SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝ๎งคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ ๒.๒ ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมกตัญํู และมี
ความสํานึกในความเป็นไทย
ความเป็นมา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒
พุทธศักราช ๒๕๔๕) กําหนดให้มีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เป็นหลักสูตร
ที่ส่งเสริมให้สถานศึกษาประสานสัมพันธ์ และร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชน
ให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์
ใฝุรู้ใฝุเรียน มีทักษะและกระบวนการในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลังกาย มีค่านิยมในการผลิต
และบริโภค เข้าใจประวัติศาสตร์ของชาติไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี กีฬา ภูมิป๎ญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อมและรักประเทศชาติ และ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ นอกจากการเรียนใน ๘ กลุ่มสาระแล้ว ในส่วน
ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนก็ถือเป็นสิ่งสําคัญซึ่งหลักสูตรได้จําแนกกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็น ๓ ลักษณะ
คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ซึ่งเป็นหน้าที่
ของสถานศึกษาทุกแห่งจะต้องเน้นการสร้างเยาวชนที่มีความสมดุล ลูกศิษย์ต้อง “เป็นคนเก่ง เป็นคนดี
มีคุณลักษณะและมีสมรรถนะตามที่หลักสูตรกําหนด”
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดกลยุทธ์และจุดเน้น ในการ
ดําเนินงานไว้เพื่อให้หน่วยงานนําไปขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
กลยุทธ์ ๖ กลยุทธ์ ประกอบด้วย
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร
และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Raising the bar)
กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝ๎งคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics)
กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ํา ผู้เรียน
ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap)
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สมารถจัดกิจกรรม
การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement)
กลยุทธ์ที่ ๕ ฒนาการบริหารจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา (Good Governance)
กลยุทธ์ที่ ๖ พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
(Education for Peace and Harmony)
จุดเน้น ๑๐ จุดเน้น ประกอบด้วย
๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการ
ทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ (Student Achievement)
2
๒. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติป๎ญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ (EQ : E,otion Quotient)
๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้น
พื้นฐาน ( Literacy , Numeracy & Reasoning Abilities)
๔. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเป็นเป็น มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่าง
พอเพียง (Sufficiency & Public Mind)
๕. นักเรียนที่มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และศิลปะศาสตร์ทุกคน ได้รับการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศ ( Excel to Excellence)
๖. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาด้วยทางเลือก
ที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น ออกกลางคัน ส่งเสริมการเรียนต่อหรือประกอบอาชีพ
(Alternative Access)
๗. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแห่ง
ในเจตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับ
อัตลักษณ์ของตน (Southern – Border Provinces)
๘. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพร้อมเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community)
๙. สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีระบบประกันคุณภาพ
ภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)
๑๐. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่งมีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา (Effective Service Areas)
นโยบายเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ผอ.สพป.สงขลา เขต ๑ (นายปราโมทย์ ส่งสิงห์)
๑. เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระหลัก ร้อยละ ๔ และค่าเฉลี่ยสูงกว่า
ระดับประเทศ
๒. พัฒนาความสามารถด้านการอ่าน การเขียนของนักเรียน ชั้น ป.๓
๓. ส่งเสริมการใช้ ICT และ Tablet เพื่อการเรียนรู้
๔. อาเซียนศึกษา และภาษาอาเซียน
๕. พัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก
๖. สร้างโอกาสทางการศึกษา (ส่งเสริมการเข้าเรียน แก้ป๎ญหาและลดอัตรานักเรียน
ตกหล่น / นักเรียนออกกลางคัน)
๗. สํานักงานมีคุณภาพ
๘. การพัฒนาสภาพภูมิทัศน์โรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ (สวยงาม ร่มรื่น สะอาด
ปลอดภัย บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้)
๙ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗ ปีทองของการนิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผล)
3
จุดเน้นของ ผอ.สพป.สงขลา เขต ๑ สาหรับสถานศึกษา
๑. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ต้องอยู่ประจําโรงเรียน
๒. ลดภาระงานอื่น ๆ ลง เช่น การประชุมที่ไม่จําเป็น เน้นการเรียนการสอน
การบริหารโรงเรียน
๓. สอนนักเรียนเต็มที่ เต็มเวลา เต็มศักยภาพ
๔. นักเรียนชั้น ป.๓ อ่านคล่อง เขียนคล่อง (จะมีการวัดประเมินผล)
๕. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ O – Net ให้สูงกว่าเปูาที่ สพฐ. วางไว้
๖. ผู้มีผลงานดีเด่นระดับชาติ หรือ อื่น ๆ ที่น่าสนใจ จะได้รับความดีความชอบ
๗. ภูมิทัศน์โรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุด ห้องสุขา ได้รับการ
ดูแลให้สวยงามสะอาด ร่มรื่น สร้างสรรค์ บรรยากาศการเรียนรู้ มีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ยืนต้นในโรงเรียน (จะมีการประกวดตามขนาดโรงเรียน) การจัดเก็บพัสดุครุภัณฑ์เป็นระเบียบ
สะดวก ปลอดภัย
๘. จุดเด่นของนโยบายที่สําคัญของกระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษาต้องนําสู่การ
ปฏิบัติ เช่น โครงการแท็บเล็ต อาเซียนศึกษา ฯลฯ
๙. ข้าราชการครูและบุคลากรสังกัด สพป.สงขลา เขต ๑ ต้องเป็นหนึ่ง รูรักสามัคคี
๑๐. ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ปีทองของการนิเทศ กํากับติดตาม ประเมินผล
จะมีคณะออกติตาม นิเทศ กํากับ เยี่ยมเยียน ทุกสถานศึกษา
๑๑. การเข้าสู่สถานศึกษายุคใหม่ ด้วยการสอนภาษาที่ ๒ เช่น ภาษาอังกฤษ
ภาษาจีน สถานศึกษาที่มีศักยภาพควรดําเนินการได้โดยทันที
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ได้สนองนโยบายของ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดทุกโรงจัด
กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกิจกรรมดังต่อไปนี้
๑. กิจกรรมศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสาชุมชน (ศูนย์ GIVE & TAKE)
๒. กิจกรรมโครงงานคุณธรรมสํานึกดี CSR
๓. กิจกรรมค่ายพระ โต๊ะครู ครู ผู้ปกครอง
ทั้ง ๓ กิจกรรม สถานศึกษาได้ดําเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นมา
ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑
ได้กําหนดนโยบายเพิ่มเติม ในการปลูกฝ๎งคุณธรรมในสถานศึกษา โดยเน้นการยิ้ม ไหว้ ทักทาย และ
การมีจิตสาธารณะ
ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑
๙. ได้กําหนดนโยบายเพิ่มเติม ในการปลูกฝ๎งคุณธรรมในสถานศึกษา โดยเน้นการ
พัฒนาสภาพภูมิทัศน์โรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ (สวยงาม ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย บรรยากาศเอื้อ
ต่อการเรียนรู้)
4
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก และเยาวชน ได้พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม
มีจิตสาธารณะ มีความกตัญํู รับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ ความเข้าใจในระบอบ
ประชาธิปไตย มีความสํานึกในความเป็นไทย และปฏิบัติตนให้ปลอดภัย และห่างไกลจากสิ่งเสพติด
๒. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสํานึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๓. เพื่อสนับสนุนให้ บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วน
ร่วมในการสรรสร้างความเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ร่วมกันดูแลช่วยเหลือ
และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียน
เป้าหมาย
โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ทุกโรง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม มิจิตอาสา บริการชุมชน
รับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
และห่างไกลจากสิ่งเสพติด
๒. นักเรียนมีจิตสํานึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรักชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์
๓. บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการสรรสร้าง
ความเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ร่วมกันดูแลช่วยเหลือและสร้างภูมิคุ้มกัน
ให้กับนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพชีวิตและจิตใจที่ดีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและอยู่ร่วมกัน
ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผลการสังเคราะห์การดาเนินงาน
การดําเนินการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติ
ไทย และกิจกรรมส่งเสริมจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม โรงเรียนใน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ทุกโรงเรียน จํานวน ๑๔๔ โรง ได้
ดําเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอสามารถนํามาสังเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ ได้ดังนี้
กิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
จําแนกเป็น ๓ ด้าน
๑. กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ เช่น กิจกรรมความรักความห่วงใยผู้สูงวัย ผู้
ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ในเขตบริการของโรงเรียน (โดยนําของใช้ เสื้อผ้า ข้าวสาร อาหารแห้ง
เงิน ไปบริจาค ทําความสะอาดบ้าน ล้างจาน ห้องน้ํา ตักน้ําใส่โอ่งไว้ให้คนชรา คนพิการ ได้ใว้ใช้
ประจําวัน เดือนละ ๑ ครั้ง) กิจกรรมพยาบาลจิ๋วหัวใจแจ๋ว (เป็นกิจกรรมที่นักเรียนช่วยบริการ
5
บีบนวด ให้อาหารทางสายยาง ช่วยสอนการออกกําลังกายให้แก่ผู้ปุวยในชุมชน) กิจกรรมหมอน้อย
(นักเรียนไปเรียนรู้การพยาบาลผู้ปุวยจากโรงพยาบาล สาธารณสุข ช่วยเหลือหมอ และเจ้าหน้าที่
อนามัย เช่น ช่วยวัดส่วนสูง ชั่งน้ําหนัก วัดความดัน ช่วยเหลือคนปุวยในโรงพยาบาล) กิจกรรมพี่
สอนน้องทํานองนิทาน บริการเสิร์ฟน้ํา ล้างจาน รํากลองยาวในงานทอดกฐิน งานทอดผ้าปุาของวัด
กิจกรรมอวยพรวันเกิดเพื่อนร่วมชั้น กิจกรรมพี่ไหว้พี่ เพื่อนไหว้เพื่อน น้องไหว้พี่ พี่ไหว้น้อง นักเรียน
ไหว้ครู ครูไหว้ครู กิจกรรมยิ้ม ไหว้ ทักทาย กิจกรรมพี่ช่วยน้อง กิจกรรมอาสาจราจร บริการการ
ข้ามถนนของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน กิจกรรมแสดงหนังตะลุงให้
นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวในชุมชนดู กิจกรรมรับส่งเพื่อน ๆ น้อง ๆ ข้ามถนน ขึ้น – ลงสะพานลอย
เช้า – เย็น กิจกรรมใช้คําพูดที่สุภาพ กิจกรรมเพื่อนเตือนเพื่อน กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรม
ของหายได้คืน ช่วยงานบุญต่าง ๆ ของชุมชน กิจกรรมขนทรายเข้าวัด กิจกรรมชวนน้องเข้าวัด
กิจกรรมเสนอข่าว เล่านิทานในตอนเช้าและพักกลางวัน มอบของใช้และสิ่งของที่จําเป็นแก่สถาน
สงเคราะห์บ้านเด็กกําพร้า กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพ ทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมรณรงค์กําจัด
ยุงลาย กิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง กิจกรรมการรณรงค์ยาเสพติด กิจกรรมชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์
กิจกรรมพี่อ่านหนังสือให้น้องฟ๎งเวลาพักกลางวัน กิจกรรมรณรงค์การประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ
กิจกรรมบันทึกความดี กิจกรรมคัดเลือกเด็กดีศรีวัดผา กิจกรรมวัดสวยด้วยมือเรา กิจกรรมรณรงค์
การปูองกันไข้เลือดออก กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ภูมิป๎ญญาไทย กิจกรรมแห่เทียน
พรรษา และถวายเทียนพรรษา กิจกรรมนวดแผนไทย กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น
กิจกรรมใจสั่งให้ทําความดี กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพฟ๎น โดยนักเรียนกลุ่มอาสาออกเผยแพร่แผ่น
พับเรื่องฟ๎น สู่ชุมชน กิจกรรมเชิดหุ่นสะดุดให้คิด นักเรียนกลุ่มอาสาจะเชิดหุ่นให้เพื่อน น้องๆ และ
ชุมชนฟ๎ง และชักชวนให้ ลด ละ เลิก อาหารที่มีรสหวาน ที่เป็นอันตรายต่อปากและสุขภาพฟ๎น
กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย
โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๑๒๐ โรง
คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓
๒. กิจกรรมจิตอาสาด้านวิชาการ เช่น กิจกรรมพี่อ่านหนังสือให้น้องฟ๎ง
รณรงค์กําจัดลูกน้ํายุงลาย รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด รณรงค์การประหยัดน้ํา – ประหยัดไฟ รณรงค์
การเลือกตั้ง กิจกรรมยุวบรรณารักษ์น้อย โครงงานข้าวปลอดพิษ ชีวิตปลอดโรค โลกปลอดภัย
สังคมไทยยั่งยืน (ทําข้าวซ้อมมือ) กิจกรรมเล่าข่าวประจําวัน กิจกรรมพี่นําน้องอ่าน กิจกรรมยกย่อง
คนดี กิจกรรมธนาคารความดี กิจกรรมธนาคารบุญ กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพจากน้ําซาวข้าว
ทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมคัดเลือกคนดีมีคุณธรรมด้านการประหยัดและออมในชุมชน ค่าย
วิทยาศาสตร์สอนน้อง (เป็นกิจกรรมที่นักเรียนออกไปจัดค่ายสอนวิทยาศาสตร์ให้แก่น้องต่างโรงเรียน ซึ่ง
เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก อยู่ในชนบท กิจกรรมมารยาทไทย กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมออมทรัพย์
โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๓๑ โรง
คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๕๒
๓. กิจกรรมจิตอาสาด้านศาสนา เช่น ชวนน้องเข้าวัดวันธรรมะสวนะ เป็น
พิธีกรปฎิบัติพิธีทางพุทธศาสนาร่วมกับชุมชน ไปวัดฟ๎งธรรมร่วมกับชุมชน กิจกรรมนักเรียนนําปิ่นโต
6
ไปวัด ศึกษาธรรมะ สวดมนต์ ไหว้พระ กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา
กิจกรรมแห่เทียนพรรษา ถวายเทียนพรรษา กิจกรรมบรรพชาภาคฤดูร้อน กิจกรรมหนึ่งปิ่นโต
หนึ่งวันพระ กิจกรรมวันธรรมสวนะ กิจกรรมชวนน้องเข้าวัด กิจกรรมพบพระทุกวันศุกร์
กิจกรรมสมาธิภาคบ่ายคลายกังวล
โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๒๒ โรง
คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๗
กิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
จําแนกเป็น ๒ ด้าน
๑. กิจกรรมจิตอาสาด้านการพัฒนา เช่น พัฒนาสถานที่สาธารณะประโยชน์
ทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน มัสยิด วัด ตลาดนัด ตัดแต่งกิ่งไม้บริเวณชายหาด พัฒนาแหล่งน้ํา
ในชุมชน พัฒนาหาดสวยทะเลใส กิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านในวันสําคัญ พัฒนาวัดทุกวันพระธรรมสวนะ
ทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน ห้องเรียน ห้องน้ํา – ห้องส้วมของโรงเรียน
โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๑๑๔ โรง
คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๑๖
๒. กิจกรรมจิตอาสาด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น กิจกรรมปลูกปุาชายเลน
กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพจากน้ําซาวข้าว กิจกรรมทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมปลูกหญ้าแฝก
และไม้ยืนต้นริมคลอง ปลูกต้นไม้บริเวณโรงเรียนและในชุมชน กิจกรรมธนาคารขยะ กิจกรรมขยะ
รีไซเคิล กิจกรรมขยะอินทรีย์ กิจกรรมอนุรักษ์ปุาชายเลน กิจกรรมปล่อยปลาในโครงการเฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กิจกรรมหนึ่งคน หนึ่งต้นไม้ในโรงเรียนและที่บ้าน กิจกรรมนํา
เศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ เช่น หมวก กระเป๋า กิ๊ปติดผม ดอกไม้ กระจงใส่ของ
กิจกรรมทําน้ํายาล้างจานจากน้ําหมักชีวภาพ ปลูกต้นโกงกางเลียบริมคลอง ทําปุ๋ยหมักชีวภาพ
กิจกรรมประหยัดพลังงาน ปิดไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง ปลูกไม้นามมงคลในสถานศึกษา ปลูกต้นไม้
หนึ่งห้องเรียนหนึ่งพันธ์ไม้ ปลูกสมุนไพรปราบศัตรูพืช กิจกรรมนําเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็น
ของใช้ เช่น นําใบตาลโตนด มาประดิษฐ์เป็นดอกไม้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน ปลูกปุา
เฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมหนึ่งห้องเรียน หนึ่งสวนหย่อม กิจกรรมปลูกปุาบริเวณชายฝ๎่งอ่าวไทย
โครงงานผลิตกระดาษจากฟางข้าว โครงงานการผลิต EM BALL ใช้ในการบําบัดน้ําเสีย กิจกรรมปลูก
ต้นไม้ในวันพ่อ – วันแม่แห่งชาติ ปลูกต้นไม้ในวัด สํานักสงฆ์ โครงงานขยะในมือเธอ กิจกรรม
ปรับปรุงภูมิทัศน์ จัดสวนหย่อม ตกแต่งกิ่งไม้บริเวณโรงเรียน กิจกรรมโรงเรียนน่าอยู่ โครงงานขยะ
มหัศจรรย์ รณรงค์การใช้ถุงพลาสติก และกล่องโฟมบรรจุอาหาร โครงงานรวมพลังขจัดขยะ กําจัด
ลูกน้ํายุงลาย กิจกรรมโรงเรียนสะอาด บรรยากาศสดชื่น ร่มรื่นด้วยพันธุ์ไม้ ปลูกต้นไม้แนวถนน
สาธารณะ กิจกรรมป๎้นดินกระดาษเป็นที่ทับหนังสือ กิจกรรมประดิษฐ์แจกันดอกไม้จากขวดและ
หลอดกาแฟ กิจกรรมเพาะเห็ดฟางในขวดโซดา กิจกรรมป๎กชํากล้าไม้โดยใช้ถุงนม กิจกรรมทํา
ภาชนะรูปปลาสําหรับปลูกต้นไม้จากลูกมะพร้าว กิจกรรมปลูกต้นไม้วันแม่แห่งชาติ กิจกรรม
ประดิษฐ์ดอกมะลิจากถุงพลาสติก กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวโดยใช้ล้อยางรถยนต์ กิจกรรมลด ละ
7
เลิกใช้สารเคมีเพื่อน้อมใจถวายในหลวง ทําน้ําหมักจากเศษอาหาร การทําอาหารปลาจากมูลนก
กระทา และเศษอาหารจากโรงอาหาร การทําอีเอ็มจากเศษนมสด
โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๗๐ โรง
คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๖๑
ในการดําเนินการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสํานึกในความเป็น
ชาติไทย และกิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม
ในสถานศึกษาที่ประสบความสําเร็จ และสถานศึกษาอีกหลายแห่งที่ดําเนินการแล้วแต่ยังไม่ประสบ
ความสําเร็จเท่าที่ควร มีสาเหตุมาจากหลายป๎จจัย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
๑. ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจ ระหว่างผู้บริหาร ครู วัด มัสยิด ชุมชน กรรมการ
สถานศึกษา ให้ความสําคัญและเป็นต้นแบบในการสร้างจิตสาธารณะ มีความเสียสละ นําทํากิจกรรม
และที่สําคัญคือ ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
๒. โรงเรียนบรรจุไว้ในหลักสูตร และบูรณาการการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ
ปัจจัยที่เป็นเหตุทาให้ยังไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร
๑. ผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบ มีการปรับเปลี่ยน ย้าย
๒. ผู้รับผิดชอบมีภาระงานของโรงเรียนและงานนโยบายหลายเรื่อง
๓. โรงเรียนยังไม่เชื่อมโยงกิจกรรมเข้าสู่การเรียนการสอนปกติ
๔. ขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ
ประโยชน์ของการดาเนินกิจกรรม
๑. นักเรียนมีภาวะผู้นํา และผู้ตามที่ดี มีจิตสาธารณะ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่
๒. นักเรียนมีคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ
๓. นักเรียนมีจิตสํานึกในการรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
๔. โรงเรียน มีความสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน
ข้อเสนอแนะ
๑. ผู้บริหารควรให้ความสําคัญ และประชุมมอบนโยบายแก่บุคลากรทุกคนทราบ
๒. ควรบูรณาการการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ
๓. ให้มีการนิเทศ กํากับ ติดตาม อย่างต่อเนื่อง
แนวทางในการพัฒนา
๑. ประชุมผู้บริหาร ครูฝุายวิชาการ เพื่อสร้างความเข้าใจในการจัดกิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในเรื่องของการสร้างจิตอาสา โดยเน้นในเรื่องจิตอาสาทางด้านสังคม โดยเฉพาะการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ยากไร้ ผู้ขาดแคลน อย่างจริงจัง และให้ทํากิจกรรมในรูปแบบของโครงงาน
๒. จัดประกวดโรงเรียนที่ดําเนินกิจกรรมได้ดีเด่น
- กิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม
- กิจกรรมจิตอาสาด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
8
- กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการสังคม
๓. ให้รางวัลแก่ผู้บริหารที่ดําเนินกิจกรรมได้ดีเด่น สามารถเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ขอนําเสนอตัวอย่างผลงานของโรงเรียนที่
ดําเนินกิจกรรมประสบความสําเร็จ และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่โรงเรียนอื่นได้
กิจกรรมด้านจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อสังคม
๑. โรงเรียนบ้านกลาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ศูนย์การเรียนรู้อิสลามศึกษาสร้างจิตอาสาชุมชน
- กิจกรรมซอดาเกาะฮ์ (การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ)
เป็นกิจกรรมที่ปลูกจิตสํานึกให้แก่นักเรียน เยาวชน ให้มีคุณธรรม จริยธรรมและรู้จัก
ช่วยเหลือคนในสังคมที่ยากจน และผู้ปุวยทุพพลภาพที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน
วิธีดาเนินการ
๑. สร้างคุณธรรมนําความรู้ จัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการศูนย์การเรียนรู้อิสลาม
ศึกษา สร้างจิตอาสาชุมชนและนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ป.6 เกี่ยวกับการสร้างจิตอาสาชุมชน นักเรียน
แกนนํามีจิตสํานึกและทราบป๎ญหา ช่วยกันหาแนวทางปูองกันและแก้ไขป๎ญหาที่เกิดขึ้น
๒. เน้นย้ํา – ทําความดี มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
๒.๑ ซอดาเกาะฮ์ (บริจาควันละ ๑ บาท) นักเรียน และครูในโรงเรียน
บ้านกลางร่วมกันบริจาคเงินวันละ ๑ บาท เพื่อนําเงินไปซื้อข้าวของเครื่องใช้ที่จําเป็นให้บ้านที่ขาด
แคลนทุกครัวเรือน
๒.๒ ๑ เดือน ๑ ครั้ง กับการให้ที่ไร้รูปแบบ ตามสภาพป๎ญหาและความ
ต้องการ นักเรียนกลุ่มแกนนําออกเยี่ยมเพื่อให้ความช่วยเหลือ ดูแลในเรื่องต่าง ๆ เช่น การบริจาค
สิ่งของ เงิน ป๎ดกวาด เช็ดถู ล้างถ้วยชาม ซักผ้า บ้านทั้ง ๑๕ ครอบครัว ซึ่งเป็นคนยากจน บุคคล
ทุพพลภาพ ของหมู่บ้านทั้ง ๕ ชุมชน ที่อยู่รอบ ๆ บริเวณโรงเรียน (บ้านใหญ่ดอนขี้เหล็ก บ้านนอก
บ้านนาโหนด บ้านหัวนอน และบ้านพรุ) ซึ่งเป็นพื้นที่บริการของโรงเรียน
ผลจากการดําเนินงาน
ด้านนักเรียน
- นักเรียนมีจิตสาธารณะ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละทรัพย์ เงินทอง
สิ่งของ แก่ผู้ยากไร้ โดยไม่หวังผลตอบแทน
ด้านโรงเรียน
- มีเยาวชนที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะบริการสังคม
ด้านชุมชน
- ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีน้ําใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปลอดสิ่งเสพติด
- โครงงานคุณธรรม “หมอน้อย”
จากข้อมูลของศูนย์การเรียนรู้อิสลามศึกษาสร้างจิตอาสาชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์ที่
ทางโรงเรียนบ้านกลางจัดตั้งขึ้น ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครู และตัวแทน
นักเรียน ซึ่งเป็นการออกไปเยี่ยม และให้ความช่วยเหลือครอบครัวที่อยู่รอบ ๆ โรงเรียน พบว่ามีคนชรา
จํานวนมากซึ่งเป็นผู้ปุวยที่ไม่สามารถไปรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาล หรือสถานีอนามัยใกล้บ้านได้
9
และผู้ปุวยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรับประทานยา และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้จัดทําโครงงานหมอน้อย ร่วมกับสถานีอนามัยบ้านนาป๋อง หรือโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพบ้านนาป๋อง เป็นการนํานักเรียนไปเรียนรู้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อจะได้ลงไปช่วยเหลือ
ผู้ปุวยในชุมชนได้
กลุ่มเป้าหมาย
๑. ผู้ปุวยโรคต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดัน อัมพฤกษ์ ที่อยู่ในเขตบริการของ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง
วิธีดาเนินการ
๑. หมอฝึกหัด (ทุกวันพฤหัสบดี) ตัวแทนนักเรียนกลุ่มอาสาสมัคร สา – สุข
จะออกไปฝึกงานกับหมอ และ อสม. ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง เป็นการฝึกช่วยเหลือ
ผู้ปุวย เช่น วัดความดัน เจาะเบาหวาน ล้างแผล
๒. หมออาสา (ออกเยี่ยมผู้ปุวยในชุมชน) ตัวแทนนักเรียนกลุ่มอาสาสมัคร สา – สุข
ร่วม อสม. ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง ออกไปเยี่ยม ดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ
และให้คําแนะนําเรื่องสุขภาพ เช่น การรับประทานยา การออกกําลังกาย แก่ผู้ปุวยในชุมชน
ผลการดาเนินงาน
ด้านนักเรียน
๑. นักเรียน และเยาวชน มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น
ช่วยเหลือสังคม
๒. นักเรียนมีภาวะผู้นํา มีความสามัคคีในหมู่คณะ
ด้านโรงเรียน
- โรงเรียนมีเยาวชนที่มีคุณธรรม จริยธรรม
ด้านชุมชน
- ได้รับขวัญกําลังใจ ความอบอุ่นจากเยาวชน
๒. โรงเรียนวัดแช่มอุทิศ อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา
- กิจกรรมพยาบาลจิ๋ว หัวใจแจ๋ว
วิธีดาเนินงาน
๑. ประชุมวางแผนออกเยี่ยมบ้านนักเรียน
๒. สํารวจป๎ญหาและความต้องการ
๓. รวบรวมป๎ญหาและดําเนินการแก้ไขจัดทําโครงงาน
๔. จัดทําทะเบียนผู้ปุวย ข้อมูลต่าง ๆ ของผู้ปุวย
๕. เชิญเจ้าหน้าที่อนามัย และ อสม.หมู่บ้านประชุมวางแผนกําหนดกิจกรรมร่วมกัน
ระหว่างนักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ
๖. ทําหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนวิธีการดูแลผู้ปุวย เช่น หลักสูตรการ
ดูแลผู้ปุวย การให้อาหาร การดูแลเรื่องความสะอาด การรับประทานยาแต่ละชนิด การออกกําลังกาย
10
ตลอดจนด้านอารมณ์
๗. นักเรียนดูแลผู้ปุวยขณะอยู่บ้านและวันหยุด โดยมีคุณครู และเจ้าหน้าที่อนามัย
เป็นพี่เลี้ยงคอยให้คําแนะนําเมื่อมีป๎ญหา
๘. ประเมินความพึงพอใจ
๙. สรุปเขียนรายงาน
๑๐. ขยายผลไปยังนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ และต่างโรงเรียน
ผลการดาเนินกิจกรรม
ด้านนักเรียน
๑. นักเรียนมีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความกตัญํู ได้ช่วยเหลือแบ่งเบา
ภาระผู้ปกครอง ทําให้ผู้ปกครองได้มีเวลาในการทํามาหากิน ทําให้ครอบครัวอบอุ่น
๒. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการดูแลผู้ปุวย เช่น การนวดเพื่อคลา
ความตึงเครียด
ด้านโรงเรียน
๑. โรงเรียนมีนักเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ทําให้สังคมในสถานศึกษา
เป็นแบบกัลยาณมิตร
๒. โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มีการประสานความร่วมมือในการ
พัฒนาในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมหลัก คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา กิจกรรมด้านการ
พัฒนาสังคม ศาสนาและด้านวัฒนธรรม หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวัน และส่งผลถึง
ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ในการปรับตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ด้านชุมชน
๑. ผู้ปุวยที่เป็นโรคเรื้อรังมีอาการดีขึ้น เช่น ความดันลดลง
เบาหวานลดลง มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี เพราะลูกหลานมีเวลาดูแลเอาใจใส่
๒. ชุมชนมีความเข้มแข็งน่าอยู่ มีเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี และเป็นกําลัง
สําคัญในการพัฒนาหมู่บ้าน และประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป
- กิจกรรมชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์
วิธีดาเนินการ
๑. ศึกษาวิเคราะห์สภาพป๎ญหาในชุมชนด้วยการจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน
นักเรียน
๒. จากการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนทุก ๆ ภาคเรียน พบป๎ญหาว่าคนในชุมชน
ขาดความรู้ความเข้าใจ การปูองกัน และการใช้ชีวิตร่วมกันในเรื่องโรคติดต่อที่มีอันตรายต่อสุขภาพและ
ชีวิต โดยเฉพาะโรคเอดส์ ที่สําคัญคือในโรงเรียนได้มีครอบครัวของนักเรียน หนึ่งครอบครัวที่มีผู้ติดเชื้อ
เอดส์ และมีนักเรียนกําลังเรียนอยู่ในโรงเรียนด้วย โรงเรียนจึงได้เล็งเห็นความสําคัญของป๎ญหานี้ และ
จากการพูดคุยสอบถามนักเรียนปรากฏว่านักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเอดส์น้อยมากทางโรงเรียนจึงได้
จัดตั้งชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์ขึ้น
๓. โรงเรียนประสานกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเขา
รูปช้าง เจ้าหน้าที่ อสม. ในหมู่บ้าน เพื่อจัดทําโครงการร่วมกัน
11
๔. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเขารูปช้าง เจ้าหน้าที่ อสม.
ในหมู่บ้านให้ความรู้กับนักเรียนทุกคนและร่วมกันจัดกิจกรรมกับนักเรียน เช่น จัดปูายนิเทศ
ผลการดาเนินงาน
ด้านนักเรียน
๑. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์สามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
เมื่อมีโอกาสใช้ชีวิตร่วมกับผู้ติดเชื้อ
๒. นักเรียนสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่กับคนในครอบครัวได้
ด้านโรงเรียน
โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ด้านชุมชน
คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์จากการทํากิจกรรม
ดังกล่าว ร่วมกับ อสม. และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ปรากฏว่าในชุมชนไม่มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น
กิจกรรมด้านจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
๑. โรงเรียนอนุบาลท่าสะอ้าน อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา
- โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นักเรียนโรงเรียนอนุบาลท่าสะอ้านส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ผู้ปกครองประกอบอาชีพ
การประมงชายฝ๎่ง และรับจ้างทั่วไป ไม่มีเวลาอบรมดูแลบุตรหลาน ทําให้นักเรียนสนใจการเรียนน้อย
ผลการเรียนค่อนข้างต่ํา โรงเรียนได้พยายามหาวิธีการและกิจกรรมที่นักเรียนสนใจ เพื่อแก้ไขป๎ญหา
ดังกล่าว
ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของวิทยาลัย
ประมงติณสูลานนท์ นักเรียนและผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมชีววิถีจํานวนมาก ทําให้ผล
การเรียนของนักเรียนดีขึ้น ผู้ปกครองให้ความร่วมมือโรงเรียนมากขึ้น
ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ๒๕๕๒ โรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ
ประเภทโรงเรียนที่ได้รับการขยายผลจากวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ ใช้ได้ผลดีเดยี่ยม โครงการชีววิถี
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิธีดาเนินงาน
ด้านครู บุคลากร
๑. จัดการเรียนการสอน โดยทําแผนการสอนที่เน้นกิจกรรมชีววิถี
๒. นักเรียนชั้น ป.๑ – ป.๖ ได้ฝึกปฏิบัติทุกคน
๓. ครู บุคลากร นักเรียน ศึกษาดูงานเพิ่มเติมความรู้จากแหล่งเรียนรู้
๔. จัดตั้งชมรมชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความสนใจ
และเป็นกําลังหลักในการทํากิจกรรมชีววิถี
๕. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เพื่อบริการข้อมูล ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้สนใจ
ทั่วไป
12
๖. จัดตั้งธนาคารจุลินทรีย์ ดี เอ็ม เพื่อให้บริการจุลินทรีย์ ขยายแก่ครู บุคลากร
นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้สนใจทั่วไป
๗. จัดให้มีกิจกรรมค่ายชีววิถี บูรณาการความรู้กับการเรียนการสอน สร้างความรู้
และแรงจูงใจกับนักเรียน
๘. จัดให้มีแปลงสาธิตกิจกรรมชีววิถี
ด้านนักเรียน
๑. นักเรียนเข้าร่วมโครงการชีววิถี
๒. เข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการชีววิถี ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น
๓. สมัครเป็นสมาชิกชมรมชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
๔. ร่วมกิจกรรมผลิตจุลินทรีย์ อี เอ็มขยาย
๕. ร่วมทําแปลงสาธิตและกิจกรรมอื่นตามโครงการชีววิถี เช่น
- การผลิตจุลินทรีย์ อี เอ็ม
- การผลิตปุ๋ยแห้งจากจุลินทรีย์ อี เอ็ม
- การผลิตปุ๋ยหมัก
- การผลิตสารไล่แมลงจากพืชสมุนไพร
- การทําน้ํายาเอนกประสงค์
- การเพาะเห็ด
- นําวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ เช่น นําก้อนเห็ดที่เก็บผลผลิตหมดแล้วมาใช้
ในการผลิตปุ๋ยโบกาฉิ การทําอาหารปลาจากมูลนกกะทา และเศษอาหารจากโรงอาหาร การทําปุ๋ย
หมักจากเศษใบไม้ การทํา อี เอ็ม จากเศษพืช การทํา อี เอ็ม จากเศษนมสด การนําเศษผลไม้มาทํา
น้ํายาเอนกประสงค์
ผลจากการดาเนินงาน
ด้านนักเรียน
๑. ได้รับความรู้การสร้างอาชีพ และทักษะในการทํางาน
๒. ได้นําความรู้จากการได้ฝึกปฏิบัติไปขายผลให้ผู้ปกครอง และทําเองที่บ้าน
๓. มีจิตอาสา โดยไม่หวังตอบแทน และมีความภาคภูมิใจในตนเอง
๔. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน ๘ ประการ
๕. นักเรียนมีส่วนช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
ด้านโรงเรียน
๑. เป็นศูนย์เรียนรู้ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา
เขต ๑
๒. เป็นศูนย์เรียนรู้ชีววิถีของวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์
๓. เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนดีเด่น ของมหาวิทยาลัยทักษิณ
๔. เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน ระดับชาติ
๕. เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง
๖. โรงเรียนน่าอยู่ สะอาด สวยงาม
ด้านชุมชน
13
๑. ได้รับความรู้ การสร้างอาชีพ จากโครงการชีววิถี
๒. มีความมั่นใจ และภาคภูมิใจ ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
๒. โรงเรียนท่าบอนมิตรภาพที่ ๙๐ อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา
กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- ทาน้าหมักชีวภาพ
เป็นกิจกรรมการรณรงค์ให้นักเรียนรู้จักนําเศษขยะและใบไม้ในโรงเรียนมาหมักเพื่อ
ทําปุ๋ยชีวภาพ ใช้การปลูกผัก เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูกผัก และได้รับประทานผัก
ที่ปลอดจากสารพิษ
- ทาก๊าชชีวภาพ
เป็นกิจกรรมที่ปลูกจิตสํานึกให้นักเรียนรู้คุณค่าของวัสดุใกล้ตัวที่ทุกคนมองข้าม
นํามาเพิ่มมูลค่าในการนํามูลสัตว์ (มูลโค) มาหมักเพื่อให้เกิดก๊าซชีวภาพนําไปใช้เป็นแก๊สหุงต้มใน
ครัวเรือน
- กิจกรรมงานประดิษฐ์จักสานจากเชือกกล้วย
- กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
- กิจกรรมเพาะถั่วงอกประหยัดน้า
เป็นกิจกรรมที่สร้างความตระหนักและปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
วิธีดาเนินงาน
๑. ประชุมวางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ
๒. อบรมเชิญวิทยากร ศึกษาดูงาน ค้นคว้าหาความรู้เพิ่ม
๓. จัดทําและสาธิตกิจกรรมต่าง ๆ
๔. นิเทศติดตามการดําเนินงาน
๕. ประเมิน วิเคราะห์ผลการดําเนินงาน
๖. สรุปผลการดําเนินงาน แก้ไขปรับปรุง
๗. นําข้อมูลมาจัดทําแผนงาน / โครงการในปีการศึกษาต่อไป
ผลการดาเนินงาน
ด้านนักเรียน
๑. นักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรม
๒. นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้จากภูมิป๎ญญาท้องถิ่น / ชุมชน
๓. นักเรียนมีคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ
๔. นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีรายได้เสริมระหว่างเรียน
ด้านโรงเรียน
๑. มีหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้
๒. มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตามความถนัด ความสนใจของผู้เรียน
และท้องถิ่น
๓. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียน และชุมชน ได้เรียนรู้
๔. ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรมปีการศึกษา ๒๕๕๓
14
๕. เป็นโรงเรียนวิถีพุทธต้นแบบ และเป็นโรงเรียนจิตอาสา
๖. ได้รับรางวัลพระราชทาน (รางชมเชย ระดับประเทศ)
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
๗. ได้รับรางวัลพระราชทาน ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕
ด้านชุมชน
๑. ผู้ปกครอง / ชุมชน ร้อยละ ๘๕ มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนของโรงเรียน
๒. ชุมชน / ท้องถิ่น มีโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้
๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม
และด้านสิ่งแวดล้อม ให้กับนักเรียน ป๎จจัยที่ทําให้โรงเรียนดําเนินการได้ประสบความสําเร็จ
มีหลายป๎จจัยประกอบกัน
๑. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา และนําคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไปสอดแทรก
ทุกหน่วยการเรียนรู้
๒. ผู้บริหารปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าของการทํากิจกรรม
ด้านจิตสาธารณะ และนําทํากิจกรรมอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง
๓. ความร่วมมือของครู บุคลากร นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และองค์กรภายนอก

More Related Content

What's hot (7)

Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
Curriculum
 
9789740333517
97897403335179789740333517
9789740333517
 
Developing
DevelopingDeveloping
Developing
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Similar to รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 

Similar to รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2 (20)

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from prsaowalak

Img 0003 new_0001
Img 0003 new_0001Img 0003 new_0001
Img 0003 new_0001prsaowalak
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษprsaowalak
 
ห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษprsaowalak
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่ ๔ส่วนที่ ๔
ส่วนที่ ๔prsaowalak
 
รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์prsaowalak
 
ประกาศ เอกสาร235
ประกาศ เอกสาร235ประกาศ เอกสาร235
ประกาศ เอกสาร235prsaowalak
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนprsaowalak
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายprsaowalak
 
ว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาprsaowalak
 

More from prsaowalak (15)

Img 0003 new_0001
Img 0003 new_0001Img 0003 new_0001
Img 0003 new_0001
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
ห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษห้องเรียนพิเศษ
ห้องเรียนพิเศษ
 
12 img
12 img12 img
12 img
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่ ๔ส่วนที่ ๔
ส่วนที่ ๔
 
รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์
 
ประกาศ เอกสาร235
ประกาศ เอกสาร235ประกาศ เอกสาร235
ประกาศ เอกสาร235
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Booking54
Booking54Booking54
Booking54
 
Booking54
Booking54Booking54
Booking54
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Rub 2
Rub 2Rub 2
Rub 2
 
Rub 1
Rub 1Rub 1
Rub 1
 
Rub 3
Rub 3Rub 3
Rub 3
 
ว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลาว่าด้วยการลา
ว่าด้วยการลา
 

รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2

  • 1. กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝ๎งคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นที่ ๒.๒ ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมกตัญํู และมี ความสํานึกในความเป็นไทย ความเป็นมา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พุทธศักราช ๒๕๔๕) กําหนดให้มีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เป็นหลักสูตร ที่ส่งเสริมให้สถานศึกษาประสานสัมพันธ์ และร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชน ให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝุรู้ใฝุเรียน มีทักษะและกระบวนการในการดําเนินชีวิต รักการออกกําลังกาย มีค่านิยมในการผลิต และบริโภค เข้าใจประวัติศาสตร์ของชาติไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิป๎ญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อมและรักประเทศชาติ และ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ นอกจากการเรียนใน ๘ กลุ่มสาระแล้ว ในส่วน ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนก็ถือเป็นสิ่งสําคัญซึ่งหลักสูตรได้จําแนกกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็น ๓ ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ซึ่งเป็นหน้าที่ ของสถานศึกษาทุกแห่งจะต้องเน้นการสร้างเยาวชนที่มีความสมดุล ลูกศิษย์ต้อง “เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีคุณลักษณะและมีสมรรถนะตามที่หลักสูตรกําหนด” สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กําหนดกลยุทธ์และจุดเน้น ในการ ดําเนินงานไว้เพื่อให้หน่วยงานนําไปขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ กลยุทธ์ ๖ กลยุทธ์ ประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Raising the bar) กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝ๎งคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Moral and Ethics) กลยุทธ์ที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ํา ผู้เรียน ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (Filling the gap) กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สมารถจัดกิจกรรม การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement) กลยุทธ์ที่ ๕ ฒนาการบริหารจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา (Good Governance) กลยุทธ์ที่ ๖ พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Education for Peace and Harmony) จุดเน้น ๑๐ จุดเน้น ประกอบด้วย ๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการ ทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ (Student Achievement)
  • 2. 2 ๒. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติป๎ญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ (EQ : E,otion Quotient) ๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้น พื้นฐาน ( Literacy , Numeracy & Reasoning Abilities) ๔. นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเป็นเป็น มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่าง พอเพียง (Sufficiency & Public Mind) ๕. นักเรียนที่มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปะศาสตร์ทุกคน ได้รับการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศ ( Excel to Excellence) ๖. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาด้วยทางเลือก ที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น ออกกลางคัน ส่งเสริมการเรียนต่อหรือประกอบอาชีพ (Alternative Access) ๗. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแห่ง ในเจตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับ อัตลักษณ์ของตน (Southern – Border Provinces) ๘. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) ๙. สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีระบบประกันคุณภาพ ภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools) ๑๐. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่งมีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา (Effective Service Areas) นโยบายเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ผอ.สพป.สงขลา เขต ๑ (นายปราโมทย์ ส่งสิงห์) ๑. เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระหลัก ร้อยละ ๔ และค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ ๒. พัฒนาความสามารถด้านการอ่าน การเขียนของนักเรียน ชั้น ป.๓ ๓. ส่งเสริมการใช้ ICT และ Tablet เพื่อการเรียนรู้ ๔. อาเซียนศึกษา และภาษาอาเซียน ๕. พัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ๖. สร้างโอกาสทางการศึกษา (ส่งเสริมการเข้าเรียน แก้ป๎ญหาและลดอัตรานักเรียน ตกหล่น / นักเรียนออกกลางคัน) ๗. สํานักงานมีคุณภาพ ๘. การพัฒนาสภาพภูมิทัศน์โรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ (สวยงาม ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้) ๙ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗ ปีทองของการนิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผล)
  • 3. 3 จุดเน้นของ ผอ.สพป.สงขลา เขต ๑ สาหรับสถานศึกษา ๑. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ต้องอยู่ประจําโรงเรียน ๒. ลดภาระงานอื่น ๆ ลง เช่น การประชุมที่ไม่จําเป็น เน้นการเรียนการสอน การบริหารโรงเรียน ๓. สอนนักเรียนเต็มที่ เต็มเวลา เต็มศักยภาพ ๔. นักเรียนชั้น ป.๓ อ่านคล่อง เขียนคล่อง (จะมีการวัดประเมินผล) ๕. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ O – Net ให้สูงกว่าเปูาที่ สพฐ. วางไว้ ๖. ผู้มีผลงานดีเด่นระดับชาติ หรือ อื่น ๆ ที่น่าสนใจ จะได้รับความดีความชอบ ๗. ภูมิทัศน์โรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุด ห้องสุขา ได้รับการ ดูแลให้สวยงามสะอาด ร่มรื่น สร้างสรรค์ บรรยากาศการเรียนรู้ มีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ยืนต้นในโรงเรียน (จะมีการประกวดตามขนาดโรงเรียน) การจัดเก็บพัสดุครุภัณฑ์เป็นระเบียบ สะดวก ปลอดภัย ๘. จุดเด่นของนโยบายที่สําคัญของกระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษาต้องนําสู่การ ปฏิบัติ เช่น โครงการแท็บเล็ต อาเซียนศึกษา ฯลฯ ๙. ข้าราชการครูและบุคลากรสังกัด สพป.สงขลา เขต ๑ ต้องเป็นหนึ่ง รูรักสามัคคี ๑๐. ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ปีทองของการนิเทศ กํากับติดตาม ประเมินผล จะมีคณะออกติตาม นิเทศ กํากับ เยี่ยมเยียน ทุกสถานศึกษา ๑๑. การเข้าสู่สถานศึกษายุคใหม่ ด้วยการสอนภาษาที่ ๒ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน สถานศึกษาที่มีศักยภาพควรดําเนินการได้โดยทันที สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ได้สนองนโยบายของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดทุกโรงจัด กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกิจกรรมดังต่อไปนี้ ๑. กิจกรรมศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสาชุมชน (ศูนย์ GIVE & TAKE) ๒. กิจกรรมโครงงานคุณธรรมสํานึกดี CSR ๓. กิจกรรมค่ายพระ โต๊ะครู ครู ผู้ปกครอง ทั้ง ๓ กิจกรรม สถานศึกษาได้ดําเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นมา ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ได้กําหนดนโยบายเพิ่มเติม ในการปลูกฝ๎งคุณธรรมในสถานศึกษา โดยเน้นการยิ้ม ไหว้ ทักทาย และ การมีจิตสาธารณะ ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ๙. ได้กําหนดนโยบายเพิ่มเติม ในการปลูกฝ๎งคุณธรรมในสถานศึกษา โดยเน้นการ พัฒนาสภาพภูมิทัศน์โรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ (สวยงาม ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย บรรยากาศเอื้อ ต่อการเรียนรู้)
  • 4. 4 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก และเยาวชน ได้พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ มีความกตัญํู รับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ ความเข้าใจในระบอบ ประชาธิปไตย มีความสํานึกในความเป็นไทย และปฏิบัติตนให้ปลอดภัย และห่างไกลจากสิ่งเสพติด ๒. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสํานึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๓. เพื่อสนับสนุนให้ บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วน ร่วมในการสรรสร้างความเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ร่วมกันดูแลช่วยเหลือ และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียน เป้าหมาย โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ทุกโรง ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม มิจิตอาสา บริการชุมชน รับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม มีความรู้ ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยปฏิบัติตนให้ปลอดภัย และห่างไกลจากสิ่งเสพติด ๒. นักเรียนมีจิตสํานึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๓. บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการสรรสร้าง ความเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ร่วมกันดูแลช่วยเหลือและสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพชีวิตและจิตใจที่ดีมีความรับผิดชอบต่อตนเองและอยู่ร่วมกัน ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผลการสังเคราะห์การดาเนินงาน การดําเนินการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติ ไทย และกิจกรรมส่งเสริมจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม โรงเรียนใน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ทุกโรงเรียน จํานวน ๑๔๔ โรง ได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอสามารถนํามาสังเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ ได้ดังนี้ กิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม จําแนกเป็น ๓ ด้าน ๑. กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ เช่น กิจกรรมความรักความห่วงใยผู้สูงวัย ผู้ ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ในเขตบริการของโรงเรียน (โดยนําของใช้ เสื้อผ้า ข้าวสาร อาหารแห้ง เงิน ไปบริจาค ทําความสะอาดบ้าน ล้างจาน ห้องน้ํา ตักน้ําใส่โอ่งไว้ให้คนชรา คนพิการ ได้ใว้ใช้ ประจําวัน เดือนละ ๑ ครั้ง) กิจกรรมพยาบาลจิ๋วหัวใจแจ๋ว (เป็นกิจกรรมที่นักเรียนช่วยบริการ
  • 5. 5 บีบนวด ให้อาหารทางสายยาง ช่วยสอนการออกกําลังกายให้แก่ผู้ปุวยในชุมชน) กิจกรรมหมอน้อย (นักเรียนไปเรียนรู้การพยาบาลผู้ปุวยจากโรงพยาบาล สาธารณสุข ช่วยเหลือหมอ และเจ้าหน้าที่ อนามัย เช่น ช่วยวัดส่วนสูง ชั่งน้ําหนัก วัดความดัน ช่วยเหลือคนปุวยในโรงพยาบาล) กิจกรรมพี่ สอนน้องทํานองนิทาน บริการเสิร์ฟน้ํา ล้างจาน รํากลองยาวในงานทอดกฐิน งานทอดผ้าปุาของวัด กิจกรรมอวยพรวันเกิดเพื่อนร่วมชั้น กิจกรรมพี่ไหว้พี่ เพื่อนไหว้เพื่อน น้องไหว้พี่ พี่ไหว้น้อง นักเรียน ไหว้ครู ครูไหว้ครู กิจกรรมยิ้ม ไหว้ ทักทาย กิจกรรมพี่ช่วยน้อง กิจกรรมอาสาจราจร บริการการ ข้ามถนนของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน กิจกรรมแสดงหนังตะลุงให้ นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวในชุมชนดู กิจกรรมรับส่งเพื่อน ๆ น้อง ๆ ข้ามถนน ขึ้น – ลงสะพานลอย เช้า – เย็น กิจกรรมใช้คําพูดที่สุภาพ กิจกรรมเพื่อนเตือนเพื่อน กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรม ของหายได้คืน ช่วยงานบุญต่าง ๆ ของชุมชน กิจกรรมขนทรายเข้าวัด กิจกรรมชวนน้องเข้าวัด กิจกรรมเสนอข่าว เล่านิทานในตอนเช้าและพักกลางวัน มอบของใช้และสิ่งของที่จําเป็นแก่สถาน สงเคราะห์บ้านเด็กกําพร้า กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพ ทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมรณรงค์กําจัด ยุงลาย กิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้ง กิจกรรมการรณรงค์ยาเสพติด กิจกรรมชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์ กิจกรรมพี่อ่านหนังสือให้น้องฟ๎งเวลาพักกลางวัน กิจกรรมรณรงค์การประหยัดน้ํา ประหยัดไฟ กิจกรรมบันทึกความดี กิจกรรมคัดเลือกเด็กดีศรีวัดผา กิจกรรมวัดสวยด้วยมือเรา กิจกรรมรณรงค์ การปูองกันไข้เลือดออก กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ภูมิป๎ญญาไทย กิจกรรมแห่เทียน พรรษา และถวายเทียนพรรษา กิจกรรมนวดแผนไทย กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น กิจกรรมใจสั่งให้ทําความดี กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพฟ๎น โดยนักเรียนกลุ่มอาสาออกเผยแพร่แผ่น พับเรื่องฟ๎น สู่ชุมชน กิจกรรมเชิดหุ่นสะดุดให้คิด นักเรียนกลุ่มอาสาจะเชิดหุ่นให้เพื่อน น้องๆ และ ชุมชนฟ๎ง และชักชวนให้ ลด ละ เลิก อาหารที่มีรสหวาน ที่เป็นอันตรายต่อปากและสุขภาพฟ๎น กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๑๒๐ โรง คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓ ๒. กิจกรรมจิตอาสาด้านวิชาการ เช่น กิจกรรมพี่อ่านหนังสือให้น้องฟ๎ง รณรงค์กําจัดลูกน้ํายุงลาย รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด รณรงค์การประหยัดน้ํา – ประหยัดไฟ รณรงค์ การเลือกตั้ง กิจกรรมยุวบรรณารักษ์น้อย โครงงานข้าวปลอดพิษ ชีวิตปลอดโรค โลกปลอดภัย สังคมไทยยั่งยืน (ทําข้าวซ้อมมือ) กิจกรรมเล่าข่าวประจําวัน กิจกรรมพี่นําน้องอ่าน กิจกรรมยกย่อง คนดี กิจกรรมธนาคารความดี กิจกรรมธนาคารบุญ กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพจากน้ําซาวข้าว ทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมคัดเลือกคนดีมีคุณธรรมด้านการประหยัดและออมในชุมชน ค่าย วิทยาศาสตร์สอนน้อง (เป็นกิจกรรมที่นักเรียนออกไปจัดค่ายสอนวิทยาศาสตร์ให้แก่น้องต่างโรงเรียน ซึ่ง เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก อยู่ในชนบท กิจกรรมมารยาทไทย กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมออมทรัพย์ โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๓๑ โรง คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๕๒ ๓. กิจกรรมจิตอาสาด้านศาสนา เช่น ชวนน้องเข้าวัดวันธรรมะสวนะ เป็น พิธีกรปฎิบัติพิธีทางพุทธศาสนาร่วมกับชุมชน ไปวัดฟ๎งธรรมร่วมกับชุมชน กิจกรรมนักเรียนนําปิ่นโต
  • 6. 6 ไปวัด ศึกษาธรรมะ สวดมนต์ ไหว้พระ กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา กิจกรรมแห่เทียนพรรษา ถวายเทียนพรรษา กิจกรรมบรรพชาภาคฤดูร้อน กิจกรรมหนึ่งปิ่นโต หนึ่งวันพระ กิจกรรมวันธรรมสวนะ กิจกรรมชวนน้องเข้าวัด กิจกรรมพบพระทุกวันศุกร์ กิจกรรมสมาธิภาคบ่ายคลายกังวล โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๒๒ โรง คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๗ กิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม จําแนกเป็น ๒ ด้าน ๑. กิจกรรมจิตอาสาด้านการพัฒนา เช่น พัฒนาสถานที่สาธารณะประโยชน์ ทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน มัสยิด วัด ตลาดนัด ตัดแต่งกิ่งไม้บริเวณชายหาด พัฒนาแหล่งน้ํา ในชุมชน พัฒนาหาดสวยทะเลใส กิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านในวันสําคัญ พัฒนาวัดทุกวันพระธรรมสวนะ ทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน ห้องเรียน ห้องน้ํา – ห้องส้วมของโรงเรียน โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๑๑๔ โรง คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๑๖ ๒. กิจกรรมจิตอาสาด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น กิจกรรมปลูกปุาชายเลน กิจกรรมทําปุ๋ยน้ําชีวภาพจากน้ําซาวข้าว กิจกรรมทําปุ๋ยอินทรีย์จากใบไม้ กิจกรรมปลูกหญ้าแฝก และไม้ยืนต้นริมคลอง ปลูกต้นไม้บริเวณโรงเรียนและในชุมชน กิจกรรมธนาคารขยะ กิจกรรมขยะ รีไซเคิล กิจกรรมขยะอินทรีย์ กิจกรรมอนุรักษ์ปุาชายเลน กิจกรรมปล่อยปลาในโครงการเฉลิมพระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กิจกรรมหนึ่งคน หนึ่งต้นไม้ในโรงเรียนและที่บ้าน กิจกรรมนํา เศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ เช่น หมวก กระเป๋า กิ๊ปติดผม ดอกไม้ กระจงใส่ของ กิจกรรมทําน้ํายาล้างจานจากน้ําหมักชีวภาพ ปลูกต้นโกงกางเลียบริมคลอง ทําปุ๋ยหมักชีวภาพ กิจกรรมประหยัดพลังงาน ปิดไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง ปลูกไม้นามมงคลในสถานศึกษา ปลูกต้นไม้ หนึ่งห้องเรียนหนึ่งพันธ์ไม้ ปลูกสมุนไพรปราบศัตรูพืช กิจกรรมนําเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็น ของใช้ เช่น นําใบตาลโตนด มาประดิษฐ์เป็นดอกไม้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน ปลูกปุา เฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมหนึ่งห้องเรียน หนึ่งสวนหย่อม กิจกรรมปลูกปุาบริเวณชายฝ๎่งอ่าวไทย โครงงานผลิตกระดาษจากฟางข้าว โครงงานการผลิต EM BALL ใช้ในการบําบัดน้ําเสีย กิจกรรมปลูก ต้นไม้ในวันพ่อ – วันแม่แห่งชาติ ปลูกต้นไม้ในวัด สํานักสงฆ์ โครงงานขยะในมือเธอ กิจกรรม ปรับปรุงภูมิทัศน์ จัดสวนหย่อม ตกแต่งกิ่งไม้บริเวณโรงเรียน กิจกรรมโรงเรียนน่าอยู่ โครงงานขยะ มหัศจรรย์ รณรงค์การใช้ถุงพลาสติก และกล่องโฟมบรรจุอาหาร โครงงานรวมพลังขจัดขยะ กําจัด ลูกน้ํายุงลาย กิจกรรมโรงเรียนสะอาด บรรยากาศสดชื่น ร่มรื่นด้วยพันธุ์ไม้ ปลูกต้นไม้แนวถนน สาธารณะ กิจกรรมป๎้นดินกระดาษเป็นที่ทับหนังสือ กิจกรรมประดิษฐ์แจกันดอกไม้จากขวดและ หลอดกาแฟ กิจกรรมเพาะเห็ดฟางในขวดโซดา กิจกรรมป๎กชํากล้าไม้โดยใช้ถุงนม กิจกรรมทํา ภาชนะรูปปลาสําหรับปลูกต้นไม้จากลูกมะพร้าว กิจกรรมปลูกต้นไม้วันแม่แห่งชาติ กิจกรรม ประดิษฐ์ดอกมะลิจากถุงพลาสติก กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวโดยใช้ล้อยางรถยนต์ กิจกรรมลด ละ
  • 7. 7 เลิกใช้สารเคมีเพื่อน้อมใจถวายในหลวง ทําน้ําหมักจากเศษอาหาร การทําอาหารปลาจากมูลนก กระทา และเศษอาหารจากโรงอาหาร การทําอีเอ็มจากเศษนมสด โรงเรียนที่ดําเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาด้านบริการ จํานวน ๗๐ โรง คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๖๑ ในการดําเนินการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสํานึกในความเป็น ชาติไทย และกิจกรรมส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ในสถานศึกษาที่ประสบความสําเร็จ และสถานศึกษาอีกหลายแห่งที่ดําเนินการแล้วแต่ยังไม่ประสบ ความสําเร็จเท่าที่ควร มีสาเหตุมาจากหลายป๎จจัย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ ๑. ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจ ระหว่างผู้บริหาร ครู วัด มัสยิด ชุมชน กรรมการ สถานศึกษา ให้ความสําคัญและเป็นต้นแบบในการสร้างจิตสาธารณะ มีความเสียสละ นําทํากิจกรรม และที่สําคัญคือ ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๒. โรงเรียนบรรจุไว้ในหลักสูตร และบูรณาการการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ ปัจจัยที่เป็นเหตุทาให้ยังไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ๑. ผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบ มีการปรับเปลี่ยน ย้าย ๒. ผู้รับผิดชอบมีภาระงานของโรงเรียนและงานนโยบายหลายเรื่อง ๓. โรงเรียนยังไม่เชื่อมโยงกิจกรรมเข้าสู่การเรียนการสอนปกติ ๔. ขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ ประโยชน์ของการดาเนินกิจกรรม ๑. นักเรียนมีภาวะผู้นํา และผู้ตามที่ดี มีจิตสาธารณะ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ๒. นักเรียนมีคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ๓. นักเรียนมีจิตสํานึกในการรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ๔. โรงเรียน มีความสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน ข้อเสนอแนะ ๑. ผู้บริหารควรให้ความสําคัญ และประชุมมอบนโยบายแก่บุคลากรทุกคนทราบ ๒. ควรบูรณาการการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ ๓. ให้มีการนิเทศ กํากับ ติดตาม อย่างต่อเนื่อง แนวทางในการพัฒนา ๑. ประชุมผู้บริหาร ครูฝุายวิชาการ เพื่อสร้างความเข้าใจในการจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องของการสร้างจิตอาสา โดยเน้นในเรื่องจิตอาสาทางด้านสังคม โดยเฉพาะการให้ความช่วยเหลือ ผู้ยากไร้ ผู้ขาดแคลน อย่างจริงจัง และให้ทํากิจกรรมในรูปแบบของโครงงาน ๒. จัดประกวดโรงเรียนที่ดําเนินกิจกรรมได้ดีเด่น - กิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม - กิจกรรมจิตอาสาด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 8. 8 - กิจกรรมจิตอาสาด้านบริการสังคม ๓. ให้รางวัลแก่ผู้บริหารที่ดําเนินกิจกรรมได้ดีเด่น สามารถเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ขอนําเสนอตัวอย่างผลงานของโรงเรียนที่ ดําเนินกิจกรรมประสบความสําเร็จ และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่โรงเรียนอื่นได้ กิจกรรมด้านจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อสังคม ๑. โรงเรียนบ้านกลาง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ศูนย์การเรียนรู้อิสลามศึกษาสร้างจิตอาสาชุมชน - กิจกรรมซอดาเกาะฮ์ (การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ) เป็นกิจกรรมที่ปลูกจิตสํานึกให้แก่นักเรียน เยาวชน ให้มีคุณธรรม จริยธรรมและรู้จัก ช่วยเหลือคนในสังคมที่ยากจน และผู้ปุวยทุพพลภาพที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน วิธีดาเนินการ ๑. สร้างคุณธรรมนําความรู้ จัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการศูนย์การเรียนรู้อิสลาม ศึกษา สร้างจิตอาสาชุมชนและนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ป.6 เกี่ยวกับการสร้างจิตอาสาชุมชน นักเรียน แกนนํามีจิตสํานึกและทราบป๎ญหา ช่วยกันหาแนวทางปูองกันและแก้ไขป๎ญหาที่เกิดขึ้น ๒. เน้นย้ํา – ทําความดี มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ ๒.๑ ซอดาเกาะฮ์ (บริจาควันละ ๑ บาท) นักเรียน และครูในโรงเรียน บ้านกลางร่วมกันบริจาคเงินวันละ ๑ บาท เพื่อนําเงินไปซื้อข้าวของเครื่องใช้ที่จําเป็นให้บ้านที่ขาด แคลนทุกครัวเรือน ๒.๒ ๑ เดือน ๑ ครั้ง กับการให้ที่ไร้รูปแบบ ตามสภาพป๎ญหาและความ ต้องการ นักเรียนกลุ่มแกนนําออกเยี่ยมเพื่อให้ความช่วยเหลือ ดูแลในเรื่องต่าง ๆ เช่น การบริจาค สิ่งของ เงิน ป๎ดกวาด เช็ดถู ล้างถ้วยชาม ซักผ้า บ้านทั้ง ๑๕ ครอบครัว ซึ่งเป็นคนยากจน บุคคล ทุพพลภาพ ของหมู่บ้านทั้ง ๕ ชุมชน ที่อยู่รอบ ๆ บริเวณโรงเรียน (บ้านใหญ่ดอนขี้เหล็ก บ้านนอก บ้านนาโหนด บ้านหัวนอน และบ้านพรุ) ซึ่งเป็นพื้นที่บริการของโรงเรียน ผลจากการดําเนินงาน ด้านนักเรียน - นักเรียนมีจิตสาธารณะ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละทรัพย์ เงินทอง สิ่งของ แก่ผู้ยากไร้ โดยไม่หวังผลตอบแทน ด้านโรงเรียน - มีเยาวชนที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะบริการสังคม ด้านชุมชน - ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีน้ําใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปลอดสิ่งเสพติด - โครงงานคุณธรรม “หมอน้อย” จากข้อมูลของศูนย์การเรียนรู้อิสลามศึกษาสร้างจิตอาสาชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์ที่ ทางโรงเรียนบ้านกลางจัดตั้งขึ้น ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครู และตัวแทน นักเรียน ซึ่งเป็นการออกไปเยี่ยม และให้ความช่วยเหลือครอบครัวที่อยู่รอบ ๆ โรงเรียน พบว่ามีคนชรา จํานวนมากซึ่งเป็นผู้ปุวยที่ไม่สามารถไปรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาล หรือสถานีอนามัยใกล้บ้านได้
  • 9. 9 และผู้ปุวยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรับประทานยา และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้จัดทําโครงงานหมอน้อย ร่วมกับสถานีอนามัยบ้านนาป๋อง หรือโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพบ้านนาป๋อง เป็นการนํานักเรียนไปเรียนรู้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อจะได้ลงไปช่วยเหลือ ผู้ปุวยในชุมชนได้ กลุ่มเป้าหมาย ๑. ผู้ปุวยโรคต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดัน อัมพฤกษ์ ที่อยู่ในเขตบริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง วิธีดาเนินการ ๑. หมอฝึกหัด (ทุกวันพฤหัสบดี) ตัวแทนนักเรียนกลุ่มอาสาสมัคร สา – สุข จะออกไปฝึกงานกับหมอ และ อสม. ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง เป็นการฝึกช่วยเหลือ ผู้ปุวย เช่น วัดความดัน เจาะเบาหวาน ล้างแผล ๒. หมออาสา (ออกเยี่ยมผู้ปุวยในชุมชน) ตัวแทนนักเรียนกลุ่มอาสาสมัคร สา – สุข ร่วม อสม. ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาป๋อง ออกไปเยี่ยม ดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ และให้คําแนะนําเรื่องสุขภาพ เช่น การรับประทานยา การออกกําลังกาย แก่ผู้ปุวยในชุมชน ผลการดาเนินงาน ด้านนักเรียน ๑. นักเรียน และเยาวชน มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม ๒. นักเรียนมีภาวะผู้นํา มีความสามัคคีในหมู่คณะ ด้านโรงเรียน - โรงเรียนมีเยาวชนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ด้านชุมชน - ได้รับขวัญกําลังใจ ความอบอุ่นจากเยาวชน ๒. โรงเรียนวัดแช่มอุทิศ อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา - กิจกรรมพยาบาลจิ๋ว หัวใจแจ๋ว วิธีดาเนินงาน ๑. ประชุมวางแผนออกเยี่ยมบ้านนักเรียน ๒. สํารวจป๎ญหาและความต้องการ ๓. รวบรวมป๎ญหาและดําเนินการแก้ไขจัดทําโครงงาน ๔. จัดทําทะเบียนผู้ปุวย ข้อมูลต่าง ๆ ของผู้ปุวย ๕. เชิญเจ้าหน้าที่อนามัย และ อสม.หมู่บ้านประชุมวางแผนกําหนดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างนักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ ๖. ทําหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนวิธีการดูแลผู้ปุวย เช่น หลักสูตรการ ดูแลผู้ปุวย การให้อาหาร การดูแลเรื่องความสะอาด การรับประทานยาแต่ละชนิด การออกกําลังกาย
  • 10. 10 ตลอดจนด้านอารมณ์ ๗. นักเรียนดูแลผู้ปุวยขณะอยู่บ้านและวันหยุด โดยมีคุณครู และเจ้าหน้าที่อนามัย เป็นพี่เลี้ยงคอยให้คําแนะนําเมื่อมีป๎ญหา ๘. ประเมินความพึงพอใจ ๙. สรุปเขียนรายงาน ๑๐. ขยายผลไปยังนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ และต่างโรงเรียน ผลการดาเนินกิจกรรม ด้านนักเรียน ๑. นักเรียนมีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความกตัญํู ได้ช่วยเหลือแบ่งเบา ภาระผู้ปกครอง ทําให้ผู้ปกครองได้มีเวลาในการทํามาหากิน ทําให้ครอบครัวอบอุ่น ๒. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการดูแลผู้ปุวย เช่น การนวดเพื่อคลา ความตึงเครียด ด้านโรงเรียน ๑. โรงเรียนมีนักเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ทําให้สังคมในสถานศึกษา เป็นแบบกัลยาณมิตร ๒. โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มีการประสานความร่วมมือในการ พัฒนาในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมหลัก คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา กิจกรรมด้านการ พัฒนาสังคม ศาสนาและด้านวัฒนธรรม หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวัน และส่งผลถึง ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ในการปรับตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ด้านชุมชน ๑. ผู้ปุวยที่เป็นโรคเรื้อรังมีอาการดีขึ้น เช่น ความดันลดลง เบาหวานลดลง มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี เพราะลูกหลานมีเวลาดูแลเอาใจใส่ ๒. ชุมชนมีความเข้มแข็งน่าอยู่ มีเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี และเป็นกําลัง สําคัญในการพัฒนาหมู่บ้าน และประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป - กิจกรรมชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์ วิธีดาเนินการ ๑. ศึกษาวิเคราะห์สภาพป๎ญหาในชุมชนด้วยการจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน นักเรียน ๒. จากการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนทุก ๆ ภาคเรียน พบป๎ญหาว่าคนในชุมชน ขาดความรู้ความเข้าใจ การปูองกัน และการใช้ชีวิตร่วมกันในเรื่องโรคติดต่อที่มีอันตรายต่อสุขภาพและ ชีวิต โดยเฉพาะโรคเอดส์ ที่สําคัญคือในโรงเรียนได้มีครอบครัวของนักเรียน หนึ่งครอบครัวที่มีผู้ติดเชื้อ เอดส์ และมีนักเรียนกําลังเรียนอยู่ในโรงเรียนด้วย โรงเรียนจึงได้เล็งเห็นความสําคัญของป๎ญหานี้ และ จากการพูดคุยสอบถามนักเรียนปรากฏว่านักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเอดส์น้อยมากทางโรงเรียนจึงได้ จัดตั้งชมรมวัยใสต้านภัยเอดส์ขึ้น ๓. โรงเรียนประสานกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเขา รูปช้าง เจ้าหน้าที่ อสม. ในหมู่บ้าน เพื่อจัดทําโครงการร่วมกัน
  • 11. 11 ๔. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเขารูปช้าง เจ้าหน้าที่ อสม. ในหมู่บ้านให้ความรู้กับนักเรียนทุกคนและร่วมกันจัดกิจกรรมกับนักเรียน เช่น จัดปูายนิเทศ ผลการดาเนินงาน ด้านนักเรียน ๑. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์สามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง เมื่อมีโอกาสใช้ชีวิตร่วมกับผู้ติดเชื้อ ๒. นักเรียนสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่กับคนในครอบครัวได้ ด้านโรงเรียน โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ด้านชุมชน คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์จากการทํากิจกรรม ดังกล่าว ร่วมกับ อสม. และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ปรากฏว่าในชุมชนไม่มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น กิจกรรมด้านจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ๑. โรงเรียนอนุบาลท่าสะอ้าน อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา - โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน นักเรียนโรงเรียนอนุบาลท่าสะอ้านส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ผู้ปกครองประกอบอาชีพ การประมงชายฝ๎่ง และรับจ้างทั่วไป ไม่มีเวลาอบรมดูแลบุตรหลาน ทําให้นักเรียนสนใจการเรียนน้อย ผลการเรียนค่อนข้างต่ํา โรงเรียนได้พยายามหาวิธีการและกิจกรรมที่นักเรียนสนใจ เพื่อแก้ไขป๎ญหา ดังกล่าว ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของวิทยาลัย ประมงติณสูลานนท์ นักเรียนและผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมชีววิถีจํานวนมาก ทําให้ผล การเรียนของนักเรียนดีขึ้น ผู้ปกครองให้ความร่วมมือโรงเรียนมากขึ้น ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ๒๕๕๒ โรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภทโรงเรียนที่ได้รับการขยายผลจากวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ ใช้ได้ผลดีเดยี่ยม โครงการชีววิถี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน วิธีดาเนินงาน ด้านครู บุคลากร ๑. จัดการเรียนการสอน โดยทําแผนการสอนที่เน้นกิจกรรมชีววิถี ๒. นักเรียนชั้น ป.๑ – ป.๖ ได้ฝึกปฏิบัติทุกคน ๓. ครู บุคลากร นักเรียน ศึกษาดูงานเพิ่มเติมความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ๔. จัดตั้งชมรมชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความสนใจ และเป็นกําลังหลักในการทํากิจกรรมชีววิถี ๕. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เพื่อบริการข้อมูล ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้สนใจ ทั่วไป
  • 12. 12 ๖. จัดตั้งธนาคารจุลินทรีย์ ดี เอ็ม เพื่อให้บริการจุลินทรีย์ ขยายแก่ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้สนใจทั่วไป ๗. จัดให้มีกิจกรรมค่ายชีววิถี บูรณาการความรู้กับการเรียนการสอน สร้างความรู้ และแรงจูงใจกับนักเรียน ๘. จัดให้มีแปลงสาธิตกิจกรรมชีววิถี ด้านนักเรียน ๑. นักเรียนเข้าร่วมโครงการชีววิถี ๒. เข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการชีววิถี ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น ๓. สมัครเป็นสมาชิกชมรมชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๔. ร่วมกิจกรรมผลิตจุลินทรีย์ อี เอ็มขยาย ๕. ร่วมทําแปลงสาธิตและกิจกรรมอื่นตามโครงการชีววิถี เช่น - การผลิตจุลินทรีย์ อี เอ็ม - การผลิตปุ๋ยแห้งจากจุลินทรีย์ อี เอ็ม - การผลิตปุ๋ยหมัก - การผลิตสารไล่แมลงจากพืชสมุนไพร - การทําน้ํายาเอนกประสงค์ - การเพาะเห็ด - นําวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ เช่น นําก้อนเห็ดที่เก็บผลผลิตหมดแล้วมาใช้ ในการผลิตปุ๋ยโบกาฉิ การทําอาหารปลาจากมูลนกกะทา และเศษอาหารจากโรงอาหาร การทําปุ๋ย หมักจากเศษใบไม้ การทํา อี เอ็ม จากเศษพืช การทํา อี เอ็ม จากเศษนมสด การนําเศษผลไม้มาทํา น้ํายาเอนกประสงค์ ผลจากการดาเนินงาน ด้านนักเรียน ๑. ได้รับความรู้การสร้างอาชีพ และทักษะในการทํางาน ๒. ได้นําความรู้จากการได้ฝึกปฏิบัติไปขายผลให้ผู้ปกครอง และทําเองที่บ้าน ๓. มีจิตอาสา โดยไม่หวังตอบแทน และมีความภาคภูมิใจในตนเอง ๔. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน ๘ ประการ ๕. นักเรียนมีส่วนช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ด้านโรงเรียน ๑. เป็นศูนย์เรียนรู้ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ ๒. เป็นศูนย์เรียนรู้ชีววิถีของวิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ ๓. เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนดีเด่น ของมหาวิทยาลัยทักษิณ ๔. เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน ระดับชาติ ๕. เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง ๖. โรงเรียนน่าอยู่ สะอาด สวยงาม ด้านชุมชน
  • 13. 13 ๑. ได้รับความรู้ การสร้างอาชีพ จากโครงการชีววิถี ๒. มีความมั่นใจ และภาคภูมิใจ ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ๒. โรงเรียนท่าบอนมิตรภาพที่ ๙๐ อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ทาน้าหมักชีวภาพ เป็นกิจกรรมการรณรงค์ให้นักเรียนรู้จักนําเศษขยะและใบไม้ในโรงเรียนมาหมักเพื่อ ทําปุ๋ยชีวภาพ ใช้การปลูกผัก เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูกผัก และได้รับประทานผัก ที่ปลอดจากสารพิษ - ทาก๊าชชีวภาพ เป็นกิจกรรมที่ปลูกจิตสํานึกให้นักเรียนรู้คุณค่าของวัสดุใกล้ตัวที่ทุกคนมองข้าม นํามาเพิ่มมูลค่าในการนํามูลสัตว์ (มูลโค) มาหมักเพื่อให้เกิดก๊าซชีวภาพนําไปใช้เป็นแก๊สหุงต้มใน ครัวเรือน - กิจกรรมงานประดิษฐ์จักสานจากเชือกกล้วย - กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า - กิจกรรมเพาะถั่วงอกประหยัดน้า เป็นกิจกรรมที่สร้างความตระหนักและปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิธีดาเนินงาน ๑. ประชุมวางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ ๒. อบรมเชิญวิทยากร ศึกษาดูงาน ค้นคว้าหาความรู้เพิ่ม ๓. จัดทําและสาธิตกิจกรรมต่าง ๆ ๔. นิเทศติดตามการดําเนินงาน ๕. ประเมิน วิเคราะห์ผลการดําเนินงาน ๖. สรุปผลการดําเนินงาน แก้ไขปรับปรุง ๗. นําข้อมูลมาจัดทําแผนงาน / โครงการในปีการศึกษาต่อไป ผลการดาเนินงาน ด้านนักเรียน ๑. นักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรม ๒. นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้จากภูมิป๎ญญาท้องถิ่น / ชุมชน ๓. นักเรียนมีคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ๔. นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีรายได้เสริมระหว่างเรียน ด้านโรงเรียน ๑. มีหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ ๒. มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตามความถนัด ความสนใจของผู้เรียน และท้องถิ่น ๓. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียน และชุมชน ได้เรียนรู้ ๔. ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรมปีการศึกษา ๒๕๕๓
  • 14. 14 ๕. เป็นโรงเรียนวิถีพุทธต้นแบบ และเป็นโรงเรียนจิตอาสา ๖. ได้รับรางวัลพระราชทาน (รางชมเชย ระดับประเทศ) ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๗. ได้รับรางวัลพระราชทาน ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕ ด้านชุมชน ๑. ผู้ปกครอง / ชุมชน ร้อยละ ๘๕ มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนของโรงเรียน ๒. ชุมชน / ท้องถิ่น มีโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการที่โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ให้กับนักเรียน ป๎จจัยที่ทําให้โรงเรียนดําเนินการได้ประสบความสําเร็จ มีหลายป๎จจัยประกอบกัน ๑. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา และนําคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไปสอดแทรก ทุกหน่วยการเรียนรู้ ๒. ผู้บริหารปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าของการทํากิจกรรม ด้านจิตสาธารณะ และนําทํากิจกรรมอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ๓. ความร่วมมือของครู บุคลากร นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และองค์กรภายนอก