน์ของการปฏิบติตนเป็ นพลเมื องดี
                                         ั
          ๓.เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี
                                 ั
๓. สาระการเรียนรู้
      ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
                                                                    ่
               ๑.เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และธารง
                              ั
รักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
                                    ิ ่
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
       ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
       ๔.๒ ความสามารถในการคิด
-              ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -              ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                   ิ
 -              ทักษะการคิดสังเคราะห์
        ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต   ิ
 -              กระบวนการปฏิบติ ั
 -              กระบวนการกลุ่ม
๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๑.มีวนย
              ิ ั
        ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้
        ๓.มุ่งมันในการทางาน
                  ่
๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน
        การจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ กลุ่ม
                                   ั
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นที่ ๑ ขั้นกระตุ้นสมอง
          ๑.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี โดยครู ใช้คาถาม
ดังนี้
          * นักเรี ยนคิดว่าตนเองเป็ นพลเมืองดีหรื อไม่
          * นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรเมื่อได้ประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี
          * การเป็ นพลเมืองดีมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคมหรื อไม่ อย่างไร
          สุ่ มเลือกนักเรี ยนเป็ นตัวแทนตอบคาถาม ๕-๖ คน หน้าชั้นเรี ยน
          นาภาพข่าวการทาความดีจากหนังสื อพิมพ์ วารสาร ๓-๔ เรื่ อง
          ให้ตวแทนนักเรี ยนแสดงความคิดเห็นต่อภาพข่าวที่นามาแสดง ภาพข่าวละ ๒-๔ คน
                ั

ขั้นที่ ๒ ขั้นท่องประสบการณ์
          ๒. แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๖ คน ระดมความคิดร่ วมกันในประเด็นคาถามว่า
“พลเมืองดีมีลกษณะอย่างไร” เขียนผลจากการระดมความคิดลงบนกระดาษ ครู เลือกสุ่ มตัวแทน
                ั
กลุ่ม ๒-๓ นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
          ๓. ให้สมาชิกกลุ่มร่ วมกันเสนอชื่อ คัดเลือก จัดทาประวัติและผลงานบุคคลที่กลุ่มมีมติ
ร่ วมกันว่า บุคคลนั้นเป็ นพลเมืองดี นาเสนอพร้อมให้ขอคิดเห็นของกลุ่มด้วยว่า ผลงานของบุคคล
                                                       ้
นั้นสร้างประโยชน์ให้กบตนเอง สังคม หรื อประเทศชาติอย่างไร นาผลงานของทุกกลุ่มไปแสดงที่
                               ั
ป้ ายนิเทศ
ขั้นที่ ๓ ขั้นสร้ างฐานความรู้ (ปลูกฝังปัญญา)
ชั่วโมงที่ ๒-๓
           ๔. ครู ปฐมนิเทศการใช้ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น
                                                                         ิ
พลเมืองดี และให้ตวแทนกลุ่มมารับชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น
                           ั                                                      ิ
พลเมืองดี ไปศึกษาและทากิจกรรมตามที่กาหนดไว้
           ๕. ขณะที่นกเรี ยนกาลังศึกษาชุดการสร้างความรู ้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น
                         ั                                                          ิ
พลเมืองดี ครู ทาหน้าที่ช่วยให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเองมากที่สุดเท่าที่ จะมากได้ ต้องอดทน
                                    ั                     ้
และปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง ไม่บอกคาตอบก่อน ควรช่วยเหลือแนะนา
                   ั
นักเรี ยนที่เรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตามความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้มาก
ที่สุด
ขั้นที่ ๔ สรุ ป- สู่ ใจ (สรุ ป)
ชั่วโมงที่ ๔
           ๖. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานกลุ่มตามกิจกรรมและภารกิจจากชุดการสร้างความรู ้
ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี
                             ิ
           ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความสาคัญ ประโยชน์ และคุณค่าของการปฏิบติตนเป็ น
                                                                                         ั
พลเมืองดี
           ๘. นักเรี ยนทาแบบทดสอบ เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี
การวัดและประเมินผล
                 ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
                 ๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
                 ๓.แบบทดสอบเรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี
                 ๔.แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม
                 ๕.แบบประเมินการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                 ิ
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
สื่ อการเรียนรู้
           ๑.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒
โดย ดร.กมล ทองธรรมชาติ และคณะ บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด
                                                   ั
           ๒.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒
โดย ผ่องศรี จันห้าว และคณะ สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด
                ่
          ๓.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวตใน
                                                                                           ิ
สังคม โดย รศ. ดร.วรพิทย์ มีมาก สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
          ๔.ภาพ/ข่าว จากหนังสื อพิมพ์/ แหล่งข้อมูล
          ๕.ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
                                                       ิ
และการดาเนินชีวตในสังคม เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี
                   ิ
แหล่ งเรียนรู้
http://edu.e-tech.ac.th/mdec/learning/s1301/unit07.html
http://kanlaya.net/chapter1.html#c1
http://www.kullawat.net/civic/1.1.htm
http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm
http://www.nucha.chs.ac.th/1.1.2.htm
http://www.school.net.th/library/create-web/10000/sociology/10000-10701.html
http://www.sites.google.com/site/builtenvironmentthai/good-persons
http://www.thaigoodview.com/node/28497
ใบงานที่ ๕.๑
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีตามวิถี          สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ
                                                                                   ่
และวัฒนธรรม                      ประชาธิปไตย                     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓ เรื่อง: สารวจหมู่บ้าน              เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง
                                 ประชาธิปไตย
  ตอนที่ ๑ คาชี้แจง ๑. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มไปสารวจหมู่บานซึ่ งนักเรี ยนคิดว่าเป็ นหมู่บาน
                               ั                            ้                           ้
                        ตัวอย่างของหมู่บานประชาธิ ปไตย
                                         ้
                      ๒. นักเรี ยนสัมภาษณ์บุคคลที่เป็ นกาลังสาคัญของหมู่บานจานวน 4 – 5 คน
                                                                          ้
                            ตามความเหมาะสมในหัวข้อต่อไปนี้
  ๑. ชื่อหมู่บาน
              ้                               ที่ต้ ง
                                                    ั
  ๒. ชื่อบุคคลที่สัมภาษณ์                             ชื่อสกุล
  ๓. หัวข้อสัมภาษณ์
     ๑) หมู่บานของท่านได้ทากิจกรรมเด่นร่ วมกันคืออะไร
                ้



      ๒) กิจกรรมในข้อ ๑ มีการแสดงออกถึงลักษณะของประชาธิ ปไตยอย่างไรบ้าง



      ๓) บุคคลที่ร่วมกิจกรรมในข้อ ๑ นั้น ได้นาหลักคุณธรรมใดมาเป็ นแนวปฏิบติ
                                                                         ั



      ๔) ท่านคิดว่าหมู่บานของท่านมีบุคคลอื่นที่เป็ นแบบอย่างที่ดีของพลเมืองดีในสังคม
                        ้
         ประชาธิ ปไตยคือใครบ้าง ยกตัวอย่างการกระทาของบุคคลเหล่านั้นที่สอดคล้องกับ
         คุณลักษณะของพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย
ตอนที่ ๒ คาชี้แจง นักเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นบทบาทหน้าที่สาคัญของพลเมืองดีต่อชุมชน
                  และประเทศชาติ โดยเขียนลงในแผนผัง




                                        บทบาทหน้าที่ของ
                                        พลเมืองดีต่อชุมชน
                                         และประเทศชาติ
เฉลยใบงานที่ ๕.๑
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีตามวิถี         สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง
                                                                                 ่
และวัฒนธรรม                     ประชาธิปไตย                     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓ เรื่อง: สารวจหมู่บ้านประชาธิปไตย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง
ตอนที่ ๒ คาชี้แจง นักเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นบทบาทหน้าที่สาคัญของพลเมืองดีต่อชุมชน
                   และประเทศชาติ โดยเขียนลงในแผนผัง


                                 ปฏิบติตนตาม
                                     ั
                                   กฎหมาย                       นับถือศาสนาและ
                                                                ปฏิบติตามคาสอน
                                                                     ั

     รับการศึกษาอบรม


                                                                                      ปฏิบติตนตาม
                                                                                            ั
                                                                                      ค่านิยมที่ดีงาม

    ประหยัดและ
      อดออม                               บทบาทหน้าที่ของ
                                          พลเมืองดีต่อชุมชน
                                           และประเทศชาติ                           สื บสานศิลปะ
                                                                                      วัฒนธรรม


   ประกอบอาชีพ
      สุ จริ ต

                        อนุรักษ์                                         ใช้สิทธิ เลือกตั้ง
                   ทรัพยากรธรรมชาติ
                   และสภาพแวดล้อม              ป้ องกันประเทศ
แบบทดสอบที่ ๕
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา             ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีในวิถี         สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ
                                                                                       ่
ศาสนา และวัฒนธรรม                 ประชาธิปไตย                        ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: คนดีสังคมดี                         เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง
ที่ ๔
ผลการเรียนรู้
          ๑.เข้าใจลักษณะของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี
                                             ั
          ๒.วิเคราะห์ประโยชน์ของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีได้
                                                ั
          ๓.เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี
                                       ั
คาสั่ ง จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑.ข้อใดต่อไปนี้คือคุณสมบัติสาคัญของ “คนดี”
          ก.มีน้ าใจมีความเอื้อเฟื้ อเผือแผ่แก่คนในสังคม
                                         ่
          ข.ไม่รังแกและเบียดเบียนผูคนในสังคม
                                           ้
          ค.มีคุณธรรม จริ ยธรรม ตามหลักศีลธรรมและค่านิยมในสังคม
          ง.มีความจริ งใจไม่โกหกหลอกลวงผูคนในสังคม้
๒.บุคคลที่ถือว่าเป็ นพลเมืองดีของสังคมมีควรมีลกษณะอย่างไร
                                                     ั
          ก.ผูที่ปฏิบติหน้าที่เฉพาะที่ตนรับผิดชอบอย่างเต็มกาลังและความสามารถจนแล้วเสร็ จ
                  ้     ั
          ข.ผูที่อยูร่วมกับคนในสังคมได้โดยไม่มีปัญหา ยินยอมปรับเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเอง
                    ้ ่
ถ้าผูอื่นไม่เห็นด้วย
      ้
          ค.ผูที่ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนปฏิบติหน้าที่ดวยความรับผิดชอบสอดคล้องกับ
                     ้                                   ั    ้
วัฒนธรรมประเพณี และรัฐธรรมนู ญที่กาหนดไว้
          ง.ผูที่มีความประหยัด มัธยัสถ์มุ่งสร้างรายได้ให้แก่ตนเองด้วยความอดทน
                ้
๓.บุคคลใดต่อไปนี้ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตย
                           ั
          ก.แซงคิวซื้ ออาหารเพื่อนก่อนเพื่อนาไปให้ครู
          ข.ซื้ ออาหารเลี้ยงเพื่อนตอบแทนที่ช่วยลอกการบ้านให้
          ค.ต่อแถวซื้ ออาหารทุกครั้งแม้จะต้องรอเป็ นเวลานานก็ตาม
          ง.ซื้ ออาหารจากร้านที่มีคนนิยมเท่านั้น
๔.การปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีหมายถึงข้อใด
             ั
          ก.บุคคลที่ถือปฏิบติตามกฎหมายโดยเคร่ งครัด
                              ั
          ข.บุคคลที่ถือปฏิบติตนตามจารี ตประเพณี ที่สืบเนื่องกันมาจากบรรพบุรุษ
                                ั
ค.บุคคลที่ถือปฏิบติตามหลักธรรมในศาสนาโดยยึดหลักธรรมที่ตนศรัทธาและปฏิบติได้
                                 ั                                                         ั
          ง.บุคคลที่ปฏิบติตามครรลองของกฎหมาย จารี ต ประเพณี และหลักคุณธรรมของสังคม
                             ั
๕.ข้อใดมิใช่ ลกษณะสังคมประชาธิปไตย
                 ั
          ก.การรับฟังประชาพิจารณ์ของประชาชนที่มีต่อการทางานของรัฐบาล
          ข.ประชาชนส่ วนใหญ่ไปใช้สิทธิ เลือกตั้งสมาชิ กสภาผูแทนราษฎร   ้
          ค.ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมาย
          ง.มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว
๖.ข้อใดเป็ นการตัดสิ นความขัดแย้งด้วยวิถีประชาธิปไตย
          ก.การอภิปรายโจมตี                               ข.การใช้อานาจรัฐปราบปราม
          ค.การจับแกนนามาลงโทษ                            ง.การลงมติและยอมรับเสี ยงข้างมาก
๗.นักเรี ยนที่ไม่ทาเวรรักษาความสะอาดห้องเรี ยน จัดว่าขาดวิถีประชาธิ ปไตยในข้อใด
          ก.ไม่รักษาสิ ทธิ ของตนเอง                       ข.ไม่มีความรับผิดชอบ
          ค.ไม่มีระเบียบวินย   ั                          ง.ไม่เชื่อถือกฎและระเบียบ
๘.วิถีทางประชาธิ ปไตยควรเริ่ มที่ใดก่อนจึงจะส่ งผลทาให้เกิดประชาธิ ปไตยที่สมบูรณ์ข้ ึนใน
ประเทศ
          ก.ตนเอง                                         ข.ครอบครัว
          ค.ชุมชน                                         ง.ท้องถิ่น
๙.วิธีการใดที่จะทาให้นกเรี ยนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีทางประชาธิปไตยได้ผลดีที่สุด
                           ั
          ก.เคารพเชื่อฟังครู และตั้งใจเรี ยน
          ข.เคารพพ่อแม่และประพฤติดีสม่าเสมอ
          ค.ปฏิบติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือโดยเคร่ งครัด
                     ั
          ง.ปฏิบติตนตามกฎ ระเบียบและกติกาของสังคมทุกครั้ง
                   ั
๑๐.ผลดีที่สุดที่เกิดกับตนเองเมื่อปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตยคือ
                                         ั
          ก.ดาเนินชีวตอยูในสังคมที่สงบสุ ข สังคมนั้นพัฒนาไปสู่ ความเจริ ญก้าวหน้า
                         ิ ่
          ข.สามารถสร้างฐานะทางเศรษฐกิจให้เกิดความมันคงได้อย่างรวดเร็ ว
                                                                ่
          ค.ได้รับการยกย่องจากสังคมเป็ นที่เชิดหน้าชูตาแก่วงศ์ตระกูล
          ง.เป็ นผูมีสุขภาพจิตสุ ขภาพกายแข็งแรง
                       ้
                                     ---------------------------------------
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา                เฉลยแบบทดสอบที่ ๕         สาระ หน้าที่พลเมือง
และวัฒนธรรม                                                       วัฒนธรรมและการดาเนินชีวต
                                                                                         ิ
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑                                                   ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                        เรื่องการเป็ นพลเมืองดี
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓                                           เวลาสอบ ๑๐ นาที

                          ๑.ค                            ๖.ง
                          ๒.ค                            ๗.ข
                          ๓.ค                            ๘. ก
                          ๔. ง                           ๙. ง
                          ๕. ง                           ๑๐.ก
                          ----------------------------------

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 

Viewers also liked

ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์tassanee chaicharoen
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 

Viewers also liked (7)

ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 

More from นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 

More from นันทนา วงศ์สมิตกุล (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีในวิถี สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ ่ ศาสนา และวัฒนธรรม ประชาธิปไตย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: คนดีสังคมดี เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ที่ ๓ สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม ่ ิ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารง ั รักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ิ ่ ๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การอยูร่วมกันในสังคม ถ้าทุกคนปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี สังคมนั้นจะสงบสุ ข มีความ ่ ั ้ ั ่ เจริ ญ แต่ถาคนในสังคมไม่ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี สังคมนั้นก็จะเกิดความวุนวายไม่สงบเรี ยบร้อย ไม่เจริ ญก้าวหน้า ๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ ั ๒.๑ ตัวชี้วด ั ส ๒.๑ ม.๒/๒ เห็นคุณค่าการปฏิบติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ใน ั ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ม.๒/๓ วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑.เข้าใจลักษณะของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ั ๒.วิเคราะห์ประโยชน์ของการปฏิบติตนเป็ นพลเมื องดี ั ๓.เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ั ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ่ ๑.เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และธารง ั รักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ิ ่ ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒ ความสามารถในการคิด
  • 2. - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.มีวนย ิ ั ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓.มุ่งมันในการทางาน ่ ๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ กลุ่ม ั ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นที่ ๑ ขั้นกระตุ้นสมอง ๑.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้ * นักเรี ยนคิดว่าตนเองเป็ นพลเมืองดีหรื อไม่ * นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรเมื่อได้ประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี * การเป็ นพลเมืองดีมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคมหรื อไม่ อย่างไร สุ่ มเลือกนักเรี ยนเป็ นตัวแทนตอบคาถาม ๕-๖ คน หน้าชั้นเรี ยน นาภาพข่าวการทาความดีจากหนังสื อพิมพ์ วารสาร ๓-๔ เรื่ อง ให้ตวแทนนักเรี ยนแสดงความคิดเห็นต่อภาพข่าวที่นามาแสดง ภาพข่าวละ ๒-๔ คน ั ขั้นที่ ๒ ขั้นท่องประสบการณ์ ๒. แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๖ คน ระดมความคิดร่ วมกันในประเด็นคาถามว่า “พลเมืองดีมีลกษณะอย่างไร” เขียนผลจากการระดมความคิดลงบนกระดาษ ครู เลือกสุ่ มตัวแทน ั กลุ่ม ๒-๓ นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ๓. ให้สมาชิกกลุ่มร่ วมกันเสนอชื่อ คัดเลือก จัดทาประวัติและผลงานบุคคลที่กลุ่มมีมติ ร่ วมกันว่า บุคคลนั้นเป็ นพลเมืองดี นาเสนอพร้อมให้ขอคิดเห็นของกลุ่มด้วยว่า ผลงานของบุคคล ้
  • 3. นั้นสร้างประโยชน์ให้กบตนเอง สังคม หรื อประเทศชาติอย่างไร นาผลงานของทุกกลุ่มไปแสดงที่ ั ป้ ายนิเทศ ขั้นที่ ๓ ขั้นสร้ างฐานความรู้ (ปลูกฝังปัญญา) ชั่วโมงที่ ๒-๓ ๔. ครู ปฐมนิเทศการใช้ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น ิ พลเมืองดี และให้ตวแทนกลุ่มมารับชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น ั ิ พลเมืองดี ไปศึกษาและทากิจกรรมตามที่กาหนดไว้ ๕. ขณะที่นกเรี ยนกาลังศึกษาชุดการสร้างความรู ้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ น ั ิ พลเมืองดี ครู ทาหน้าที่ช่วยให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเองมากที่สุดเท่าที่ จะมากได้ ต้องอดทน ั ้ และปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง ไม่บอกคาตอบก่อน ควรช่วยเหลือแนะนา ั นักเรี ยนที่เรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตามความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้มาก ที่สุด ขั้นที่ ๔ สรุ ป- สู่ ใจ (สรุ ป) ชั่วโมงที่ ๔ ๖. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานกลุ่มตามกิจกรรมและภารกิจจากชุดการสร้างความรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี ิ ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความสาคัญ ประโยชน์ และคุณค่าของการปฏิบติตนเป็ น ั พลเมืองดี ๘. นักเรี ยนทาแบบทดสอบ เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี การวัดและประเมินผล ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓.แบบทดสอบเรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี ๔.แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม ๕.แบบประเมินการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ ๑.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒ โดย ดร.กมล ทองธรรมชาติ และคณะ บริ ษทอักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด ั ๒.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒
  • 4. โดย ผ่องศรี จันห้าว และคณะ สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด ่ ๓.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวตใน ิ สังคม โดย รศ. ดร.วรพิทย์ มีมาก สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ๔.ภาพ/ข่าว จากหนังสื อพิมพ์/ แหล่งข้อมูล ๕.ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม ิ และการดาเนินชีวตในสังคม เรื่ อง การเป็ นพลเมืองดี ิ แหล่ งเรียนรู้ http://edu.e-tech.ac.th/mdec/learning/s1301/unit07.html http://kanlaya.net/chapter1.html#c1 http://www.kullawat.net/civic/1.1.htm http://www.kr.ac.th/ebook/savalee/b1.htm http://www.nucha.chs.ac.th/1.1.2.htm http://www.school.net.th/library/create-web/10000/sociology/10000-10701.html http://www.sites.google.com/site/builtenvironmentthai/good-persons http://www.thaigoodview.com/node/28497
  • 5. ใบงานที่ ๕.๑ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีตามวิถี สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ ่ และวัฒนธรรม ประชาธิปไตย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓ เรื่อง: สารวจหมู่บ้าน เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ประชาธิปไตย ตอนที่ ๑ คาชี้แจง ๑. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มไปสารวจหมู่บานซึ่ งนักเรี ยนคิดว่าเป็ นหมู่บาน ั ้ ้ ตัวอย่างของหมู่บานประชาธิ ปไตย ้ ๒. นักเรี ยนสัมภาษณ์บุคคลที่เป็ นกาลังสาคัญของหมู่บานจานวน 4 – 5 คน ้ ตามความเหมาะสมในหัวข้อต่อไปนี้ ๑. ชื่อหมู่บาน ้ ที่ต้ ง ั ๒. ชื่อบุคคลที่สัมภาษณ์ ชื่อสกุล ๓. หัวข้อสัมภาษณ์ ๑) หมู่บานของท่านได้ทากิจกรรมเด่นร่ วมกันคืออะไร ้ ๒) กิจกรรมในข้อ ๑ มีการแสดงออกถึงลักษณะของประชาธิ ปไตยอย่างไรบ้าง ๓) บุคคลที่ร่วมกิจกรรมในข้อ ๑ นั้น ได้นาหลักคุณธรรมใดมาเป็ นแนวปฏิบติ ั ๔) ท่านคิดว่าหมู่บานของท่านมีบุคคลอื่นที่เป็ นแบบอย่างที่ดีของพลเมืองดีในสังคม ้ ประชาธิ ปไตยคือใครบ้าง ยกตัวอย่างการกระทาของบุคคลเหล่านั้นที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะของพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย
  • 6. ตอนที่ ๒ คาชี้แจง นักเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นบทบาทหน้าที่สาคัญของพลเมืองดีต่อชุมชน และประเทศชาติ โดยเขียนลงในแผนผัง บทบาทหน้าที่ของ พลเมืองดีต่อชุมชน และประเทศชาติ
  • 7. เฉลยใบงานที่ ๕.๑ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีตามวิถี สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง ่ และวัฒนธรรม ประชาธิปไตย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓ เรื่อง: สารวจหมู่บ้านประชาธิปไตย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ตอนที่ ๒ คาชี้แจง นักเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นบทบาทหน้าที่สาคัญของพลเมืองดีต่อชุมชน และประเทศชาติ โดยเขียนลงในแผนผัง ปฏิบติตนตาม ั กฎหมาย นับถือศาสนาและ ปฏิบติตามคาสอน ั รับการศึกษาอบรม ปฏิบติตนตาม ั ค่านิยมที่ดีงาม ประหยัดและ อดออม บทบาทหน้าที่ของ พลเมืองดีต่อชุมชน และประเทศชาติ สื บสานศิลปะ วัฒนธรรม ประกอบอาชีพ สุ จริ ต อนุรักษ์ ใช้สิทธิ เลือกตั้ง ทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ป้ องกันประเทศ
  • 8. แบบทดสอบที่ ๕ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:พลเมืองดีในวิถี สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมืองฯ ่ ศาสนา และวัฒนธรรม ประชาธิปไตย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: คนดีสังคมดี เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ที่ ๔ ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจลักษณะของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ั ๒.วิเคราะห์ประโยชน์ของการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีได้ ั ๓.เห็นคุณค่าในการปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดี ั คาสั่ ง จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑.ข้อใดต่อไปนี้คือคุณสมบัติสาคัญของ “คนดี” ก.มีน้ าใจมีความเอื้อเฟื้ อเผือแผ่แก่คนในสังคม ่ ข.ไม่รังแกและเบียดเบียนผูคนในสังคม ้ ค.มีคุณธรรม จริ ยธรรม ตามหลักศีลธรรมและค่านิยมในสังคม ง.มีความจริ งใจไม่โกหกหลอกลวงผูคนในสังคม้ ๒.บุคคลที่ถือว่าเป็ นพลเมืองดีของสังคมมีควรมีลกษณะอย่างไร ั ก.ผูที่ปฏิบติหน้าที่เฉพาะที่ตนรับผิดชอบอย่างเต็มกาลังและความสามารถจนแล้วเสร็ จ ้ ั ข.ผูที่อยูร่วมกับคนในสังคมได้โดยไม่มีปัญหา ยินยอมปรับเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเอง ้ ่ ถ้าผูอื่นไม่เห็นด้วย ้ ค.ผูที่ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนปฏิบติหน้าที่ดวยความรับผิดชอบสอดคล้องกับ ้ ั ้ วัฒนธรรมประเพณี และรัฐธรรมนู ญที่กาหนดไว้ ง.ผูที่มีความประหยัด มัธยัสถ์มุ่งสร้างรายได้ให้แก่ตนเองด้วยความอดทน ้ ๓.บุคคลใดต่อไปนี้ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตย ั ก.แซงคิวซื้ ออาหารเพื่อนก่อนเพื่อนาไปให้ครู ข.ซื้ ออาหารเลี้ยงเพื่อนตอบแทนที่ช่วยลอกการบ้านให้ ค.ต่อแถวซื้ ออาหารทุกครั้งแม้จะต้องรอเป็ นเวลานานก็ตาม ง.ซื้ ออาหารจากร้านที่มีคนนิยมเท่านั้น ๔.การปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีหมายถึงข้อใด ั ก.บุคคลที่ถือปฏิบติตามกฎหมายโดยเคร่ งครัด ั ข.บุคคลที่ถือปฏิบติตนตามจารี ตประเพณี ที่สืบเนื่องกันมาจากบรรพบุรุษ ั
  • 9. ค.บุคคลที่ถือปฏิบติตามหลักธรรมในศาสนาโดยยึดหลักธรรมที่ตนศรัทธาและปฏิบติได้ ั ั ง.บุคคลที่ปฏิบติตามครรลองของกฎหมาย จารี ต ประเพณี และหลักคุณธรรมของสังคม ั ๕.ข้อใดมิใช่ ลกษณะสังคมประชาธิปไตย ั ก.การรับฟังประชาพิจารณ์ของประชาชนที่มีต่อการทางานของรัฐบาล ข.ประชาชนส่ วนใหญ่ไปใช้สิทธิ เลือกตั้งสมาชิ กสภาผูแทนราษฎร ้ ค.ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมาย ง.มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ๖.ข้อใดเป็ นการตัดสิ นความขัดแย้งด้วยวิถีประชาธิปไตย ก.การอภิปรายโจมตี ข.การใช้อานาจรัฐปราบปราม ค.การจับแกนนามาลงโทษ ง.การลงมติและยอมรับเสี ยงข้างมาก ๗.นักเรี ยนที่ไม่ทาเวรรักษาความสะอาดห้องเรี ยน จัดว่าขาดวิถีประชาธิ ปไตยในข้อใด ก.ไม่รักษาสิ ทธิ ของตนเอง ข.ไม่มีความรับผิดชอบ ค.ไม่มีระเบียบวินย ั ง.ไม่เชื่อถือกฎและระเบียบ ๘.วิถีทางประชาธิ ปไตยควรเริ่ มที่ใดก่อนจึงจะส่ งผลทาให้เกิดประชาธิ ปไตยที่สมบูรณ์ข้ ึนใน ประเทศ ก.ตนเอง ข.ครอบครัว ค.ชุมชน ง.ท้องถิ่น ๙.วิธีการใดที่จะทาให้นกเรี ยนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีทางประชาธิปไตยได้ผลดีที่สุด ั ก.เคารพเชื่อฟังครู และตั้งใจเรี ยน ข.เคารพพ่อแม่และประพฤติดีสม่าเสมอ ค.ปฏิบติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือโดยเคร่ งครัด ั ง.ปฏิบติตนตามกฎ ระเบียบและกติกาของสังคมทุกครั้ง ั ๑๐.ผลดีที่สุดที่เกิดกับตนเองเมื่อปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตยคือ ั ก.ดาเนินชีวตอยูในสังคมที่สงบสุ ข สังคมนั้นพัฒนาไปสู่ ความเจริ ญก้าวหน้า ิ ่ ข.สามารถสร้างฐานะทางเศรษฐกิจให้เกิดความมันคงได้อย่างรวดเร็ ว ่ ค.ได้รับการยกย่องจากสังคมเป็ นที่เชิดหน้าชูตาแก่วงศ์ตระกูล ง.เป็ นผูมีสุขภาพจิตสุ ขภาพกายแข็งแรง ้ ---------------------------------------
  • 10. รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา เฉลยแบบทดสอบที่ ๕ สาระ หน้าที่พลเมือง และวัฒนธรรม วัฒนธรรมและการดาเนินชีวต ิ รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ เรื่องการเป็ นพลเมืองดี หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๓ เวลาสอบ ๑๐ นาที ๑.ค ๖.ง ๒.ค ๗.ข ๓.ค ๘. ก ๔. ง ๙. ง ๕. ง ๑๐.ก ----------------------------------