SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การทดสอบสมมติฐาน (Testing of Hypothesis)  สมมติฐานและขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน   บทเรียน วันที่  9  และ  10  สิงหาคม  2554
สมมติฐาน คือ คำตอบที่ผู้ทดสอบ ผู้วิจัยคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล
ข้อมูลที่ถูกสุ่มมาจากประชากร  ( ตัวอย่าง )  จะถูกใช้เพื่ออ้างอิงค่าพารามิเตอร์ของประชากร ดังนั้น เมื่อมีการทดสอบสมมติฐาน จะเป็นการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่าเป็นอย่างที่ได้คาดการณ์ไว้หรือไม่
Population  Sample ค่าของประชากรจะเรียกว่า พารามิเตอร์  (parameter) ค่าของตัวอย่างจะเรียกว่า  ตัวสถิติ  (statistic)
สมมติฐานทางสถิติ มี  2  ประเภท คือ ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. ตั้งสมมติฐาน  ( โดยการตั้งสมมติฐานรองด้วย ) 2. กำหนดตัวสถิติในการทดสอบ 3. กำหนดระดับนัยสำคัญ  ( Level of Significant ) 4. คำนวณค่าสถิติ 5. คำนวณค่าวิกฤติ  (Critical Value)  6. เปรียบเทียบ ค่าคำนวณ  ( ข้อ  4)  กับ ค่าวิกฤติ  ( ข้อ  5) 7. สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐานมี  2  ประเภท  1. การทดสอบสมมติฐานแบบมีทิศทาง  (Direction test, One-tailed test) 2)  การทดสอบสมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Non-Direction test, Two-tailed test)
การทดสอบสมมติฐานแบบมีทิศทาง Reject Acceptant area  Acceptant area  Reject H a  :    >   0  1  >   2 H a  :    <   0  1  <   2
การทดสอบสมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง Ho :    =  0  Ha :      0  Ho :   1 =  2 Ha :   1   2
Accept Ho Reject Ho Reject Ho ถ้าค่าคำนวณของค่าสถิติที่เลือกใช้ในการทดสอบมีค่าอยู่ระหว่างเขตวิกฤติ  (Critical region)  จะปฏิเสธ  H0  และจะยอมรับ  Ha  ซึ่งจะเรียกผลการทดสอบสมมติฐานว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ  (Significance)
Accept Ho Reject Ho Reject Ho ถ้าค่าคำนวณของค่าสถิติไม่อยู่ในเขตวิกฤติจะยอมรับ  H0  แสดงว่า ผลการทดสอบไม่มีนัยสำคัญ
การทดสอบสมมติฐานของข้อมูล โดยปกติข้อมูล  (Data)  จะแบ่งเป็นสองลักษณะ 1. เชิงปริมาณ  ทดสอบค่าเฉลี่ย  1  ประชากร  ใช้  Z-test, t-test   2  ประชากร  ใช้  Z-test. t-test มากกว่า  2  ประชากร ใช้  F-test
การทดสอบสมมติฐานของข้อมูล (2)  เชิงคุณภาพ ความถี่  1  ประชากร  ใช้  Chi-square-test   2  ประชากร  ใช้  Chi-square-test   (Contigency table,Crosstabulation)
ขั้นตอนการทดสอบความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การทดสอบไค - สแควร์  (Chi-square test)
1)  ตั้งสมมติฐาน Ho  :  ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร H1  :  มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2.  กำหนด ระดับนัยสำคัญสำหรับการทดสอบ  (  )  อ่านว่า อัลฟา  ( alpha)    (Level of Significance)  ต้องทำความเข้าใจ แนวคิด ความคลาดเคลื่อน  ( error)  ในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ในการทดสอบสมมติฐานใด ๆ นั้น เป็นการตัดสินยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานซึ่งขึ้นกับกลุ่มตัวอย่าง ดังนั้น การตัดสินใจอาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดได้  ความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1   ( Type I error,  α  error)  เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักที่เป็นจริงถูกปฏิเสธ ค่าความน่าจะเป็นที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1  กำหนดด้วย  α   ( Alpha)  ความคลาดเคลื่อนประเภทนี้  ทำให้การตัดสินใจในการสรุปผลมีความผิดพลาดมากเพราะเป็นการปฏิเสธความจริง  ดังนั้นจึงควรกำหนดให้  α   มีค่าน้อย ๆ
2.  ความคลาดเคลื่อนประเภทที่  2   ( Type II error ,  β error)  เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักซึ่งเป็นเท็จไม่ถูกปฏิเสธ หรือเกิดจากที่เรายอมรับสมมติฐานหลักเมื่อสมมติฐานหลักนั้นเป็นเท็จนั่นเอง ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่  2  กำหนดด้วย  β   ( Beta)
การตัดสินใจในการทดสอบสมมติฐาน การตัดสินใจเกี่ยวกับ Accept  H o ( ยอมรับ  H o ) Reject  H o ( ปฏิเสธ  H o ) ตั้ง  H o   ไว้ถูกต้องแล้ว เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง Type I error ตั้ง  H o   ไว้ผิด Type II error เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง
ระดับนัยสำคัญทางสถิติ   (Level of significance)   คือ  ความน่าจะเป็นของการเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1  ซึ่งมีค่าเท่ากับ  α   ระดับนัยสำคัญนี้เป็นร้อยละของจำนวนที่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1  ซึ่ง  โดยปกติจะกำหนดให้  α   มีค่าน้อย ๆ เช่น  α= .10, .05, .02  หรือ  .01   α  =  .10  หมายความว่าในจำนวน  100  ครั้งที่ทดลองจะมี  10  ครั้งที่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1  ขึ้น  ถ้า  α   มีค่าน้อยลง  ความเชื่อมั่นซึ่งกำหนดว่าเท่ากับ  1- α  ก็จะสูงขึ้น
ความคลาดเคลื่อนประเภทที่  1  จะเกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักที่เป็นจริงถูกยอมรับ  หรือข้อมูลที่วิเคราะห์ได้มาจากประชากรทั้งหมด  ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดความคลาดเคลื่อนใด ๆ  ความน่าจะเป็นความคลาดเคลื่อนประเภทที่  2  มีค่าเท่ากับ  β
ถ้าขนาดของกลุ่มตัวอย่างคงที่  ค่า  β   จะลดลงทันทีเมื่อ  α   เพิ่มขึ้น  หรือในทางตรงกันข้าม  β   จะเพิ่มขึ้นเมื่อ  α   ลดลง  แต่ทั้ง  α   และ  β   จะเท่ากับ  0  หรือไม่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทใดเลย  ถ้าในการศึกษาเราใช้ข้อมูลจากประชากรทั้งหมด  และในการสรุปผลการวิจัยผู้จัยต้องระบุให้ชัดเจนว่าผลการทดสอบสมมติฐานนั้นกระทำที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่าใด

More Related Content

What's hot

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 

Viewers also liked

สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน
สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐานสถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน
สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐานwilailukseree
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesiswilailukseree
 
Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยbenjama
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยNU
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 

Viewers also liked (16)

Hypothesis testing
Hypothesis testingHypothesis testing
Hypothesis testing
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน
สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐานสถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน
สถิติและคอมพิวเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
 
Population
PopulationPopulation
Population
 
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 

More from Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 

More from Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Research3
Research3Research3
Research3
 

การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10

  • 1. การทดสอบสมมติฐาน (Testing of Hypothesis) สมมติฐานและขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน บทเรียน วันที่ 9 และ 10 สิงหาคม 2554
  • 2. สมมติฐาน คือ คำตอบที่ผู้ทดสอบ ผู้วิจัยคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล
  • 3. ข้อมูลที่ถูกสุ่มมาจากประชากร ( ตัวอย่าง ) จะถูกใช้เพื่ออ้างอิงค่าพารามิเตอร์ของประชากร ดังนั้น เมื่อมีการทดสอบสมมติฐาน จะเป็นการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่าเป็นอย่างที่ได้คาดการณ์ไว้หรือไม่
  • 4. Population Sample ค่าของประชากรจะเรียกว่า พารามิเตอร์ (parameter) ค่าของตัวอย่างจะเรียกว่า ตัวสถิติ (statistic)
  • 5.
  • 6. ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. ตั้งสมมติฐาน ( โดยการตั้งสมมติฐานรองด้วย ) 2. กำหนดตัวสถิติในการทดสอบ 3. กำหนดระดับนัยสำคัญ ( Level of Significant ) 4. คำนวณค่าสถิติ 5. คำนวณค่าวิกฤติ (Critical Value) 6. เปรียบเทียบ ค่าคำนวณ ( ข้อ 4) กับ ค่าวิกฤติ ( ข้อ 5) 7. สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
  • 7. การทดสอบสมมติฐานมี 2 ประเภท 1. การทดสอบสมมติฐานแบบมีทิศทาง (Direction test, One-tailed test) 2) การทดสอบสมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Non-Direction test, Two-tailed test)
  • 8. การทดสอบสมมติฐานแบบมีทิศทาง Reject Acceptant area Acceptant area Reject H a :  >  0  1 >  2 H a :  <  0  1 <  2
  • 9. การทดสอบสมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง Ho :  =  0 Ha :   0 Ho :  1 =  2 Ha :  1  2
  • 10. Accept Ho Reject Ho Reject Ho ถ้าค่าคำนวณของค่าสถิติที่เลือกใช้ในการทดสอบมีค่าอยู่ระหว่างเขตวิกฤติ (Critical region) จะปฏิเสธ H0 และจะยอมรับ Ha ซึ่งจะเรียกผลการทดสอบสมมติฐานว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ (Significance)
  • 11. Accept Ho Reject Ho Reject Ho ถ้าค่าคำนวณของค่าสถิติไม่อยู่ในเขตวิกฤติจะยอมรับ H0 แสดงว่า ผลการทดสอบไม่มีนัยสำคัญ
  • 12. การทดสอบสมมติฐานของข้อมูล โดยปกติข้อมูล (Data) จะแบ่งเป็นสองลักษณะ 1. เชิงปริมาณ ทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ใช้ Z-test, t-test 2 ประชากร ใช้ Z-test. t-test มากกว่า 2 ประชากร ใช้ F-test
  • 13. การทดสอบสมมติฐานของข้อมูล (2) เชิงคุณภาพ ความถี่ 1 ประชากร ใช้ Chi-square-test 2 ประชากร ใช้ Chi-square-test (Contigency table,Crosstabulation)
  • 15. 1) ตั้งสมมติฐาน Ho : ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร H1 : มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
  • 16. 2. กำหนด ระดับนัยสำคัญสำหรับการทดสอบ (  ) อ่านว่า อัลฟา ( alpha) (Level of Significance) ต้องทำความเข้าใจ แนวคิด ความคลาดเคลื่อน ( error) ในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
  • 17. ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ในการทดสอบสมมติฐานใด ๆ นั้น เป็นการตัดสินยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานซึ่งขึ้นกับกลุ่มตัวอย่าง ดังนั้น การตัดสินใจอาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดได้ ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ( Type I error, α error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักที่เป็นจริงถูกปฏิเสธ ค่าความน่าจะเป็นที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 กำหนดด้วย α ( Alpha) ความคลาดเคลื่อนประเภทนี้ ทำให้การตัดสินใจในการสรุปผลมีความผิดพลาดมากเพราะเป็นการปฏิเสธความจริง ดังนั้นจึงควรกำหนดให้ α มีค่าน้อย ๆ
  • 18. 2. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 ( Type II error , β error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักซึ่งเป็นเท็จไม่ถูกปฏิเสธ หรือเกิดจากที่เรายอมรับสมมติฐานหลักเมื่อสมมติฐานหลักนั้นเป็นเท็จนั่นเอง ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 กำหนดด้วย β ( Beta)
  • 19. การตัดสินใจในการทดสอบสมมติฐาน การตัดสินใจเกี่ยวกับ Accept H o ( ยอมรับ H o ) Reject H o ( ปฏิเสธ H o ) ตั้ง H o ไว้ถูกต้องแล้ว เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง Type I error ตั้ง H o ไว้ผิด Type II error เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง
  • 20. ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (Level of significance) คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ซึ่งมีค่าเท่ากับ α ระดับนัยสำคัญนี้เป็นร้อยละของจำนวนที่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ซึ่ง โดยปกติจะกำหนดให้ α มีค่าน้อย ๆ เช่น α= .10, .05, .02 หรือ .01 α = .10 หมายความว่าในจำนวน 100 ครั้งที่ทดลองจะมี 10 ครั้งที่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ขึ้น ถ้า α มีค่าน้อยลง ความเชื่อมั่นซึ่งกำหนดว่าเท่ากับ 1- α ก็จะสูงขึ้น
  • 21. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 จะเกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานหลักที่เป็นจริงถูกยอมรับ หรือข้อมูลที่วิเคราะห์ได้มาจากประชากรทั้งหมด ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดความคลาดเคลื่อนใด ๆ ความน่าจะเป็นความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 มีค่าเท่ากับ β
  • 22. ถ้าขนาดของกลุ่มตัวอย่างคงที่ ค่า β จะลดลงทันทีเมื่อ α เพิ่มขึ้น หรือในทางตรงกันข้าม β จะเพิ่มขึ้นเมื่อ α ลดลง แต่ทั้ง α และ β จะเท่ากับ 0 หรือไม่เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทใดเลย ถ้าในการศึกษาเราใช้ข้อมูลจากประชากรทั้งหมด และในการสรุปผลการวิจัยผู้จัยต้องระบุให้ชัดเจนว่าผลการทดสอบสมมติฐานนั้นกระทำที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่าใด