SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
บทที่ 2

           เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กีย วข้อ ง
                                     ่

     ในการพัฒนาและผลิตสื่อการฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based
Training) เรื่อง เทคนิคการตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมโฟโต้ชอป
(Photoshop) นั้น ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไป
นี้
         1. ความหมายและการพัฒนาของเว็บฝึกอบรม
                 - ระบบการเรียนรู้ Web-based Training
         2. องค์ประกอบของเว็บฝึกอบรม
                 - การนำาเสนอเนื้อหาของเว็บฝึกอบรม
         3. มาตรฐานและขั้นตอนการพัฒนา
                 - องค์กรที่บริหารจัดการเว็บฝึกอบรม
         4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1 ความหมายและการพัฒ นาของเว็บ ฝึก อบรม
      Web-based Training เป็นแนวคิดทางการศึกษาที่เกิดขึ้น
จากความก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ทำาให้เกิดการเรียน
การสอนระบบต่าง ๆ และมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปไม่ว่าจะเป็น การ
เรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction), การเรียนการ
สอนออนไลน์ (On-line Learning), การเรียนการสอนผ่าน
อินเทอร์เน็ต (Internet-based Instruction) หรือแม้แต่จะเรียกว่า
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (CAI on Web) ทั้งหมดจัดเป็นรูปแบบ
ของการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น (อ้างอิง)
11




         ความหมายของเว็บฝึกอบรมมีมุมมองที่แตกต่างกันไป สมาคม
อเมริกันเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรม (2000) ได้อธิบายความหมาย
เอาไว้ด้วยกัน 3 ลักษณะคือ
         1. ความหมายทางด้านอิเล็กทรอนิกส์
         Web-based Training หมายถึง กระบวนการและการใช้
ประโยชน์จากการเรียนการสอนผ่านเว็บคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ห้องเรียนเสมือน และการเรียนร่วมมือด้วยเครื่องมือดิจิตอลต่าง ๆ รวม
ถึงการเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต,ระบบอินทราเน็ต ระบบเครือข่าย
การเรียนด้วยระบบเสียง ระบบภาพ ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์
และซีดีรอม
         2. ความหมายทางด้านอินเทอร์เน็ต
         Web-based Training หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบ
อินเทอร์เน็ต หรือการใช้ความสามารถของระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการ
เรียนรู้
         3. ความหมายทั่วไป
         Web-based Training หมายถึง การบูรณาการทางการ
ศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้
         เมื่อประมวลความหมายของทั้ง 3 ลักษณะเข้าด้วยกัน
สอดคล้องกับแนวคิดและบริบทในปัจจุบันกล่าวได้ว่า        Web-
based Training หมายถึง การจัดกระบวนการและการใช้ประโยชน์
จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และระบบ
อินเทอร์เน็ต ทีออกแบบการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิด
                 ่
การเรียนรู้ได้ทุกที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้
         จึงทำาให้มีความพยายามพัฒนาการเรียนการสอนแบบออนไลน์
มากขึ้น ซึ่งการสร้างเว็บเพื่อการ
เรียนการสอนจึงเป็นส่วนหนึ่งของ Web-based Training
12




         ระบบการเรีย นรู้ Web-based Training
         การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลินนิ่งหรือการเรียนรู้ระบบ
ออนไลน์ สามารถแบ่งกระบวนการ
ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ออกได้เป็น 2 ส่วนคือ
         1. Web-based Training แบบ LMS : Learning
Management System เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอน
ต่างๆ การออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหา การลงทะเบียน การเก็บข้อมูล การมี
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่น อีเมล์ กระดานข่าว ห้อง
สนทนา เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูล ที่สนับสนุนการ
จัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำานวยความสะดวกให้กับผู้
เรียน ผู้สอน ผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ
         2. Web-based Training แบบ CMS : Content
Management System เป็นส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียน ผูสอนจะ  ้
เป็นผู้จัดทำาขึ้น และนำามาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้
สอนจัดทำาขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอน
สามารถจัดการบริหาร เพิ่มเติมเนื้อหา ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วน
ได้ด้วยตนเอง อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอน
เพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำาไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบ
เข้ามาช่วย
         ความแตกต่างกันของระบบการบริหารจัดการ Web-based
Training ทำาให้เกิดความไม่เข้าใจในการเลือกวิธีการที่จะใช้และการ
พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ Web-based Training ซึ่งมีข้อแตกต่าง
ที่เห็นได้ชัดเจนดังนี้
 LMS : ระบบการจัดการเรียนรู้       CMS : ระบบการจัดการเนื้อหา
                                 1. การบริหารจัดการเฉพาะ
1. การบริหารจัดการทั้งระบบ
                                 เนื้อหา
2. กระบวนการจัดการสมบูรณ์        2. กระบวนการจัดการเฉพาะ
13




แบบ                             เนื้อหาและ
องค์ประกอบเต็มรูปแบบ            องค์ประกอบบางส่วน
3. ดำาเนินการด้วยบุคลากร
                                3. ดำาเนินการโดยผู้สอน
จำานวนมาก
4. ค่าใช้จ่ายการดำาเนินการสูง   4. ค่าใช้จ่ายการดำาเนินการตำ่า
5. เหมาะสำาหรับองค์กรขนาด       5. เหมาะสำาหรับอาจารย์ที่มีความ
ใหญ่                            รู้เฉพาะ
6. ใช้เป็นสื่อหลักในการเรียน    6. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการ
การสอน                          สอน
7. เนื้อหามาจากผู้เชี่ยวชาญ     7. เนื้อหาตรงตามความต้องการผู้
หรือผู้ชำานาญการ                สอน
8. การผลิตยุ่งยากและใช้เวลา
                                8. การผลิตง่ายและใช้เวลาน้อย
นาน
9. การสร้างเน้นการทำางานกับ     9. การสร้างเน้นการทำางานกับ
เครื่องแม่ข่าย                  เครื่องลูกข่าย
10. ความรับผิดชอบอยู่ที่        10. ความรับผิดชอบอยู่ที่ผู้สร้าง
องค์กรหรือหน่วยงาน              หรือผู้สอน

        การบริหารจัดการ Web-based Training ที่เป็นการบริหาร
จัดการทั้งระบบ (LMS : Learning Management System) จะดูแล
ตั้งแต่เนื้อหา การสร้าง การติดตั้ง การลงทะเบียน การชำาระเงิน การ
เก็บข้อมูล การมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน ซึ่งจะครอบคลุมไปถึงแบบ
ฝึกหัดและข้อสอบที่สามารถจัดเก็บผลคะแนนสอบของแต่ละคนได้ เป็น
ระบบที่สมบูรณ์แบบ ขณะที่ถ้าให้ผู้สอนเป็นผู้ดำาเนินการเอง ก็จะ
กระทำาได้เพียงการสร้างเนื้อหาและติดตั้งองค์ประกอบบางส่วนเท่านั้น
แต่การบริหารจัดการทั้งระบบจะต้องใช้บุคลากรจำานวนมากได้แก่
        1. ผูดูแลระบบ (Administrator) เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบ
              ้
เครือข่าย เครื่องแม่ข่ายและการติดต่อสื่อสารของระบบเครือข่าย
14




คอมพิวเตอร์ การบริหารเครือข่าย ดูแลการบริหารงานธุรการ การเงิน
และบุคลากรทั้งระบบ
        2. ผูดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ
              ้
คอยเฝ้าติดตามการเข้ามาใช้เว็บของผู้เรียนและดูแลเครื่องมือต่าง ๆ ที่
มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่น กระดานข่าว การถาม-ตอบ มีความ
สามารถระดับโปรแกรมเมอร์
        3. ผูออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบ
                ้
และสร้างเว็บสำาหรับการเรียนการสอนตามการออกแบบที่กำาหนดมา
จากผู้ออกแบบการเรียนการสอน
        4. ผูออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional
                  ้
System Developer) เป็นผู้กำาหนดรูปแบบการเรียนการสอน องค์
ประกอบเนื้อหา วิเคราะห์ระบบการสอนและวางรูปแบบเพื่อให้ผู้
ออกแบบและพัฒนาเว็บสามารถดำาเนินการได้
        5. ผูสอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่
                    ้
ต้องการจะนำามาใช้ในการเรียนการสอน กำาหนดเนื้อหาที่จะสอน แบบ
ฝึกหัด ข้อสอบ การวัดผลและประเมินการเรียน
        ดังนั้นถ้าจะเลือกระบบที่สมบูรณ์แบบสำาหรับ Web-based
Training ก็หมายความว่า จะต้องจัดหาคณะทำางานที่พร้อมสำาหรับ
การบริหารจัดการ ยังไม่รวมเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะต้องมีความ
พร้อมสำาหรับให้คณะทำางานได้ทำางานอย่างเต็มที่ ซึ่งถ้ารวมมูลค่า
เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ก็จัดว่าเป็นการลงทุนที่สูงมากเพราะนั่นคือถึง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์และค่าใช้จ่ายอีกนานับประการ
ที่จะตามมา ได้แก่
        1. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server)
        2. อุปกรณ์ต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
             2.1 เล้าเตอร์ (Router)
             2.2 โมเด็ม (Modem)
15




              2.3 สวิตช์ (Switch)
              2.4 ฮับ (Hub)
          3. เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) สำาหรับการสร้างและ
พัฒนาเว็บ
          4. เครื่องมือประกอบอื่น ๆ เช่น เครื่องสแกนภาพ,กล้อง
ดิจิตอล, ฯลฯ
          5. ค่าใช้จ่ายโปรแกรมการสร้างเว็บ
          6. ค่าเช่าบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
          7. ค่าจดทะเบียนโดเมน
          8. ค่าลิขสิทธิ์ทางปัญญาของเนื้อหาวิชา ฯลฯ
          ค่าใช้จ่ายของการบริหารจัดการระบบที่สมบูรณ์แบบจึงค่อน
ข้างสูงมาก ทำาให้สถาบันการศึกษา
ต่าง ๆ ไม่สามารถดำาเนินการเองได้ จึงได้มีบริษัทหรือหน่วยงานที่
ดำาเนินการเรื่องนี้โดยเฉพาะเกิดขึ้นมีการคิดค่าใช้จ่ายในการดำาเนิน
งานในลักษณะเดียวกับการให้บริการทั่วไป เหมาะสำาหรับสถานศึกษา
หรือหน่วยงานขนาดใหญ่ ๆ จะใช้บริการ อันเนื่องจากมีจำานวน
นักศึกษามากและจัดการศึกษาระบบเปิดเช่น มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
มีระบบอีเลินนิ่งสำาหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยได้เรียนรู้ในลักษณะ
ที่เป็นสื่อหลัก แต่สำาหรับระบบการจัดการเนื้อหาที่จัดทำาโดยอาจารย์ผู้
สอนจะเป็นแบบสื่อเสริมการเรียนรู้เท่านั้น
          การเป็นสื่อหลักหมายถึง การนำาเอาระบบอีเลินนิ่งเข้ามาแทน
อาจารย์ผู้สอน ให้นักศึกษาได้ใช้สำาหรับการเรียนครบถ้วนสมบูรณ์ทั้ง
วิชา โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน ใช้สอนเนื้อหาวิชาแทนอาจารย์ผู้สอนได้
มีระบบการวัดผลประเมินตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน แต่อาจ
จะยังต้องใช้วิธีการสอบแบบเข้าห้องสอบก็ได้
          ส่วนการใช้ Web-based Training เป็นสื่อเสริม หมายถึง
การนำาเอาระบบอีเลินนิ่งเข้ามาช่วยสอนเสริมจากการสอนของอาจารย์
16




เช่น ทบทวนเนื้อหาผ่านเว็บ ทำาแบบฝึกหัด ติดต่อสือสารกับอาจารย์ผู้
                                                   ่
สอนแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ ผ่านระบบออนไลน์ อาจมีเนื้อหา
สมบูรณ์ครบถ้วนทั้งวิชา แต่ยังมีการ
เรียนในชั้นเรียนเป็นหลัก มีเว็บเป็นสื่อช่วยการเรียนการสอนให้
สมบูรณ์
        การบริหารระบบ Web-based Training เต็มรูปแบบจึงค่อน
ข้างยุ่งยากตั้งแต่เริ่มต้นดำาเนินการ การผลิตเนื้อหาที่จะต้องใช้ผู้
เชี่ยวชาญเนื้อหาประกอบกับอาจารย์ผู้สอนประจำาวิชามาวางแผนการ
สอน จากนั้นจึงทำาการสร้างขึ้น หรืออาจใช้วิธีการจ้างหรือจัดหางบ
ประมาณมาให้ดำาเนินการเช่น เครือข่ายการศึกษาของ UNINET ของ
มหาวิทยาลัยที่จัดให้มีอีเลินนิ่งเรียนผ่านเว็บในหลายวิชา โดยให้
อาจารย์ผู้สอนได้ตั้งคณะทำางานจัดสร้างขึ้น แล้วเผยแพร่ให้กับ
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ใช้ในการเรียนการสอนโดยใช้คณะทำางาน
จำานวนมาก เนื้อหาจะเป็นไปตามหลักสูตรที่กำาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญ
แต่อาจไม่สอดคล้องกับความต้องการเนื้อหาการสอนของอาจารย์ได้
        ระบบการออกแบบ Web-based Training ที่บริหารจัดการ
การเรียนรู้ทั้งระบบ จะเป็นการเขียนโปรแกรมสำาหรับแสดงผลในเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการทำางานโดยคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
(Server) จึงมักจัดทำาเป็นโปรแกรมระบบอีเลินนิ่งโดยเฉพาะ อาจารย์
ผูสอนสามารถเข้าไปบริหารจัดการเนื้อหาได้เท่านั้นหรืออาจจะแก้ไข
  ้
ปรับปรุงระบบได้บางส่วน แต่ทั้งระบบจะถูกควบคุมโดยองค์กรที่รับผิด
ชอบในการดำาเนินการโดยเฉพาะ ทำาให้ต้องมีเงื่อนไขในการจัดทำา
หลายอย่างที่ผู้สอนเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยไม่ได้การบริหารจัดการระบบ
จะกระทำาโดยหน่วยงานเฉพาะซึ่งจะรับผิดชอบดูแลทั้งหมดทำาให้มี
ประสิทธิภาพสูงและมีค่าใช้จ่ายสูง ผูสอนทำาหน้าที่ได้เพียงสร้างเนื้อหา
                                      ้
บทเรียนแล้วนำาไปติดตั้งเข้าสู่ระบบ หรือกำาหนดเนื้อหาบทเรียนให้
เท่านั้น (อ้างอิง)
17




       ขณะที่ระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management
System) ซึ่งถูกจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการระบบ สามารถ
ดำาเนินการได้โดยผู้สอนทั้งหมดทั้งแต่เนื้อหาที่จะใช้ในการสอน การ
สร้างและออกแบบเว็บ การติดตั้งระบบโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่
ให้ฟรีในระบบอินเทอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ติดตั้งเว็บ กระดานข่าว
ห้องสนทนา การมีปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน แบบ
ฝึกหัดและแบบทดสอบต่าง ๆ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยมาก ไม่ยุ่งยากใน
การดำาเนินการเนื้อหาตรงตามความต้องการของผู้สอน ผู้สอนได้มี
โอกาสวางแผนการเรียนด้วยตนเอง จัดทำาและบริหารจัดการได้ด้วย
ตนเอง ใช้เวลาในการผลิตพอสมควร ไม่เป็นภาระกับหน่วยงาน และผู้
สอนเป็นผู้รับผิดชอบต่อการดำาเนินการทั้งหมด (อ้างอิง)

        พัฒ นาการของ Web-based Training
        นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2544) ได้กล่าวถึงพัฒนาการของ Web-
based Training ว่ามีความเป็นมาตามลำาดับดังต่อไปนี้
        1. Distance learning (1840) ในสมัยเริ่มแรกใช้ส่งบท
เรียนผ่านระบบไปรษณีย์เพื่อเข้าถึงผู้เรียนจำานวนมากที่อยู่ห่างไกล
และมีการเปิด home-study program ทางไปรษณีย์สำาหรับผู้ที่
ต้องการเรียนจากบ้าน
        2. Computer-Aided Instruction (CAI)/Computer-
Based Training (CBT) (1960) เริ่มใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการ
สอน CAI/CBT ใช้ในการฝึกอบรมในวงการธุรกิจและอุตสาหกรรม
เนื่องจากในยุคนี้ยังไม่มีระบบเครือข่ายที่แพร่หลาย
        3. Web technologies (1990) เมื่ออินเทอร์เน็ตเริ่มแพร่
หลายจึงได้มีการนำาบทเรียนต่าง ๆ สอนและฝึกอบรมผ่านอินเทอร์เน็ต
และอินทราเน็ต เมื่อนำามาใช้ในการฝึกอบรมขององค์กรต่าง ๆ จะเรียก
ว่า WEB-Based Training (WBT) และเมื่อนำามาใช้ในสถาบันการ
18




ศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนจะเรียกว่า Web-Based
Education/Web-Based Instruction (WBE/WBI)
        4. Web-based Training technology (2000) เป็นระยะ
เวลาที่การเรียนการสอน และการฝึกอบรมออนไลน์ (online
training) เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่บทเรียน เว็บเทคโนโลยีได้รับการพัฒนา
มากขึ้น มีการนำาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย และเทคโนโลยีระบบบริหาร
จัดการรายวิชา (LMS/CMS) เข้ามาช่วยในการจัดเตรียมเนื้อหา และ
บริหารจัดการหลักสูตรออนไลน์

2. องค์ป ระกอบของเว็บ ฝึก อบรม
        ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คือ
        1. เนื้อหา (Content) เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญที่สุดสำาหรับ
Web-based Training เพราะเป็นส่วนที่ผู้สอนจะต้องเป็นผู้เสนอและ
เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ผู้เรียน เนื้อหาที่ดีสามารถทำาให้ผู้เรียน เรียนได้
อย่างเพลิดเพลิน เข้าใจและบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้ เนื้อหา
ดังกล่าวนี้ประกอบไปด้วยหน้าเว็บเพจต่าง ๆ ดังนี้
          1.1 โฮมเพจ เป็นหน้าแรกของเว็บบทเรียน ส่วนใหญ่หน้า
แรกจะมีการออกแบบสวยงาม ทำาให้น่าสนใจและติดตาม
          1.2 เว็บเพจหน้าประกาศต่าง ๆ เป็นประกาศกำาหนดการ
เรียน ข้อตกลงต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมทั้งข่าวสารต่าง ๆ
          1.3 เว็บเพจ หน้าแสดงชื่อรายวิชา จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับรายละเอียดของเนื้อหาวิชา บอกวัตถุประสงค์ของที่เรียน ผู้สอนจะ
ทำาการเชื่อมโยง (link) ไปยังเว็บเพจอื่นให้ผู้เรียนถามปัญหา แลก
เปลี่ยนความคิดเห็น หรือมีการเชื่อมโยงไปค้นคว้าแหล่งข้อมูล เช่น
ห้องสมุดและแหล่งความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน และมี
19




การตั้งคำาถามให้ผู้เรียนตอบ และการทดสอบความรู้ย่อย โดยอาจจะ
ให้ผู้เรียนส่งคำาตอบ ให้ผสอนทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
                          ู้
           1.4 เว็บเพจตอบปัญหา ในเว็บเพจกิจกรรม ผูสอนจะกระตุ้น
                                                           ้
ให้ผู้เรียนตั้งปัญหาส่งมาให้ผู้สอนทางอีเมล์ ผู้สอนจะตอบปัญหาทาง
คอลัมน์ FAQ เพื่อให้ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้อ่านด้วย (มนตรี ดวงจิโน
2544, 39-44) และผู้เรียนคนอื่นยังสามารถแสดงความคิดเห็นอื่น ๆ
ได้ ถ้าหน้าเพจนั้นถูกออกแบบให้เป็นกระดานข่าว (web board)
           1.5 เว็บเพจห้องเรียน เป็นหน้าเพจนำาเสนอบทเรียน ที่ผู้
สอนจัดทำาไว้สำาหรับผู้เรียน ในที่นี้จะรวมทั้งเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร ภาพ
วีดิทศน์ รวมทั้งสื่อประสมอื่น ๆ มัลติมีเดียที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับบท
      ั
เรียน
         2. ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Course/Contents
Management System-CMS และ Learning Management
System-LMS) เป็นระบบบริหารจัดการรายวิชา ซึ่งเป็นเสมือนระบบที่
รวบรวมเครื่องมือที่ออกแบบไว้เพื่อความสะดวกแก่ผู้ใช้ ในการจัดการ
กับการเรียนการสอนออนไลน์ ผู้ใช้ดังกล่าวแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม
คือ ผู้สอน ผู้เรียนและผู้บริหารระบบเครือข่าย ซึ่งระบบนี้จะทำาหน้าที่
ช่วยผู้สอนที่ไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีสามารถใช้ได้ โดยไม่จำาเป็นที่จะ
ต้องรู้จักภาษา HTML หรือ Java และยังสามารถช่วยผู้สอนในการนำา
เนื้อหา จัดเก็บเนื้อหา ทำาการป้อนข้อมูลผ่านเว็บเพื่อเข้าสู่ระบบฐาน
ข้อมูลได้ง่ายขึ้น และสามารถเรียกข้อมูลออกมาแก้ไขได้อย่างสะดวก (
ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2545,37,73) มีการสำารวจของ ASTD ใน
เรื่องการตอบสนองต่อการใช้ซอฟต์แวร์ในการออกแบบการสอนผล
การสำารวจพบว่า ผู้ใช้ตอบเป็นเอกฉันท์ว่าใช้ง่ายและสามารถสรุปได้
ว่า ใครก็ตามที่สามารถใช้โปรแกรม Word processor ได้ ก็
สามารถใช้โปรแกรมสำาหรับรูปดังกล่าวอย่างไม่ยากนัก (Salopec
1998, 23)
20




        นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 134) ได้กล่าวถึงระบบการทำางาน
ของ Web-based Training โดยการใช้ LMS ว่าระบบจะเริ่มทำางาน
โดย ส่งบทเรียนตามคำาขอของผู้เรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้แก่
อินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต ไปแสดงที่เว็บเบราว์เซอร์ของผู้เรียน จาก
นั้นระบบติดตามและบันทึกความก้าวหน้า รวมทั้งสร้างรายงาน
กิจกรรมและผลการเรียนของผู้เรียนในทุกหน่วยของการเรียนอย่าง
ละเอียด จนกระทั่งจบหลักสูตร
        สรุปได้ว่า LMS จะจัดการตั้งแต่ผู้เรียนเริ่มลงทะเบียนผ่านเว็บ
เข้ามาเรียนจัดเก็บความก้าวหน้าในการเรียน และยังสามารถตรวจ
สอบจำานวนผู้เข้าเรียน สถิติการเข้าใช้ เวลาเข้า และเวลาที่ผู้เรียนเลิก
เรียน (tracking) ส่วน CMS นั้น สามารถอำานวยความคล่องตัว ให้
กับผู้สอนในการสร้างบทเรียน รวมทั้งการสร้างข้อสอบให้เป็นไปอย่าง
สะดวกสบาย และมีความคล่องตัว
        3. การทดสอบและการประเมินผลในการทดสอบออนไลน์
ระบบของ CMS มีเครื่องมือในการสร้างแบบทดสอบ สามารถกำาหนด
คะแนนได้ว่าจะสร้างกี่ข้อการคิดคะแนนผู้สอนสามารถกำาหนดได้
ลักษณะของแบบทดสอบเลือกได้ลักษณะถูกผิด และแบบ ปรนัย จับคู่
(ลากแล้ววาง) การส่งข้อความให้เพื่อช่วยตรวจ CMS จะช่วยให้ผู้สอน
สามารถที่จะจัดทำาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพื่อการเลือกกลับ
มาใช้ใหม่ หรือนำามาปรับปรุงแก้ไขได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ระบบยัง
สามารถช่วยผู้สอนคำานวณตัดเกรดคิดคะแนน รวมทั้งสามารถจะเลือก
ได้ว่าจะประเมินผลผู้เรียนในลักษณะต่าง ๆ เช่นอิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือ
ใช้สถิติในการคำานวณหาค่าเฉลี่ย ค่า T-Score รวมทั้งการแสดงผล
ในรูปกราฟ (ถนอมพร                 เลาหจรัสแสง 2545, 39-40)
        4. โหมดการติดต่อสือสาร (mode of communications)
                              ่
เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่จัดการให้ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน
สามารถติดต่อกันได้ นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 235) กล่าวว่า
21




ELearning นั้นแตกต่างจากการเรียนทางไกลโดยทั่ว ๆ ไป คือ
เป็นการนำารูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบการ
เรียนเพื่อเพิ่มความสนใจในการตื่นตัวของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนให้
มากยิ่งขึ้น และสามารถแบ่งประเภทการสื่อสารออกได้เป็น 2 ประเภท
คือ ประเภทที่สื่อสารกัน ณ เวลาจริง (real time) ได้แก่ White
Board/ text slide, chat, interactive poll, conferencing
เป็นต้น และประเภทที่ไม่มีการสื่อสารกัน ณ เวลาจริง (non-real
time) ได้แก่ กระดานข่าว (web board) และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ในระหว่างเรียน ถ้ามีคำาถามซึ่งเป็นการทดสอบย่อยในบทเรียนที่ผู้
เรียนต้องเลือกคำาตอบ คำาตอบนั้นจะถูกส่งกลับมายังระบบทันที ซึ่งจะ
ทำาให้ผู้เรียนรักษาระดับความสนใจในการเรียนได้มากขึ้น ซาน และ
โอจี และ เอ็ม (วุฒิ วัฒนสิน 2544, 30 อ้างจาก ซาน และ โอจี และ
เอ็ม) ได้กล่าวว่า ปัจจัยหนึ่งที่ทำาให้การสอนออนไลน์ประสบความ
สำาเร็จคือ การมีปฏิสัมพันธ์หรือการติดต่อระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ต้อง
เป็นไปด้วยความสะดวก ซึ่งสอดคล้องกับ ถนอมพร เลาหจรัสแสง
(2545, 38-39) ที่ได้เสนอว่าควรมีการจัดหาเครื่องมือติดต่อสื่อสาร
ไว้ให้กับผู้เรียนใช้มากกว่า 1 รูปแบบ เพื่อความสะดวกของผู้เรียน
กรณีเป็น synchronous online อาจจะมีการถ่ายทอดสัญญาณเสียง
สด กรณีเป็นการใช้จดหมายอเล็กทรอนิกส์ เพื่อการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ส่งงาน ปรึกษาเป็นรายบุคคล กิจกรรมดังกล่าว
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่าง
ต่อเนื่อง และจะเป็นการสร้างความคุ้นเคยในการเรียนออนไลน์ได้เป็น
อย่างดี

       การนำา เสนอเนื้อ หาของเว็บ ฝึก อบรม
       การถ่ายทอดเนื้อหาสามารถแบ่งได้ 3 ระดับ
22




        1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (text only) เนื้อหาในระดับนี้
จะอยู่ในรูปข้อความเป็นหลัก ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ
(WBT/WBI) ซึ่งข้อดีคือประหยัดรายจ่ายและครูฝึกสอนสามารถผลิต
เนื้อหาได้ด้วยตนเอง
        2. ระดับรายวิชาที่ออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด เนื้อหาจะ
อยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพเสียง วีดิทัศน์ ที่ผลิตขึ้นมาอย่างง่าย ๆ ซึ่ง
ถนอมพร ได้เสนอว่า ในระดับหนึ่งและระดับสองนี้ ควรจะมี CMS ทีดี     ่
มาช่วยครูฝึกในการสร้างเนื้อหาและปรับเปลี่ยนเนื้อหาได้อย่างสะดวก
ด้วยตนเอง
        3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูงเนื้อหาในระดับนี้จะอยู่
ในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ และต้องมีทีมงานการผลิตที่
ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา (content expert) ผู้เชี่ยวชาญการ
ออกแบบ (instructional designers) ผู้เชี่ยวชาญการผลิต
มัลติมีเดีย (multimedia experts) ซึ่งหมายรวมถึง โปรแกรมเมอร์
(programmers) นักออกแบบกราฟิก (graphic designers) หรือผู้
เชี่ยวชาญในการผลิตภาพเคลื่อนไหว (animation experts) (ถนอ
มพร เลาหจรัสแสง 2545, 13-15)



3. มาตรฐานและขั้น ตอนการพัฒ นา
      นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 139-140) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการ
พัฒนา ดังนี้ คือ
      1. ขั้นตอนการออกแบบระบบ ประกอบด้วย
         - การออกแบบโครงสร้าง
         - การจัดกลุ่มเนื้อหาของแต่ละหลักสูตรเป็นโมดูล
         - การกำาหนดมาตรฐานและรูแบบ
23




          - การออกแบบ และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้บันทึกข้อมูล
(repositories)
          - การกำาหนดเป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ
          - การออกแบบรูปแบบการสอนเชื่อมโยงกับเนื้อหา
          - การตัดสินใจว่าจะสร้างหรือซื้อโปรแกรมในการจัดการ
          - ตัวอย่างเครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้สร้าง ได้แก่
              1) Blackboard
              2) Web CT
              3) Cisco
              4) Smart Force
              5) Education Sphere
        2. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
          - การใช้เครื่องมือในการสร้างเนื้อหาบทเรียนเช่น
(authoring tools, HTML และ media authoring tools ในการ
สร้างภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว)
          - การสร้างกิจกรรมการเรียน
          - การค้นหาข้อมูลดิจิทัล และพิจารณาลิขสิทธิ์ของข้อมูล
ดิจิทัล
          - การนำาเสนอเนื้อหาบทเรียนเดิมที่มีอยู่แล้วมาใช้
          - พัฒนากลุ่มผู้เรียนและทรัพยากรที่ใช้ประกอบการเรียน
เช่น
          - เอกสาร ตำารา เชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ
        3. การนำาระบบไปใช้
          - มีการพิจารณาเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบ
          - กำาหนดนโยบายในการเรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือ
กลุ่ม
24




        - ฝึกอบรมผู้เรียนถึงการใช้โปรแกรม Web-based
Training ตามหลักสูตรที่กำาหนด
        - ประเมินผลประสิทธิภาพการทำางานของบุคลากรก่อนและ
หลังการเรียนจากบทเรียน         Web-based Training
        - ปรับปรุงเนื้อหาบทเรียนให้เหมาะสมยิ่งขึ้น



       มาตรฐานของเว็บ ฝึก อบรม
       นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 141) กล่าวว่า มาตรฐานเป็นสิ่ง
สำาคัญ หากต้องการจะนำาเนื้อหาบทเรียน Web-based Training มา
ใช้ร่วมกัน มีหลายองค์กรที่พยายามกำาหนดมาตรฐาน HTML
(Hypertext Markup Language) และ XML (Extensible
Markup Language) ที่พัฒนาโดยองค์กร W3C (World Wide
Web Consortium) ซึ่งมีผลต่อความก้าวหน้าของมาตรฐาน Web-
based Training
       1. Aviation Industry CBT Committee (AICC) เป็นกลุ่ม
แรกที่เริ่มกำาหนดมาตรฐาน Web-based Training โดยเน้นไปที่การ
ฝึกอบรมออนไลน์
       2. EDUCAUSE Instruction Management Systems
Project (IMS) เป็นกลุ่มผู้ขายที่รวมตัวกันกำาหนดมาตรฐานของ
Web-based Training โดยพิจารณาจากผลการประชุมของกลุ่ม
AICC ที่เน้นการกำาหนดกลุ่มของ tag ที่ใช้อธิบาย ส่วนประกอบของ
Web-based Training
       3. Advanced Distributed Learning (ADL) เป็นกลุ่ม
หน่วยงานของรัฐที่กำาหนดมาตรฐานต่าง ๆ ได้พัฒนามาตรฐานของ
SCORM (Shareable Content Reference Model) หรือ ADL
SCORM
25




       4. Alliance of Remote instructional Authoring and
Distribute Networks for Europe (ARIADNE) เป็นกลุ่มที่เน้น
มาตรฐานของยุโรป
       5. IEEE Learning Technology Standards Committee
(IEEE L TSC) เป็นองค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานของกลุ่มต่าง ๆ ใน
สหรัฐอเมริกา

         องค์ก รที่บ ริห ารจัด การ Web-based Training
         หน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนหลายแห่งมองเห็นว่าระบบ
การเรียนการสอนออนไลน์ จะเป็น
สือที่เข้ามามีบทบาทอย่างสูงในอนาคต ไม่ใช่เพียงเข้ามาใช้ในการ
  ่
เรียนการสอนเท่านั้น แต่ยังนำาเข้ามาใช้ในการฝึกอบรมและการติดต่อ
สือสารภายในองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งช่วยทำาให้เกิดความสะดวก
    ่
รวดเร็ว เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารจัดการองค์กร ทำาให้
ประหยัดรายจ่ายและได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภายในองค์กรได้
อย่างคุ้มค่า หน่วยงานที่รับจัดทำาและดูแลระบบการจัดการ Web-
based Training ทั้งระบบอาทิ เช่น ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จัดทำาโปรแกรมระบบการเรียนการสอน
ออนไลน์เต็มรูปแบบ โดยให้บริการหน่วยงานประเภทสถาบันการ
ศึกษาที่ต้องการนำาเอาระบบการจัดการเรียนรู้แบบ Web-based
Training ที่มีผดูแลให้ทั้งระบบ ก็สามารถติดต่อให้ดำาเนินการได้ แต่มี
                 ู้
ค่าใช้จ่ายที่ต้องดำาเนินการและสนับสนุนระบบอยู่ด้วย

4. งานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง
       สุรเชษฐ พิทยาพิบูลพงศ์ (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การ
เปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม การเรียนแบบออนไลน์
26




(Web-based Training ) ของนิสิต นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร
ผลการวิจัยพบว่า
       การเปิดรับข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ มีความสัมพันธ์ ดังนี้
          • จากสือบุคคลและสือเฉพาะกิจ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับ
                   ่           ่
             ความรูการเรียนแบบออนไลน์
                       ้
          • จากสื่อมวลชน มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการเรียน
             แบบออนไลน์
          • มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนแบบออนไลน์
          • ความรู้ที่ได้ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการเรียนแบบ
             ออนไลน์
       การเปิดรับข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ ที่ไม่มีความสัมพันธ์
ดังนี้
          • จากสื่อมวลชน ไม่มีความ สัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการ
              เรียนแบบออนไลน์
          • จากสือบุคคล และสือเฉพาะกิจไม่มความสัมพันธ์กบทัศนคติ
                     ่           ่            ี            ั
              ต่อการเรียนแบบออนไลน์
          • ความรูเกียวกับการเรียนไม่มความสัมพันธ์กบพฤติกรรม
                         ้ ่             ี            ั
              การเรียนแบบออนไลน์
          • ทัศนคติตอการเรียนไม่มความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการ
                             ่       ี           ั
              เรียนแบบออนไลน์
       นิสิต นักศึกษาในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่มีการเปิดรับ
ข่าวสารเกี่ยวกับการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training)
จากสื่อมวลชนอยู่ในระดับที่ตำ่า เปิดรับข่าวสารจากสื่อบุคคลและสื่อ
เฉพาะกิจอยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้เกี่ยวกับการเรียนแบบ
ออนไลน์ (Web-based Training) อยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติที่
ดีต่อการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) และมี
27




พฤติกรรมการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) อยู่ใน
ระดับปานกลาง ซึ่งตัวแปรที่สามารถอธิบายพฤติกรรมการเรียนแบบ
ออนไลน์ (Web-based Training) ได้มากที่สุด คือ การเปิดรับ
ข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) จากสื่อ
เฉพาะกิจ

        กรรณิการ์ วรรณธนปรีดา (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา
ลักษณะการรวมกลุ่มและการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้เรียน Web-
based Training ความพึงพอใจของผู้เรียนในบริบทแบบเวลา
เดียวกันและต่างเวลา ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคมที่มีต่อผลการเรียนรู้ใน
ระบบ Web-based Training พบว่า ลักษณะกลุ่มผู้เรียน Web-
based Training มีขนาดกลางประมาณ 60 คน ถึงขนาดใหญ่ กว่า
1000 คน การรวมกลุ่มของผู้เรียน Web-based Training มี 2
ลักษณะคือ ในโลกเสมือนที่ห้องสนทนาของเว็บไซต์ Web-based
Training และการรวมกลุ่มของผู้เรียน Web-based Training ใน
โลกความจริง ซึ่งเกิดจากการจัดรวมกลุ่มโดยหน่วยงานเว็บไซต์
Web-based Training และการนัดพบปะระหว่างกลุ่มผู้เรียนเอง จะ
เกิดขึ้นเมื่อกลุ่มผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์สนิทสนมในระดับหนึ่ง หรือกลุ่มผู้
เรียนเป็นบุคคลจากสถาบัน/องค์กรเดียวกัน กลุ่มผู้เรียน Web-based
Training มีการสื่อสารในลักษณะแบบกระจายอำานาจที่เรียกว่าเครือ
ข่ายการสื่อสารแบบทุกช่องทาง ซึ่งสมาชิกทุกคนสามารถติดต่อกันได้
โดยตรง ในการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้เรียน Web-based
Training จะสะท้อนผ่านกระดานข่าวและห้องสนทนา อัตลักษณ์ที่
ปรากฏในทุกกลุ่มผู้เรียน คือการแสดงตัวตนจริงของกลุ่มผู้เรียน
สำาหรับความพึงพอใจของกลุ่มผู้เรียน Web-based Training พบว่า
มีความพึงพอใจในการสื่อสารแบบต่างเวลามากกว่าแบบเวลาเดียวกัน
และทัศนคติเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลในการเรียนรู้ของผู้เรียน Web-
28




based Training คือ ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ อัตลักษณ์ของ
ผู้เรียน ความไว้วางใจ มนุษยสัมพันธ์ การมีอยู่ในสังคม มีอิทธิพลต่อ
การเรียนรู้ในทางบวกของผู้เรียน Web-based Training ในขณะ
เดียวกัน ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ความไม่ไว้วางใจ
มนุษยสัมพันธ์ที่ไม่ดี การไร้ตัวตนในสังคม และอคติของผู้เรียน มี
อิทธิพลต่อการเรียนรู้ในทางลบของผู้เรียน Web-based Training
         ศิริอร พงษ์สมบูรณ์ (2545 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการใช้ Web-
based Training เพื่อการพัฒนาบุคลากรของผู้บริหาร เขตโทรศัพท์
ภูมิภาค บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) ศึกษาการใช้
Web-based Training ในด้านคุณสมบัติและเนื้อหาวิชา สาขาวิชา
กฎหมาย การตลาด การบริหาร ความรู้ด้านช่างและความรู้ทั่วไป รวม
ทั้งปัญหาและอุปสรรคในการเตรียมความพร้อม สำาหรับการฝึกอบรม
แบบ Web-based Training เพื่อพัฒนาบุคลากรของผู้บริหารเขต
โทรศัพท์ภูมิภาค บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) พบว่าผู้
บริหารส่วนใหญ่ใช้อินทราเน็ตที่ทำางาน โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ที่
ใช้ได้แก่ IE: Internet Explorer เพื่อดูคำาสั่งต่าง ๆ ของฝ่าย
ทรัพยากรบุคคล และมีความพร้อมในการฝึกอบรมมาก ในด้านของ
เนื้อหาวิชา ต้องการวิชากลยุทธ์การตลาดเพื่อรักษาลูกค้า และเทคนิค
การทำางานมากที่สุด สำาหรับคุณสมบัติของการฝึกอบรมพบว่า ต้องการ
มีระบบติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมากที่สุด ส่วนปัญหาและ
อุปสรรคในการเตรียมความพร้อมสำาหรับการฝึกอบรม ได้แก่ การใช้
ภาษาอังกฤษ เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพตำ่า รวมทั้งการสื่อสาร
ในการเข้าใช้อินทราเน็ตมีความเร็วตำ่า

      งานวิจ ัย ต่า งประเทศ
      ใส่งานวิจัยต่างประเทศ
29




         จากผลการศึกษางานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่า เว็บฝึก
อบรม เป็นการนำาการฝึกอบรม ด้วยการนำาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต โดย
ผูฝึกอบรมสามารถเข้าฝึกอบรมได้ทุกที่ทุกเวลาที่ตนเองต้องการ เพียง
  ้
แค่มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิด
การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย เพิ่มทักษะให้กับผู้
ฝึกอบรมและยังช่วยขจัดอุปสรรคและปัญหาต่างๆ ทีอาจเกิดขึ้นจาก
                                                    ่
การฝึกอบรมแบบเดิม
         ข้อ ดีแ ละประโยชน์ข องเว็บ ฝึก อบรม
         เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้แสดงให้เห็นว่า สื่อที่มีประสิทธิภาพที่
จะเข้ามาพัฒนาใช้ในการฝึกอบรมมากขึ้นได้มีนักการศึกษาและนัก
วิชาการหลายท่านกล่าวถึงข้อดีและประโยชน์ของการใช้เว็บฝึกอบรม
ที่เป็นมิติใหม่ของกระบวนการเรียนการสอน
         1. การเรียนการสอนสามารถเข้าถึงทุกหน่วยงานที่มี
อินเทอร์เน็ตติดตั้งอยู่
         2. การเรียนการสอนกระทำาได้โดยผู้เข้าฝึกอบรมไม่ต้องทิ้ง
งานประจำาเพื่อมาฝึกอบรม
         3. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียนการสอน เช่น ค่าที่พัก
         4. การเรียนการสอนกระทำาได้ตลอด 24 ชั่วโมง
         5. การจัดสอนหรือฝึกอบรมมีลักษณะที่ผู้เรียนเข้าเรียนเป็น
ศูนย์กลางการเรียนรู้เกิดกับตัวผู้เข้าฝึกอบรมโดยตรง
         6. การเรียนรู้เป็นไปตามความก้าวหน้าของผู้รับการเรียนการ
สอนเอง
         7. สามารถทบทวนบทเรียนและเนื้อหาได้ตลอดเวลา
         8. สามารถซักถามหรือเสนอแนะ หรือถามคำาถามได้ด้วยเครื่อง
มือบนเว็บ
30




        9. สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้ารับการฝึก
อบรมได้โดยตรงเครื่องมือสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E–mail ) หรือห้องสนทนา (Chat Room) หรืออื่น ๆ
        10. ไม่มีพิธีการมากนัก [Pollack and Masters (1997,
pp. 28-31)]
        ข้อ จำา กัด ของเว็บ ฝึก อบรม
        1. ข้อจำากัดของแบนวิดธ์ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งมีผลต่อ
ความเร็วในการนำาเสนอข้อมูลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำาเสนอภาพ
เคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ และเสียง ทำาให้ภาพเกิดอาการกระตุก
(Jitter) และข้อความต่อเนื่อง (มนต์ชัย เทียนทอง, 2544, หน้า 75;
Driscoll, 1998; Kilby, 1998; Hall, 1997)
        2. ขาดนักออกแบบระบบการฝึกอบรมโดยใช้อินเทอร์เน็ต
(สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544)
        3. บทเรียนที่พัฒนาขึ้น มักจะมีความใกล้เคียงกับหนังสืออิเล็ค
ทรอนิกส์ (e-book) โดยที่ผู้พัฒนาบทเรียนบางคนยังมีความเข้าใจ
คลาดเคลื่อนว่าบทเรียน WBI/WBT ก็คือหนังสือที่นำาเสนอโดยใช้เว็บ
บราวเซอร์นั่นเอง ทำาให้บทเรียนมีเนื้อหาตายตัวมากเกินไปไม่ยืดหยุ่น
ในการใช้งานเท่าที่ควร (มนต์ชัย เทียนทอง, 2544, หน้า 75)
        4. ผู้เรียนและผู้สอนจะมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านจอคอมพิวเตอร์
ทำาให้ไม่สามารถที่จะรับรู้ความรู้สึก ปฏิกิริยาที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้
สอน (นำ้ามนต์ เรืองฤทธิ์, 2543, หน้า 95)
        5. ปัญหาของเส้นทางการเข้าสู่เนื้อหา (Navigational
Problems) รูปแบบข้อความหลายมิติและการเชื่อมโยงไปยังแหล่ง
ต่าง ๆ อาจทำาให้ผู้เรียนหลงทางและสูญเสียความสนใจในบทเรียนซึ่ง
เป็นปัญหากับผู้เรียน การใช้ส่วนนี้ชี้นำาจะเป็นการช่วยเหลือให้ผู้เรียน
ลดปัญหาเหล่านั้นได้ (Hall, 1997; Hiles and Ewing, 1996;
Khan, 1997)
31




      6. อุปสรรคด้านภาษา เนื่องจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตส่วน
ใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ (ปรัชญนันท์ จันทราภัย, 2544, หน้า 84;
สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544, หน้า 95)
      7. ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และการขาดความ
เข้าใจของผู้เรียน (ปรัชญา จันทราภัย, 2542, หน้า 84; สรรรัชต์
ห่อไพศาล, 2544, หน้า 95) นชัด (Explicit Knowledge)

More Related Content

What's hot

วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์Prapaporn Boonplord
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student systemApple Preeya
 
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Finalmeawznoy
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมAyumu Black
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯKrupol Phato
 
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัชSa MiLd
 

What's hot (20)

คลาวด์เทคโนโลยี (Cloud technology)
คลาวด์เทคโนโลยี (Cloud technology)คลาวด์เทคโนโลยี (Cloud technology)
คลาวด์เทคโนโลยี (Cloud technology)
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
E learning start
E learning startE learning start
E learning start
 
Manual
ManualManual
Manual
 
Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
 
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Moodle - OSS LCMS
Moodle - OSS LCMSMoodle - OSS LCMS
Moodle - OSS LCMS
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
06550135 e learning
06550135 e learning06550135 e learning
06550135 e learning
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
 
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 

Similar to ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop

โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareNECTEC, NSTDA
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer projectjungkookjin
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioTee Lek
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningBoonlert Aroonpiboon
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลssuserea9dad1
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 

Similar to ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop (20)

Moodle2010
Moodle2010Moodle2010
Moodle2010
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer project
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
 
2726344 M1 L2
2726344 M1 L22726344 M1 L2
2726344 M1 L2
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
การติดตั้ E front (อีฟร้อนท์)
การติดตั้ E front (อีฟร้อนท์)การติดตั้ E front (อีฟร้อนท์)
การติดตั้ E front (อีฟร้อนท์)
 

More from rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 

More from rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 

ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กีย วข้อ ง ่ ในการพัฒนาและผลิตสื่อการฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Training) เรื่อง เทคนิคการตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมโฟโต้ชอป (Photoshop) นั้น ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไป นี้ 1. ความหมายและการพัฒนาของเว็บฝึกอบรม - ระบบการเรียนรู้ Web-based Training 2. องค์ประกอบของเว็บฝึกอบรม - การนำาเสนอเนื้อหาของเว็บฝึกอบรม 3. มาตรฐานและขั้นตอนการพัฒนา - องค์กรที่บริหารจัดการเว็บฝึกอบรม 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 ความหมายและการพัฒ นาของเว็บ ฝึก อบรม Web-based Training เป็นแนวคิดทางการศึกษาที่เกิดขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ทำาให้เกิดการเรียน การสอนระบบต่าง ๆ และมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปไม่ว่าจะเป็น การ เรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction), การเรียนการ สอนออนไลน์ (On-line Learning), การเรียนการสอนผ่าน อินเทอร์เน็ต (Internet-based Instruction) หรือแม้แต่จะเรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (CAI on Web) ทั้งหมดจัดเป็นรูปแบบ ของการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น (อ้างอิง)
  • 2. 11 ความหมายของเว็บฝึกอบรมมีมุมมองที่แตกต่างกันไป สมาคม อเมริกันเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรม (2000) ได้อธิบายความหมาย เอาไว้ด้วยกัน 3 ลักษณะคือ 1. ความหมายทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ Web-based Training หมายถึง กระบวนการและการใช้ ประโยชน์จากการเรียนการสอนผ่านเว็บคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนร่วมมือด้วยเครื่องมือดิจิตอลต่าง ๆ รวม ถึงการเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต,ระบบอินทราเน็ต ระบบเครือข่าย การเรียนด้วยระบบเสียง ระบบภาพ ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ และซีดีรอม 2. ความหมายทางด้านอินเทอร์เน็ต Web-based Training หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต หรือการใช้ความสามารถของระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการ เรียนรู้ 3. ความหมายทั่วไป Web-based Training หมายถึง การบูรณาการทางการ ศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ เมื่อประมวลความหมายของทั้ง 3 ลักษณะเข้าด้วยกัน สอดคล้องกับแนวคิดและบริบทในปัจจุบันกล่าวได้ว่า Web- based Training หมายถึง การจัดกระบวนการและการใช้ประโยชน์ จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และระบบ อินเทอร์เน็ต ทีออกแบบการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิด ่ การเรียนรู้ได้ทุกที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ จึงทำาให้มีความพยายามพัฒนาการเรียนการสอนแบบออนไลน์ มากขึ้น ซึ่งการสร้างเว็บเพื่อการ เรียนการสอนจึงเป็นส่วนหนึ่งของ Web-based Training
  • 3. 12 ระบบการเรีย นรู้ Web-based Training การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลินนิ่งหรือการเรียนรู้ระบบ ออนไลน์ สามารถแบ่งกระบวนการ ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ออกได้เป็น 2 ส่วนคือ 1. Web-based Training แบบ LMS : Learning Management System เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอน ต่างๆ การออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหา การลงทะเบียน การเก็บข้อมูล การมี ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่น อีเมล์ กระดานข่าว ห้อง สนทนา เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูล ที่สนับสนุนการ จัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำานวยความสะดวกให้กับผู้ เรียน ผู้สอน ผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ 2. Web-based Training แบบ CMS : Content Management System เป็นส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียน ผูสอนจะ ้ เป็นผู้จัดทำาขึ้น และนำามาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้ สอนจัดทำาขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอน สามารถจัดการบริหาร เพิ่มเติมเนื้อหา ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วน ได้ด้วยตนเอง อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอน เพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำาไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบ เข้ามาช่วย ความแตกต่างกันของระบบการบริหารจัดการ Web-based Training ทำาให้เกิดความไม่เข้าใจในการเลือกวิธีการที่จะใช้และการ พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ Web-based Training ซึ่งมีข้อแตกต่าง ที่เห็นได้ชัดเจนดังนี้ LMS : ระบบการจัดการเรียนรู้ CMS : ระบบการจัดการเนื้อหา 1. การบริหารจัดการเฉพาะ 1. การบริหารจัดการทั้งระบบ เนื้อหา 2. กระบวนการจัดการสมบูรณ์ 2. กระบวนการจัดการเฉพาะ
  • 4. 13 แบบ เนื้อหาและ องค์ประกอบเต็มรูปแบบ องค์ประกอบบางส่วน 3. ดำาเนินการด้วยบุคลากร 3. ดำาเนินการโดยผู้สอน จำานวนมาก 4. ค่าใช้จ่ายการดำาเนินการสูง 4. ค่าใช้จ่ายการดำาเนินการตำ่า 5. เหมาะสำาหรับองค์กรขนาด 5. เหมาะสำาหรับอาจารย์ที่มีความ ใหญ่ รู้เฉพาะ 6. ใช้เป็นสื่อหลักในการเรียน 6. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการ การสอน สอน 7. เนื้อหามาจากผู้เชี่ยวชาญ 7. เนื้อหาตรงตามความต้องการผู้ หรือผู้ชำานาญการ สอน 8. การผลิตยุ่งยากและใช้เวลา 8. การผลิตง่ายและใช้เวลาน้อย นาน 9. การสร้างเน้นการทำางานกับ 9. การสร้างเน้นการทำางานกับ เครื่องแม่ข่าย เครื่องลูกข่าย 10. ความรับผิดชอบอยู่ที่ 10. ความรับผิดชอบอยู่ที่ผู้สร้าง องค์กรหรือหน่วยงาน หรือผู้สอน การบริหารจัดการ Web-based Training ที่เป็นการบริหาร จัดการทั้งระบบ (LMS : Learning Management System) จะดูแล ตั้งแต่เนื้อหา การสร้าง การติดตั้ง การลงทะเบียน การชำาระเงิน การ เก็บข้อมูล การมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน ซึ่งจะครอบคลุมไปถึงแบบ ฝึกหัดและข้อสอบที่สามารถจัดเก็บผลคะแนนสอบของแต่ละคนได้ เป็น ระบบที่สมบูรณ์แบบ ขณะที่ถ้าให้ผู้สอนเป็นผู้ดำาเนินการเอง ก็จะ กระทำาได้เพียงการสร้างเนื้อหาและติดตั้งองค์ประกอบบางส่วนเท่านั้น แต่การบริหารจัดการทั้งระบบจะต้องใช้บุคลากรจำานวนมากได้แก่ 1. ผูดูแลระบบ (Administrator) เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบ ้ เครือข่าย เครื่องแม่ข่ายและการติดต่อสื่อสารของระบบเครือข่าย
  • 5. 14 คอมพิวเตอร์ การบริหารเครือข่าย ดูแลการบริหารงานธุรการ การเงิน และบุคลากรทั้งระบบ 2. ผูดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ ้ คอยเฝ้าติดตามการเข้ามาใช้เว็บของผู้เรียนและดูแลเครื่องมือต่าง ๆ ที่ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่น กระดานข่าว การถาม-ตอบ มีความ สามารถระดับโปรแกรมเมอร์ 3. ผูออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบ ้ และสร้างเว็บสำาหรับการเรียนการสอนตามการออกแบบที่กำาหนดมา จากผู้ออกแบบการเรียนการสอน 4. ผูออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional ้ System Developer) เป็นผู้กำาหนดรูปแบบการเรียนการสอน องค์ ประกอบเนื้อหา วิเคราะห์ระบบการสอนและวางรูปแบบเพื่อให้ผู้ ออกแบบและพัฒนาเว็บสามารถดำาเนินการได้ 5. ผูสอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่ ้ ต้องการจะนำามาใช้ในการเรียนการสอน กำาหนดเนื้อหาที่จะสอน แบบ ฝึกหัด ข้อสอบ การวัดผลและประเมินการเรียน ดังนั้นถ้าจะเลือกระบบที่สมบูรณ์แบบสำาหรับ Web-based Training ก็หมายความว่า จะต้องจัดหาคณะทำางานที่พร้อมสำาหรับ การบริหารจัดการ ยังไม่รวมเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะต้องมีความ พร้อมสำาหรับให้คณะทำางานได้ทำางานอย่างเต็มที่ ซึ่งถ้ารวมมูลค่า เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ก็จัดว่าเป็นการลงทุนที่สูงมากเพราะนั่นคือถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์และค่าใช้จ่ายอีกนานับประการ ที่จะตามมา ได้แก่ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) 2. อุปกรณ์ต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.1 เล้าเตอร์ (Router) 2.2 โมเด็ม (Modem)
  • 6. 15 2.3 สวิตช์ (Switch) 2.4 ฮับ (Hub) 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) สำาหรับการสร้างและ พัฒนาเว็บ 4. เครื่องมือประกอบอื่น ๆ เช่น เครื่องสแกนภาพ,กล้อง ดิจิตอล, ฯลฯ 5. ค่าใช้จ่ายโปรแกรมการสร้างเว็บ 6. ค่าเช่าบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 7. ค่าจดทะเบียนโดเมน 8. ค่าลิขสิทธิ์ทางปัญญาของเนื้อหาวิชา ฯลฯ ค่าใช้จ่ายของการบริหารจัดการระบบที่สมบูรณ์แบบจึงค่อน ข้างสูงมาก ทำาให้สถาบันการศึกษา ต่าง ๆ ไม่สามารถดำาเนินการเองได้ จึงได้มีบริษัทหรือหน่วยงานที่ ดำาเนินการเรื่องนี้โดยเฉพาะเกิดขึ้นมีการคิดค่าใช้จ่ายในการดำาเนิน งานในลักษณะเดียวกับการให้บริการทั่วไป เหมาะสำาหรับสถานศึกษา หรือหน่วยงานขนาดใหญ่ ๆ จะใช้บริการ อันเนื่องจากมีจำานวน นักศึกษามากและจัดการศึกษาระบบเปิดเช่น มหาวิทยาลัยรามคำาแหง มีระบบอีเลินนิ่งสำาหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยได้เรียนรู้ในลักษณะ ที่เป็นสื่อหลัก แต่สำาหรับระบบการจัดการเนื้อหาที่จัดทำาโดยอาจารย์ผู้ สอนจะเป็นแบบสื่อเสริมการเรียนรู้เท่านั้น การเป็นสื่อหลักหมายถึง การนำาเอาระบบอีเลินนิ่งเข้ามาแทน อาจารย์ผู้สอน ให้นักศึกษาได้ใช้สำาหรับการเรียนครบถ้วนสมบูรณ์ทั้ง วิชา โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน ใช้สอนเนื้อหาวิชาแทนอาจารย์ผู้สอนได้ มีระบบการวัดผลประเมินตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน แต่อาจ จะยังต้องใช้วิธีการสอบแบบเข้าห้องสอบก็ได้ ส่วนการใช้ Web-based Training เป็นสื่อเสริม หมายถึง การนำาเอาระบบอีเลินนิ่งเข้ามาช่วยสอนเสริมจากการสอนของอาจารย์
  • 7. 16 เช่น ทบทวนเนื้อหาผ่านเว็บ ทำาแบบฝึกหัด ติดต่อสือสารกับอาจารย์ผู้ ่ สอนแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ ผ่านระบบออนไลน์ อาจมีเนื้อหา สมบูรณ์ครบถ้วนทั้งวิชา แต่ยังมีการ เรียนในชั้นเรียนเป็นหลัก มีเว็บเป็นสื่อช่วยการเรียนการสอนให้ สมบูรณ์ การบริหารระบบ Web-based Training เต็มรูปแบบจึงค่อน ข้างยุ่งยากตั้งแต่เริ่มต้นดำาเนินการ การผลิตเนื้อหาที่จะต้องใช้ผู้ เชี่ยวชาญเนื้อหาประกอบกับอาจารย์ผู้สอนประจำาวิชามาวางแผนการ สอน จากนั้นจึงทำาการสร้างขึ้น หรืออาจใช้วิธีการจ้างหรือจัดหางบ ประมาณมาให้ดำาเนินการเช่น เครือข่ายการศึกษาของ UNINET ของ มหาวิทยาลัยที่จัดให้มีอีเลินนิ่งเรียนผ่านเว็บในหลายวิชา โดยให้ อาจารย์ผู้สอนได้ตั้งคณะทำางานจัดสร้างขึ้น แล้วเผยแพร่ให้กับ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ใช้ในการเรียนการสอนโดยใช้คณะทำางาน จำานวนมาก เนื้อหาจะเป็นไปตามหลักสูตรที่กำาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญ แต่อาจไม่สอดคล้องกับความต้องการเนื้อหาการสอนของอาจารย์ได้ ระบบการออกแบบ Web-based Training ที่บริหารจัดการ การเรียนรู้ทั้งระบบ จะเป็นการเขียนโปรแกรมสำาหรับแสดงผลในเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการทำางานโดยคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) จึงมักจัดทำาเป็นโปรแกรมระบบอีเลินนิ่งโดยเฉพาะ อาจารย์ ผูสอนสามารถเข้าไปบริหารจัดการเนื้อหาได้เท่านั้นหรืออาจจะแก้ไข ้ ปรับปรุงระบบได้บางส่วน แต่ทั้งระบบจะถูกควบคุมโดยองค์กรที่รับผิด ชอบในการดำาเนินการโดยเฉพาะ ทำาให้ต้องมีเงื่อนไขในการจัดทำา หลายอย่างที่ผู้สอนเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยไม่ได้การบริหารจัดการระบบ จะกระทำาโดยหน่วยงานเฉพาะซึ่งจะรับผิดชอบดูแลทั้งหมดทำาให้มี ประสิทธิภาพสูงและมีค่าใช้จ่ายสูง ผูสอนทำาหน้าที่ได้เพียงสร้างเนื้อหา ้ บทเรียนแล้วนำาไปติดตั้งเข้าสู่ระบบ หรือกำาหนดเนื้อหาบทเรียนให้ เท่านั้น (อ้างอิง)
  • 8. 17 ขณะที่ระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System) ซึ่งถูกจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการระบบ สามารถ ดำาเนินการได้โดยผู้สอนทั้งหมดทั้งแต่เนื้อหาที่จะใช้ในการสอน การ สร้างและออกแบบเว็บ การติดตั้งระบบโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ ให้ฟรีในระบบอินเทอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ติดตั้งเว็บ กระดานข่าว ห้องสนทนา การมีปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน แบบ ฝึกหัดและแบบทดสอบต่าง ๆ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยมาก ไม่ยุ่งยากใน การดำาเนินการเนื้อหาตรงตามความต้องการของผู้สอน ผู้สอนได้มี โอกาสวางแผนการเรียนด้วยตนเอง จัดทำาและบริหารจัดการได้ด้วย ตนเอง ใช้เวลาในการผลิตพอสมควร ไม่เป็นภาระกับหน่วยงาน และผู้ สอนเป็นผู้รับผิดชอบต่อการดำาเนินการทั้งหมด (อ้างอิง) พัฒ นาการของ Web-based Training นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2544) ได้กล่าวถึงพัฒนาการของ Web- based Training ว่ามีความเป็นมาตามลำาดับดังต่อไปนี้ 1. Distance learning (1840) ในสมัยเริ่มแรกใช้ส่งบท เรียนผ่านระบบไปรษณีย์เพื่อเข้าถึงผู้เรียนจำานวนมากที่อยู่ห่างไกล และมีการเปิด home-study program ทางไปรษณีย์สำาหรับผู้ที่ ต้องการเรียนจากบ้าน 2. Computer-Aided Instruction (CAI)/Computer- Based Training (CBT) (1960) เริ่มใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการ สอน CAI/CBT ใช้ในการฝึกอบรมในวงการธุรกิจและอุตสาหกรรม เนื่องจากในยุคนี้ยังไม่มีระบบเครือข่ายที่แพร่หลาย 3. Web technologies (1990) เมื่ออินเทอร์เน็ตเริ่มแพร่ หลายจึงได้มีการนำาบทเรียนต่าง ๆ สอนและฝึกอบรมผ่านอินเทอร์เน็ต และอินทราเน็ต เมื่อนำามาใช้ในการฝึกอบรมขององค์กรต่าง ๆ จะเรียก ว่า WEB-Based Training (WBT) และเมื่อนำามาใช้ในสถาบันการ
  • 9. 18 ศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนจะเรียกว่า Web-Based Education/Web-Based Instruction (WBE/WBI) 4. Web-based Training technology (2000) เป็นระยะ เวลาที่การเรียนการสอน และการฝึกอบรมออนไลน์ (online training) เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่บทเรียน เว็บเทคโนโลยีได้รับการพัฒนา มากขึ้น มีการนำาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย และเทคโนโลยีระบบบริหาร จัดการรายวิชา (LMS/CMS) เข้ามาช่วยในการจัดเตรียมเนื้อหา และ บริหารจัดการหลักสูตรออนไลน์ 2. องค์ป ระกอบของเว็บ ฝึก อบรม ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1. เนื้อหา (Content) เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญที่สุดสำาหรับ Web-based Training เพราะเป็นส่วนที่ผู้สอนจะต้องเป็นผู้เสนอและ เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ผู้เรียน เนื้อหาที่ดีสามารถทำาให้ผู้เรียน เรียนได้ อย่างเพลิดเพลิน เข้าใจและบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้ เนื้อหา ดังกล่าวนี้ประกอบไปด้วยหน้าเว็บเพจต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 โฮมเพจ เป็นหน้าแรกของเว็บบทเรียน ส่วนใหญ่หน้า แรกจะมีการออกแบบสวยงาม ทำาให้น่าสนใจและติดตาม 1.2 เว็บเพจหน้าประกาศต่าง ๆ เป็นประกาศกำาหนดการ เรียน ข้อตกลงต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมทั้งข่าวสารต่าง ๆ 1.3 เว็บเพจ หน้าแสดงชื่อรายวิชา จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่ กับรายละเอียดของเนื้อหาวิชา บอกวัตถุประสงค์ของที่เรียน ผู้สอนจะ ทำาการเชื่อมโยง (link) ไปยังเว็บเพจอื่นให้ผู้เรียนถามปัญหา แลก เปลี่ยนความคิดเห็น หรือมีการเชื่อมโยงไปค้นคว้าแหล่งข้อมูล เช่น ห้องสมุดและแหล่งความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่เรียน และมี
  • 10. 19 การตั้งคำาถามให้ผู้เรียนตอบ และการทดสอบความรู้ย่อย โดยอาจจะ ให้ผู้เรียนส่งคำาตอบ ให้ผสอนทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ู้ 1.4 เว็บเพจตอบปัญหา ในเว็บเพจกิจกรรม ผูสอนจะกระตุ้น ้ ให้ผู้เรียนตั้งปัญหาส่งมาให้ผู้สอนทางอีเมล์ ผู้สอนจะตอบปัญหาทาง คอลัมน์ FAQ เพื่อให้ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้อ่านด้วย (มนตรี ดวงจิโน 2544, 39-44) และผู้เรียนคนอื่นยังสามารถแสดงความคิดเห็นอื่น ๆ ได้ ถ้าหน้าเพจนั้นถูกออกแบบให้เป็นกระดานข่าว (web board) 1.5 เว็บเพจห้องเรียน เป็นหน้าเพจนำาเสนอบทเรียน ที่ผู้ สอนจัดทำาไว้สำาหรับผู้เรียน ในที่นี้จะรวมทั้งเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร ภาพ วีดิทศน์ รวมทั้งสื่อประสมอื่น ๆ มัลติมีเดียที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับบท ั เรียน 2. ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Course/Contents Management System-CMS และ Learning Management System-LMS) เป็นระบบบริหารจัดการรายวิชา ซึ่งเป็นเสมือนระบบที่ รวบรวมเครื่องมือที่ออกแบบไว้เพื่อความสะดวกแก่ผู้ใช้ ในการจัดการ กับการเรียนการสอนออนไลน์ ผู้ใช้ดังกล่าวแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้สอน ผู้เรียนและผู้บริหารระบบเครือข่าย ซึ่งระบบนี้จะทำาหน้าที่ ช่วยผู้สอนที่ไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีสามารถใช้ได้ โดยไม่จำาเป็นที่จะ ต้องรู้จักภาษา HTML หรือ Java และยังสามารถช่วยผู้สอนในการนำา เนื้อหา จัดเก็บเนื้อหา ทำาการป้อนข้อมูลผ่านเว็บเพื่อเข้าสู่ระบบฐาน ข้อมูลได้ง่ายขึ้น และสามารถเรียกข้อมูลออกมาแก้ไขได้อย่างสะดวก ( ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2545,37,73) มีการสำารวจของ ASTD ใน เรื่องการตอบสนองต่อการใช้ซอฟต์แวร์ในการออกแบบการสอนผล การสำารวจพบว่า ผู้ใช้ตอบเป็นเอกฉันท์ว่าใช้ง่ายและสามารถสรุปได้ ว่า ใครก็ตามที่สามารถใช้โปรแกรม Word processor ได้ ก็ สามารถใช้โปรแกรมสำาหรับรูปดังกล่าวอย่างไม่ยากนัก (Salopec 1998, 23)
  • 11. 20 นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 134) ได้กล่าวถึงระบบการทำางาน ของ Web-based Training โดยการใช้ LMS ว่าระบบจะเริ่มทำางาน โดย ส่งบทเรียนตามคำาขอของผู้เรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้แก่ อินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต ไปแสดงที่เว็บเบราว์เซอร์ของผู้เรียน จาก นั้นระบบติดตามและบันทึกความก้าวหน้า รวมทั้งสร้างรายงาน กิจกรรมและผลการเรียนของผู้เรียนในทุกหน่วยของการเรียนอย่าง ละเอียด จนกระทั่งจบหลักสูตร สรุปได้ว่า LMS จะจัดการตั้งแต่ผู้เรียนเริ่มลงทะเบียนผ่านเว็บ เข้ามาเรียนจัดเก็บความก้าวหน้าในการเรียน และยังสามารถตรวจ สอบจำานวนผู้เข้าเรียน สถิติการเข้าใช้ เวลาเข้า และเวลาที่ผู้เรียนเลิก เรียน (tracking) ส่วน CMS นั้น สามารถอำานวยความคล่องตัว ให้ กับผู้สอนในการสร้างบทเรียน รวมทั้งการสร้างข้อสอบให้เป็นไปอย่าง สะดวกสบาย และมีความคล่องตัว 3. การทดสอบและการประเมินผลในการทดสอบออนไลน์ ระบบของ CMS มีเครื่องมือในการสร้างแบบทดสอบ สามารถกำาหนด คะแนนได้ว่าจะสร้างกี่ข้อการคิดคะแนนผู้สอนสามารถกำาหนดได้ ลักษณะของแบบทดสอบเลือกได้ลักษณะถูกผิด และแบบ ปรนัย จับคู่ (ลากแล้ววาง) การส่งข้อความให้เพื่อช่วยตรวจ CMS จะช่วยให้ผู้สอน สามารถที่จะจัดทำาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพื่อการเลือกกลับ มาใช้ใหม่ หรือนำามาปรับปรุงแก้ไขได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ระบบยัง สามารถช่วยผู้สอนคำานวณตัดเกรดคิดคะแนน รวมทั้งสามารถจะเลือก ได้ว่าจะประเมินผลผู้เรียนในลักษณะต่าง ๆ เช่นอิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือ ใช้สถิติในการคำานวณหาค่าเฉลี่ย ค่า T-Score รวมทั้งการแสดงผล ในรูปกราฟ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2545, 39-40) 4. โหมดการติดต่อสือสาร (mode of communications) ่ เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่จัดการให้ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน สามารถติดต่อกันได้ นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 235) กล่าวว่า
  • 12. 21 ELearning นั้นแตกต่างจากการเรียนทางไกลโดยทั่ว ๆ ไป คือ เป็นการนำารูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบการ เรียนเพื่อเพิ่มความสนใจในการตื่นตัวของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนให้ มากยิ่งขึ้น และสามารถแบ่งประเภทการสื่อสารออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่สื่อสารกัน ณ เวลาจริง (real time) ได้แก่ White Board/ text slide, chat, interactive poll, conferencing เป็นต้น และประเภทที่ไม่มีการสื่อสารกัน ณ เวลาจริง (non-real time) ได้แก่ กระดานข่าว (web board) และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ในระหว่างเรียน ถ้ามีคำาถามซึ่งเป็นการทดสอบย่อยในบทเรียนที่ผู้ เรียนต้องเลือกคำาตอบ คำาตอบนั้นจะถูกส่งกลับมายังระบบทันที ซึ่งจะ ทำาให้ผู้เรียนรักษาระดับความสนใจในการเรียนได้มากขึ้น ซาน และ โอจี และ เอ็ม (วุฒิ วัฒนสิน 2544, 30 อ้างจาก ซาน และ โอจี และ เอ็ม) ได้กล่าวว่า ปัจจัยหนึ่งที่ทำาให้การสอนออนไลน์ประสบความ สำาเร็จคือ การมีปฏิสัมพันธ์หรือการติดต่อระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ต้อง เป็นไปด้วยความสะดวก ซึ่งสอดคล้องกับ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, 38-39) ที่ได้เสนอว่าควรมีการจัดหาเครื่องมือติดต่อสื่อสาร ไว้ให้กับผู้เรียนใช้มากกว่า 1 รูปแบบ เพื่อความสะดวกของผู้เรียน กรณีเป็น synchronous online อาจจะมีการถ่ายทอดสัญญาณเสียง สด กรณีเป็นการใช้จดหมายอเล็กทรอนิกส์ เพื่อการติดต่อสื่อสาร ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ส่งงาน ปรึกษาเป็นรายบุคคล กิจกรรมดังกล่าว จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่อง และจะเป็นการสร้างความคุ้นเคยในการเรียนออนไลน์ได้เป็น อย่างดี การนำา เสนอเนื้อ หาของเว็บ ฝึก อบรม การถ่ายทอดเนื้อหาสามารถแบ่งได้ 3 ระดับ
  • 13. 22 1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (text only) เนื้อหาในระดับนี้ จะอยู่ในรูปข้อความเป็นหลัก ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBT/WBI) ซึ่งข้อดีคือประหยัดรายจ่ายและครูฝึกสอนสามารถผลิต เนื้อหาได้ด้วยตนเอง 2. ระดับรายวิชาที่ออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด เนื้อหาจะ อยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพเสียง วีดิทัศน์ ที่ผลิตขึ้นมาอย่างง่าย ๆ ซึ่ง ถนอมพร ได้เสนอว่า ในระดับหนึ่งและระดับสองนี้ ควรจะมี CMS ทีดี ่ มาช่วยครูฝึกในการสร้างเนื้อหาและปรับเปลี่ยนเนื้อหาได้อย่างสะดวก ด้วยตนเอง 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูงเนื้อหาในระดับนี้จะอยู่ ในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ และต้องมีทีมงานการผลิตที่ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา (content expert) ผู้เชี่ยวชาญการ ออกแบบ (instructional designers) ผู้เชี่ยวชาญการผลิต มัลติมีเดีย (multimedia experts) ซึ่งหมายรวมถึง โปรแกรมเมอร์ (programmers) นักออกแบบกราฟิก (graphic designers) หรือผู้ เชี่ยวชาญในการผลิตภาพเคลื่อนไหว (animation experts) (ถนอ มพร เลาหจรัสแสง 2545, 13-15) 3. มาตรฐานและขั้น ตอนการพัฒ นา นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 139-140) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการ พัฒนา ดังนี้ คือ 1. ขั้นตอนการออกแบบระบบ ประกอบด้วย - การออกแบบโครงสร้าง - การจัดกลุ่มเนื้อหาของแต่ละหลักสูตรเป็นโมดูล - การกำาหนดมาตรฐานและรูแบบ
  • 14. 23 - การออกแบบ และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้บันทึกข้อมูล (repositories) - การกำาหนดเป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ - การออกแบบรูปแบบการสอนเชื่อมโยงกับเนื้อหา - การตัดสินใจว่าจะสร้างหรือซื้อโปรแกรมในการจัดการ - ตัวอย่างเครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้สร้าง ได้แก่ 1) Blackboard 2) Web CT 3) Cisco 4) Smart Force 5) Education Sphere 2. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ - การใช้เครื่องมือในการสร้างเนื้อหาบทเรียนเช่น (authoring tools, HTML และ media authoring tools ในการ สร้างภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว) - การสร้างกิจกรรมการเรียน - การค้นหาข้อมูลดิจิทัล และพิจารณาลิขสิทธิ์ของข้อมูล ดิจิทัล - การนำาเสนอเนื้อหาบทเรียนเดิมที่มีอยู่แล้วมาใช้ - พัฒนากลุ่มผู้เรียนและทรัพยากรที่ใช้ประกอบการเรียน เช่น - เอกสาร ตำารา เชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ 3. การนำาระบบไปใช้ - มีการพิจารณาเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบ - กำาหนดนโยบายในการเรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือ กลุ่ม
  • 15. 24 - ฝึกอบรมผู้เรียนถึงการใช้โปรแกรม Web-based Training ตามหลักสูตรที่กำาหนด - ประเมินผลประสิทธิภาพการทำางานของบุคลากรก่อนและ หลังการเรียนจากบทเรียน Web-based Training - ปรับปรุงเนื้อหาบทเรียนให้เหมาะสมยิ่งขึ้น มาตรฐานของเว็บ ฝึก อบรม นำ้าทิพย์ วิภาวิน (2545, 141) กล่าวว่า มาตรฐานเป็นสิ่ง สำาคัญ หากต้องการจะนำาเนื้อหาบทเรียน Web-based Training มา ใช้ร่วมกัน มีหลายองค์กรที่พยายามกำาหนดมาตรฐาน HTML (Hypertext Markup Language) และ XML (Extensible Markup Language) ที่พัฒนาโดยองค์กร W3C (World Wide Web Consortium) ซึ่งมีผลต่อความก้าวหน้าของมาตรฐาน Web- based Training 1. Aviation Industry CBT Committee (AICC) เป็นกลุ่ม แรกที่เริ่มกำาหนดมาตรฐาน Web-based Training โดยเน้นไปที่การ ฝึกอบรมออนไลน์ 2. EDUCAUSE Instruction Management Systems Project (IMS) เป็นกลุ่มผู้ขายที่รวมตัวกันกำาหนดมาตรฐานของ Web-based Training โดยพิจารณาจากผลการประชุมของกลุ่ม AICC ที่เน้นการกำาหนดกลุ่มของ tag ที่ใช้อธิบาย ส่วนประกอบของ Web-based Training 3. Advanced Distributed Learning (ADL) เป็นกลุ่ม หน่วยงานของรัฐที่กำาหนดมาตรฐานต่าง ๆ ได้พัฒนามาตรฐานของ SCORM (Shareable Content Reference Model) หรือ ADL SCORM
  • 16. 25 4. Alliance of Remote instructional Authoring and Distribute Networks for Europe (ARIADNE) เป็นกลุ่มที่เน้น มาตรฐานของยุโรป 5. IEEE Learning Technology Standards Committee (IEEE L TSC) เป็นองค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานของกลุ่มต่าง ๆ ใน สหรัฐอเมริกา องค์ก รที่บ ริห ารจัด การ Web-based Training หน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนหลายแห่งมองเห็นว่าระบบ การเรียนการสอนออนไลน์ จะเป็น สือที่เข้ามามีบทบาทอย่างสูงในอนาคต ไม่ใช่เพียงเข้ามาใช้ในการ ่ เรียนการสอนเท่านั้น แต่ยังนำาเข้ามาใช้ในการฝึกอบรมและการติดต่อ สือสารภายในองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งช่วยทำาให้เกิดความสะดวก ่ รวดเร็ว เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารจัดการองค์กร ทำาให้ ประหยัดรายจ่ายและได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภายในองค์กรได้ อย่างคุ้มค่า หน่วยงานที่รับจัดทำาและดูแลระบบการจัดการ Web- based Training ทั้งระบบอาทิ เช่น ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จัดทำาโปรแกรมระบบการเรียนการสอน ออนไลน์เต็มรูปแบบ โดยให้บริการหน่วยงานประเภทสถาบันการ ศึกษาที่ต้องการนำาเอาระบบการจัดการเรียนรู้แบบ Web-based Training ที่มีผดูแลให้ทั้งระบบ ก็สามารถติดต่อให้ดำาเนินการได้ แต่มี ู้ ค่าใช้จ่ายที่ต้องดำาเนินการและสนับสนุนระบบอยู่ด้วย 4. งานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง สุรเชษฐ พิทยาพิบูลพงศ์ (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การ เปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม การเรียนแบบออนไลน์
  • 17. 26 (Web-based Training ) ของนิสิต นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า การเปิดรับข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ มีความสัมพันธ์ ดังนี้ • จากสือบุคคลและสือเฉพาะกิจ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับ ่ ่ ความรูการเรียนแบบออนไลน์ ้ • จากสื่อมวลชน มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการเรียน แบบออนไลน์ • มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนแบบออนไลน์ • ความรู้ที่ได้ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการเรียนแบบ ออนไลน์ การเปิดรับข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ ที่ไม่มีความสัมพันธ์ ดังนี้ • จากสื่อมวลชน ไม่มีความ สัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการ เรียนแบบออนไลน์ • จากสือบุคคล และสือเฉพาะกิจไม่มความสัมพันธ์กบทัศนคติ ่ ่ ี ั ต่อการเรียนแบบออนไลน์ • ความรูเกียวกับการเรียนไม่มความสัมพันธ์กบพฤติกรรม ้ ่ ี ั การเรียนแบบออนไลน์ • ทัศนคติตอการเรียนไม่มความสัมพันธ์กบพฤติกรรมการ ่ ี ั เรียนแบบออนไลน์ นิสิต นักศึกษาในกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่มีการเปิดรับ ข่าวสารเกี่ยวกับการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) จากสื่อมวลชนอยู่ในระดับที่ตำ่า เปิดรับข่าวสารจากสื่อบุคคลและสื่อ เฉพาะกิจอยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้เกี่ยวกับการเรียนแบบ ออนไลน์ (Web-based Training) อยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติที่ ดีต่อการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) และมี
  • 18. 27 พฤติกรรมการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) อยู่ใน ระดับปานกลาง ซึ่งตัวแปรที่สามารถอธิบายพฤติกรรมการเรียนแบบ ออนไลน์ (Web-based Training) ได้มากที่สุด คือ การเปิดรับ ข่าวสารการเรียนแบบออนไลน์ (Web-based Training) จากสื่อ เฉพาะกิจ กรรณิการ์ วรรณธนปรีดา (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา ลักษณะการรวมกลุ่มและการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้เรียน Web- based Training ความพึงพอใจของผู้เรียนในบริบทแบบเวลา เดียวกันและต่างเวลา ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคมที่มีต่อผลการเรียนรู้ใน ระบบ Web-based Training พบว่า ลักษณะกลุ่มผู้เรียน Web- based Training มีขนาดกลางประมาณ 60 คน ถึงขนาดใหญ่ กว่า 1000 คน การรวมกลุ่มของผู้เรียน Web-based Training มี 2 ลักษณะคือ ในโลกเสมือนที่ห้องสนทนาของเว็บไซต์ Web-based Training และการรวมกลุ่มของผู้เรียน Web-based Training ใน โลกความจริง ซึ่งเกิดจากการจัดรวมกลุ่มโดยหน่วยงานเว็บไซต์ Web-based Training และการนัดพบปะระหว่างกลุ่มผู้เรียนเอง จะ เกิดขึ้นเมื่อกลุ่มผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์สนิทสนมในระดับหนึ่ง หรือกลุ่มผู้ เรียนเป็นบุคคลจากสถาบัน/องค์กรเดียวกัน กลุ่มผู้เรียน Web-based Training มีการสื่อสารในลักษณะแบบกระจายอำานาจที่เรียกว่าเครือ ข่ายการสื่อสารแบบทุกช่องทาง ซึ่งสมาชิกทุกคนสามารถติดต่อกันได้ โดยตรง ในการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้เรียน Web-based Training จะสะท้อนผ่านกระดานข่าวและห้องสนทนา อัตลักษณ์ที่ ปรากฏในทุกกลุ่มผู้เรียน คือการแสดงตัวตนจริงของกลุ่มผู้เรียน สำาหรับความพึงพอใจของกลุ่มผู้เรียน Web-based Training พบว่า มีความพึงพอใจในการสื่อสารแบบต่างเวลามากกว่าแบบเวลาเดียวกัน และทัศนคติเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลในการเรียนรู้ของผู้เรียน Web-
  • 19. 28 based Training คือ ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ อัตลักษณ์ของ ผู้เรียน ความไว้วางใจ มนุษยสัมพันธ์ การมีอยู่ในสังคม มีอิทธิพลต่อ การเรียนรู้ในทางบวกของผู้เรียน Web-based Training ในขณะ เดียวกัน ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ความไม่ไว้วางใจ มนุษยสัมพันธ์ที่ไม่ดี การไร้ตัวตนในสังคม และอคติของผู้เรียน มี อิทธิพลต่อการเรียนรู้ในทางลบของผู้เรียน Web-based Training ศิริอร พงษ์สมบูรณ์ (2545 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการใช้ Web- based Training เพื่อการพัฒนาบุคลากรของผู้บริหาร เขตโทรศัพท์ ภูมิภาค บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) ศึกษาการใช้ Web-based Training ในด้านคุณสมบัติและเนื้อหาวิชา สาขาวิชา กฎหมาย การตลาด การบริหาร ความรู้ด้านช่างและความรู้ทั่วไป รวม ทั้งปัญหาและอุปสรรคในการเตรียมความพร้อม สำาหรับการฝึกอบรม แบบ Web-based Training เพื่อพัฒนาบุคลากรของผู้บริหารเขต โทรศัพท์ภูมิภาค บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) พบว่าผู้ บริหารส่วนใหญ่ใช้อินทราเน็ตที่ทำางาน โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ที่ ใช้ได้แก่ IE: Internet Explorer เพื่อดูคำาสั่งต่าง ๆ ของฝ่าย ทรัพยากรบุคคล และมีความพร้อมในการฝึกอบรมมาก ในด้านของ เนื้อหาวิชา ต้องการวิชากลยุทธ์การตลาดเพื่อรักษาลูกค้า และเทคนิค การทำางานมากที่สุด สำาหรับคุณสมบัติของการฝึกอบรมพบว่า ต้องการ มีระบบติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมากที่สุด ส่วนปัญหาและ อุปสรรคในการเตรียมความพร้อมสำาหรับการฝึกอบรม ได้แก่ การใช้ ภาษาอังกฤษ เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพตำ่า รวมทั้งการสื่อสาร ในการเข้าใช้อินทราเน็ตมีความเร็วตำ่า งานวิจ ัย ต่า งประเทศ ใส่งานวิจัยต่างประเทศ
  • 20. 29 จากผลการศึกษางานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่า เว็บฝึก อบรม เป็นการนำาการฝึกอบรม ด้วยการนำาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต โดย ผูฝึกอบรมสามารถเข้าฝึกอบรมได้ทุกที่ทุกเวลาที่ตนเองต้องการ เพียง ้ แค่มีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย เพิ่มทักษะให้กับผู้ ฝึกอบรมและยังช่วยขจัดอุปสรรคและปัญหาต่างๆ ทีอาจเกิดขึ้นจาก ่ การฝึกอบรมแบบเดิม ข้อ ดีแ ละประโยชน์ข องเว็บ ฝึก อบรม เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้แสดงให้เห็นว่า สื่อที่มีประสิทธิภาพที่ จะเข้ามาพัฒนาใช้ในการฝึกอบรมมากขึ้นได้มีนักการศึกษาและนัก วิชาการหลายท่านกล่าวถึงข้อดีและประโยชน์ของการใช้เว็บฝึกอบรม ที่เป็นมิติใหม่ของกระบวนการเรียนการสอน 1. การเรียนการสอนสามารถเข้าถึงทุกหน่วยงานที่มี อินเทอร์เน็ตติดตั้งอยู่ 2. การเรียนการสอนกระทำาได้โดยผู้เข้าฝึกอบรมไม่ต้องทิ้ง งานประจำาเพื่อมาฝึกอบรม 3. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียนการสอน เช่น ค่าที่พัก 4. การเรียนการสอนกระทำาได้ตลอด 24 ชั่วโมง 5. การจัดสอนหรือฝึกอบรมมีลักษณะที่ผู้เรียนเข้าเรียนเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้เกิดกับตัวผู้เข้าฝึกอบรมโดยตรง 6. การเรียนรู้เป็นไปตามความก้าวหน้าของผู้รับการเรียนการ สอนเอง 7. สามารถทบทวนบทเรียนและเนื้อหาได้ตลอดเวลา 8. สามารถซักถามหรือเสนอแนะ หรือถามคำาถามได้ด้วยเครื่อง มือบนเว็บ
  • 21. 30 9. สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้ารับการฝึก อบรมได้โดยตรงเครื่องมือสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ต ทั้งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (E–mail ) หรือห้องสนทนา (Chat Room) หรืออื่น ๆ 10. ไม่มีพิธีการมากนัก [Pollack and Masters (1997, pp. 28-31)] ข้อ จำา กัด ของเว็บ ฝึก อบรม 1. ข้อจำากัดของแบนวิดธ์ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งมีผลต่อ ความเร็วในการนำาเสนอข้อมูลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำาเสนอภาพ เคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ และเสียง ทำาให้ภาพเกิดอาการกระตุก (Jitter) และข้อความต่อเนื่อง (มนต์ชัย เทียนทอง, 2544, หน้า 75; Driscoll, 1998; Kilby, 1998; Hall, 1997) 2. ขาดนักออกแบบระบบการฝึกอบรมโดยใช้อินเทอร์เน็ต (สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544) 3. บทเรียนที่พัฒนาขึ้น มักจะมีความใกล้เคียงกับหนังสืออิเล็ค ทรอนิกส์ (e-book) โดยที่ผู้พัฒนาบทเรียนบางคนยังมีความเข้าใจ คลาดเคลื่อนว่าบทเรียน WBI/WBT ก็คือหนังสือที่นำาเสนอโดยใช้เว็บ บราวเซอร์นั่นเอง ทำาให้บทเรียนมีเนื้อหาตายตัวมากเกินไปไม่ยืดหยุ่น ในการใช้งานเท่าที่ควร (มนต์ชัย เทียนทอง, 2544, หน้า 75) 4. ผู้เรียนและผู้สอนจะมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านจอคอมพิวเตอร์ ทำาให้ไม่สามารถที่จะรับรู้ความรู้สึก ปฏิกิริยาที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้ สอน (นำ้ามนต์ เรืองฤทธิ์, 2543, หน้า 95) 5. ปัญหาของเส้นทางการเข้าสู่เนื้อหา (Navigational Problems) รูปแบบข้อความหลายมิติและการเชื่อมโยงไปยังแหล่ง ต่าง ๆ อาจทำาให้ผู้เรียนหลงทางและสูญเสียความสนใจในบทเรียนซึ่ง เป็นปัญหากับผู้เรียน การใช้ส่วนนี้ชี้นำาจะเป็นการช่วยเหลือให้ผู้เรียน ลดปัญหาเหล่านั้นได้ (Hall, 1997; Hiles and Ewing, 1996; Khan, 1997)
  • 22. 31 6. อุปสรรคด้านภาษา เนื่องจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตส่วน ใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ (ปรัชญนันท์ จันทราภัย, 2544, หน้า 84; สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544, หน้า 95) 7. ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และการขาดความ เข้าใจของผู้เรียน (ปรัชญา จันทราภัย, 2542, หน้า 84; สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2544, หน้า 95) นชัด (Explicit Knowledge)