SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
๑. ชื่อผลงานวิจัย             ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้
                              ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                              ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
๒. ชื่อ-ชื่อสกุลผู้วิจัย นางพจนี ศิริวรรณ
๓. ตาแหน่ง                    ครู โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ สพป.อด.๒
๔. วุฒิการศึกษา               ปริญญาโท (ศษ.ม) สาขาวิชาการแนะแนวและให้คาปรึกษา
                              มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๕. สถานที่ติดต่อ              โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ๑๖๘ หมู่ ๕ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ
                              อาเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี ๔๑๒๔๐ โทร. ๐๘-๑๐๖๐-๕๗๖๓
                              potjanee2918@yahoo.com
๖. ปีที่ทาการวิจัยเสร็จ ๒๕๕๔
๗. บทคัดย่อ
         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด
คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และเพื่อ
ศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด
คอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์
ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน
ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มขั้นเดียว (Single-stage cluster sampling) โดยใช้ห้องเรียน
เป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๑๐ แผน แบบทดสอบ
สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบทดสอบ
ชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๔๐ ข้อ และแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบชนิด
เลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวนแผนละ ๕ ข้อ และแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน
ระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating scale) ๓ ระดับ จานวน ๑๕ ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t–test (Dependent Samples)
         ผลการศึกษาพบว่า
         ๑. หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑
         ๒. แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพ
ของผลลัพธ์ (E๑/E๒ ) เท่ากับ ๘๘.๖๖/๘๖.๗๖ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ ๘๐/๘๐
         ๓. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
มีความสุขในการเรียนอยู่ในระดับมาก
๘. หลักการ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
          ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมุ่งการพัฒนาประเทศในลักษณะทุนนิยม กล่าวคือ เน้นการ
พัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ โดยเชื่อว่าเมื่อเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นจะส่งผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ
ให้เจริญตามไปด้วย แต่ในความเป็นจริงไม่เป็นเช่นนั้น จะเห็นได้จากเกิดภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในช่วงปี
พ.ศ. ๒๕๔๐ สาเหตุมาจากการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นให้ประเทศไทยกลายเป็นเสือตัวที่ ๕ โดยไม่คานึง
ถึงความพร้อมของคนในชาติ ตลอดจนไม่คานึงถึงความเหมาะสมของสภาพภูมิศาสตร์และทรัพยากรของ
ประเทศ นาไปสู่ภาวะวิกฤติในที่สุด และส่งผลต่อสังคมไทยในหลาย ๆ ด้าน เช่น เกิดความอ่อนแอของ
ระบบเศรษฐกิจ และความอ่อนแอของสังคม จนทาให้ประเทศไทยต้องประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย อาทิ
ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด และปัญหาการว่างงาน นอกจากนี้สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากกระแสโลกาภิวัฒน์ ยังส่งผลให้คน
ในทุกระดับต้องประสบกับปัญหาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง จึงส่งผลให้เกิดปัญหา
นานัปการ กลุ่มคนที่ประสบปัญหาเหล่านี้เกิดจากการดาเนินชีวิตที่ไม่รู้จักความพอเพียง ขาดการนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ไม่รอบคอบในการคิดพิจารณา ไม่มีความเข้าใจในการแก้ปัญหา
ขาดคุณธรรมและจิตสานึกที่ดี (ธัญญา อ้นคง, ๒๕๕๑: ๑)
          ด้วยภาวะวิกฤติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งประเทศไทยต้องเผชิญอยู่ขณะนี้ เมื่อพิจารณา
อย่างรอบด้าน หนทางที่จะผ่อนคลายคนไทยทุกคนก็ควรหันหน้าเข้าหากัน ร่วมคิด ร่วมแรง ร่วมทา
ร่วมแก้ปัญหา ทุกฝ่ายยอมลดเป้าหมายเพื่อพบกันครึ่งทาง เพื่อความอยู่รอดปลอดภัย ความเจริญของ
ประเทศอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จะด้วยวิธีใดก็ตามสิ่งสาคัญต้องอยู่บนรากฐานของคุณธรรมซึ่งเป็นสิ่ง
ที่ดีงามควรแก่การประพฤติปฏิบัติ การพัฒนาบุคคลให้มีคุณธรรมนั้นเป็นสิ่งที่จะช่วยพัฒนาคนในชาติ
ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยกาย วาจา ใจ การศึกษาก็มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ การแข่งขัน
ทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์ก็ขึ้นอยู่กับการศึกษา การพัฒนาการเมืองก็ขึ้นอยู่กับการศึกษา สังคมกาลัง
เสื่อมโทรม ก็ต้องหันไปพึ่งการศึกษา การพัฒนาการศึกษาจึงเป็นเงื่อนไขสาคัญของการพัฒนาประเทศ
วิชัย ตันศิริ (๒๕๔๙: ๑) ซึงในปัจจุบันมีการตื่นตัวกันมากในการน้อมนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                           ่
มาบูรณาการกับการเรียนการสอน ที่เห็นได้ชัดเจนคือ การกาหนดจุดมุ่งหมายและหลักการของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ในหมวด ๑ มาตรา ๖ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต้องเป็นไป
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม
มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (คณะทางาน
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน, ๒๕๕๐: ๔)
          ดังนั้น การปลูกฝังคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง
เพื่อช่วยป้องกันและลดปัญหาในสังคม โดยการช่วยให้บุคคลมีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ดีที่สุด จนสามารถนาเอาคุณธรรมอันดีงามและมีคุณค่านี้ ไปใช้ประกอบการ
ตัดสินใจในการใช้ความรู้ความสามารถทางปัญญาที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นที่ยอมรับของสังคม
โดยอาศัยเครื่องมือที่ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพคือการศึกษา สอดคล้องกับที่คณะทางาน
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน (๒๕๕๐: ๔) ที่กล่าวว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
แนวคิดของการพัฒนาคน เน้นการพัฒนาความเป็นมนุษย์และความยั่งยืนของการพัฒนาให้ความสาคัญ
ต่อเรื่องความอยู่ดีมีสุขมากกว่าความมั่งคั่ง เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ และโดยเฉพาะการใช้คุณธรรมนา
ความรู้ ซึ่งการปลูกฝังคุณธรรมที่มีประสิทธิภาพควรเริ่มต้นตั้งแต่รากฐานของชีวิตมนุษย์คือวัยเด็กที่
สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ และสามารถใช้เหตุผลในการตัดสินใจได้แล้วคือเด็กในระดับประถมศึกษา
นั่นเอง
           นักเรียนวัยเรียนระดับชั้นประถมศึกษาหรือวัยเด็กตอนกลาง (Middle Childhood) อยู่ในช่วง
อายุประมาณ ๖-๑๒ หรือ ๑๓ ปี เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมมากที่จะสอนให้เด็กเรียนรู้ว่าพฤติกรรมใด
ถูกผิด-ดีชั่ว ซึ่งการสอนเด็กในวัยนี้สามารถใช้เหตุผลแล้ว เพราะเด็กมีความคิดเข้าใจเหตุผล และนาเหตุผล
มาเป็นแนวทางในการตัดสินใจ และเคารพกฎต่างๆ อย่างไม่ตั้งคาถาม ระยะนี้จึงเป็นระยะที่เหมาะสม
สาหรับสอนให้เด็กเข้าใจสิ่งต่างๆ เพราะหากเราสามารถสอนเด็กให้เข้าใจดีแล้วก็จะฝังใจ ติดเป็นนิสัยเด็ก
ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ และอาจแก้ปัญหาในสังคมไทยได้ (ศรีเรือน แก้วกังวาน, ๒๕๔๐: ๒๖๗-๒๖๘) ดังนั้นเด็ก
ในระดับประถมศึกษาจึงเป็นวัยที่เหมาะสมในการสอนให้มีความรู้ความเข้าใจในด้านคุณธรรมตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างยิ่ง โดยการจัดกิจกรรมให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัย
เด็กได้ใช้ความคิดและใช้เหตุผล เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ภายใต้การปฏิสัมพันธ์หรือทากิจกรรม
กับเพื่อนร่วมวัย เพราะเป็นช่วงวัยที่เด็กจับกลุ่ม “กลุ่มเพื่อนร่วมวัย” มีบทบาทมากในการดาเนินชีวิต เป็น
วัยที่มีความพร้อมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กจะพัฒนาได้เจริญมาก เด็กเริ่ม
เรียนรู้อย่างเป็นระบบและสนใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ลักษณะพัฒนาการที่ควรบังเกิดขึ้นในช่วงนี้คือการ
เตรียมตัวเพื่อเป็นวัยรุ่นและเป็นผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบตนเองในด้านต่างๆ ได้ จะเห็นได้ว่าการที่จะพัฒนา
ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประถมศึกษาที่ดีที่สุดอีกวิธีหนึ่ง
ควรเริ่มต้นที่การสร้างแรงจูงใจที่ดี และให้นักเรียนนาความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมแบบเดิมที่มีอยู่แล้ว
มาเป็นฐานให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น ผ่านสถานการณ์ สภาพแวดล้อม หรือสื่อต่างๆ ที่ครูจัดให้
ตลอดจนการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเพื่อสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ที่คงทนติดตัวเป็นบุคลิกภาพที่สังคมยอมรับ สอดคล้องกับการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivist Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษา
ปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด
(Cognitive processes) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมีส่วนช่วยทาให้
เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของผู้เรียน
การเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีสตรัคติวิสต์เกิดขึ้นได้จากการเรียนรู้เป็นกระบวนการปฏิบัติ (Active
process) ที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับ
มาใหม่ร่วมกับข้อมูลหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว รวมทั้งประสบการณ์เดิม มาสร้างความหมายในการเรียนรู้
ของตนเอง (วัฒนาพร ระงับทุกข์, ๒๕๔๑: ๓๑) ซึงหัวใจสาคัญของแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่ทาให้ผู้เรียน
                                                       ่
เรียนรู้ได้ดีที่สุดคือผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นเจ้าของการเรียนและลงมือปฏิบัติจริง ไม่ใช่การเรียนรู้
ด้วยการบอกเล่า แต่ต้องเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ ซึ่งมีแหล่งเรียนรู้มาจากการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรม (จิราภรณ์ ศิริทวี, ๒๕๔๑: ๒๔ )
           จากความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนความสาคัญของการจัดการศึกษาที่
จาเป็นต้องให้ผู้เรียนมีการสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ดี
ที่สุดตั้งแต่เยาว์วัย ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และแก้ปัญหาด้วยกัน ซึ่งเป็นการ
เรียนรู้ในเรื่องคุณธรรมที่มีความหมายสาหรับผู้เรียน ผู้วิจัยจึงเห็นว่า การจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด
คอนสตรัคติวิสต์ จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมแนะแนวถือว่าเป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด
เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่
หลากหลายในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ปรับตัวและดารงชีวิต
ได้อย่างมีความสุข ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑: ๑๑๔)
ซึงการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์นี้ จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างองค์
  ่
ความรู้ด้วยตนเอง จนเกิดความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างคงทน
อันจะนาไปสู่การดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวพระราชดาริ เกิดความยั่งยืนกับนักเรียนระดับประถม
ศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนที่เป็นกาลังสาคัญของประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคตต่อไป

๙. แนวคิด/ทฤษฎี
          ๙.๑ กรมวิชาการ (๒๕๔๗: ๖) ได้กล่าวถึงกระบวนการจัดกิจกรรมคาบแนะแนวไว้ว่า เป็นการ
รวมกลุ่มของนักเรียน เพื่อทากิจกรรมอันจะช่วยให้นักเรียนเกิดการพัฒนาการในด้านต่าง ๆ และสามารถ
แก้ปัญหาได้ ลักษณะกิจกรรมคาบแนะแนวควรเป็นกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อ
ปลูกฝังค่านิยมทีเป็นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสาคัญที่สุดที่จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของ
                  ่
ตนเองตามศักยภาพ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข เป็นกิจกรรม
ที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านร่างกายจิตใจ
สติปัญญา อารมณ์ สังคม ปรับตัวและดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
ประเทศชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑: ๑๑๔)
          ๙.๒ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ เงื่อนไขการ
เรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นกระบวนการลงมือกระทาที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ความรู้ต่างๆ
จะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับข้อมูลหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว
รวมทั้งประสบการณ์เดิมมาสร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง (วัฒนาพร ระงับทุกข์, ๒๕๔๑: ๒๕)
กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้าง
ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจเดิมที่มีมาก่อน เป้าหมายของการสอน
จะสนับสนุนการสร้างมากกว่าการพยายามในการถ่ายทอดความรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทาในการ
สร้างความรู้
              ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ, ๒๕๔๗: ๑๘) ได้เสนอลาดับขั้นการสอน
แบบคอนสตรัคติวิสต์ ไว้เป็น ๕ ระยะ คือ
              ระยะที่ ๑ คือการเตรียมนักเรียนให้สนใจในเรื่องที่จะศึกษากันในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือ
ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง (Orientation) อาจเรียกว่าเป็นระยะวางแผนการสอนก็ได้
              ระยะที่ ๒ เป็นระยะที่ดึงความรู้เดิมของเด็กออกมา (Elicitation) ระยะนี้ครูจะต้องช่วยให้
นักเรียนรู้ตัวว่าในเรื่องนั้นๆ มีความรู้เดิมอะไรอยู่ เพื่อครูจะได้รู้ว่าเด็กรู้อะไรบ้าง ถูกหรือผิดอย่างไร
              ระยะที่ ๓ เป็นการทาให้เด็กเริ่มรู้ว่าในความคิดของเขานั้นๆ ยังมีความรู้อย่างอื่นหรือมี
ความหมายอย่างอื่นที่ไม่เหมือนกับสิ่งที่เขายึดถืออยู่ เด็กจะเริ่มสารวจตรวจตราแนวคิดหรือความหมาย
ของตนด้วยจิตวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ แล้วจึงปรับเปลี่ยน หรือขยายความคิดเดิมออกไปครอบคลุม
ความรู้ใหม่และในที่สุด คือเอาความรู้/แนวคิด/ความหมายใหม่แทนของเดิม หรือสร้างใหม่
(Restructuring) ระยะนี้เป็นหัวใจของการเรียนการสอน
             ระยะที่ ๔ เป็นการประยุกต์ใช้ (Application) แนวคิดหรือความรู้ที่สร้างใหม่ไปเชื่อมโยงกับ
สถานการณ์อื่นหรือความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ระยะที่ ๕ ระยะทบทวน (Review) เพื่อให้ผู้เรียนสะท้อนออกมาให้ทราบว่า ความคิด หรือ
ความรู้ของเขาเปรียบเทียบกับแนวคิดเดิมที่เด็กมีมานั้น มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

๑๐. กรอบแนวคิดการวิจัย

                     นักเรียน
               ระดับชั้นประถมศึกษา



              การจัดกิจกรรมแนะแนว                         ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรม
             ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์                   ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



         ขั้นที่ ๑ เรียนสนุกปลุกใจ                         กตัญญูยอดเด็กดี
         ขั้นที่ ๒ ไขความรู้เดิม                           สามัคคีเป็นศรีชาติ
         ขั้นที่ ๓ เพิ่มเติมประสบการณ์                     เด็กฉลาดรู้พอประมาณ
         ขั้นที่ ๔ สานองค์ความรู้                          ชีวิตเบ่งบานใฝ่เรียนรู้
         ขั้นที่ ๕ สู่ปรัชญาล้าค่าในคุณธรรม                กินอยู่รอบคอบระมัดระวัง
                                                           พลังแห่งความซื่อสัตย์สุจริต
                                                           พิชิตความขยัน
                                                           มุ่งมั่นอดทน
                                                           คนดีมีนาใจ
                                                           เด็กยุคใหม่พึ่งตนเอง


๑๑. วัตถุประสงค์การวิจัย
        ๑๑.๑ เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
        ๑๑.๒ เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
        ๑๑.๓ เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรม
แนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

๑๒. สมมติฐานการวิจัย
         ๑๒.๑ หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑
๑๒.๒ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม
นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐

๑๓. ตัวแปรและนิยามตัวแปร
            ๑๓.๑ ตัวแปร
                     ตัวแปรต้น คือ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
                     ตัวแปรตาม คือ ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และ
พึ่งตนเอง
            ๑๓.๓ นิยามตัวแปร
                     กิจกรรมแนะแนว หมายถึง กิจกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อใช้สอนในชั่วโมงกิจกรรม
แนะแนว เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นให้นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง
                     ชุดกิจกรรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง ชุดกิจกรรมแนะแนว
ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้สร้างความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงด้วยตนเอง ได้คิด ได้ปฏิบัติ ได้ร่วมมือกัน จานวน ๑๐ กิจกรรม ผ่านขั้นตอนสร้างความรู้
ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยปรับจาก ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ,
๒๕๔๗: ๑๘) คุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความดีงาม ความถูกต้อง
ที่สอดคล้องกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ควรยึดถือเป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติ
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม อันประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้
ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และพึ่งตนเอง
                    ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การที่นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ข้อมูลความรู้
ในเนื้อเรื่อง จากรายละเอียดด้านเนื้อหาข้อเท็จจริงต่างๆ จนสามารถวิเคราะห์และนาไปใช้ได้
                    ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การที่นักเรียน
มีความสามารถในการรับรู้ข้อมูลความรู้ในเนื้อเรื่อง รายละเอียดด้านเนื้อหา และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
คุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้
ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และพึ่งตนเองจนสามารถวิเคราะห์และนาไปใช้ได้ ซึ่งวัดได้จาก
การทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                    ความสุข หมายถึง ความรู้สึกสบายกายสบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในชีวิต ซึ่งเป็นการ
ประเมินส่วนบุคคลว่าชื่นชอบ
                    ความสุขในการเรียน หมายถึง ความรู้สึกสบายกายสบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในชีวิต
ขณะร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ สามารถวัดได้จากแบบสอบถามวัดความสุข
ในการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
                    แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน หมายถึง เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อวัดความรู้สึก
สบายกาย สบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เป็น
มาตราส่วนประมาณค่า (Ratting Scale) ๓ ระดับ คือ มาก ปานกลาง น้อย
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียน
ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน

๑๔. ประชากร
         ประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบล
โพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ ภาคเรียน
ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ รวม ๑๒ ห้องเรียน จานวน ๓๓๙ คน
๑๕. กลุมตัวอย่าง
        ่
          กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔
โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
อุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มขั้นเดียว (Single-stage cluster
sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม

๑๖. เครื่องมือวิจัย
         ๑๖.๑ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม
นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๑๐ แผน
                  ๑๖.๑.๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาโครงสร้างหลักสูตร
ของโรงเรียน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และจุดเน้นของโรงเรียน จากหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
บ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ศึกษาจุดมุ่งหมาย ผังมโนทัศน์ ขอบข่าย กรอบแนวคิด และมาตรฐานกิจกรรม
แนะแนว ศึกษาทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ศึกษาเอกสาร งานวิจัย
สื่อต่างๆ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อกาหนดหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ เนื้อหา ได้หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งในชุด
กิจกรรมดังกล่าวมีเนื้อหาเกี่ยวกับคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบ่งออกเป็น ๑๐ เรื่องย่อย
ตามลาดับดังนี้
                        (๑) กตัญญูยอดเด็กดี
                        (๒) สามัคคีเป็นศรีชาติ
                        (๓) เด็กฉลาดรู้พอประมาณ
                        (๔) ชีวิตเบ่งบานใฝ่เรียนรู้
                        (๕) กินอยู่รอบคอบระมัดระวัง
                        (๖) พลังแห่งความซื่อสัตย์สุจริต
                        (๗) พิชิตความขยัน
                        (๘) มุ่งมั่นอดทน
                        (๙) คนดีมีน้าใจ
                        (๑๐) เด็กยุคใหม่พึ่งตนเอง
                 ๑๖.๑.๒ ดาเนินการสร้างชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ โดยปรับจาก
ลาดับขั้นการสอนแบบคอนสตรัคติวิสต์ ๕ ระยะ ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ, ๒๕๔๗: ๑๘)
ดังนี้
ขั้นที่ ๑ เรียนสนุกปลุกใจ (ระยะที่ ๑ คือการเตรียมนักเรียนให้สนใจในเรื่อง
ที่จะศึกษา)
                        ขั้นที่ ๒ ไขความรู้เดิม (ระยะที่ ๒ เป็นระยะที่ดึงความรู้เดิมของเด็กออกมา)
                        ขั้นที่ ๓ เพิ่มเติมประสบการณ์ (ระยะที่ ๓ เป็นการทาให้เด็กเริ่มรู้ว่าในความคิด
ของเขานั้นๆ ยังมีความรู้อย่างอื่นหรือมีความหมายอย่างอื่นที่ไม่เหมือนกับสิ่งที่เขายึดถืออยู่)
                        ขั้นที่ ๔ สานองค์ความรู้ (ระยะที่ ๔ เป็นการประยุกต์ใช้)
                       ขั้นที่ ๕ สู่ปรัชญาล้าค่าในคุณธรรม (ระยะที่ ๕ ระยะทบทวน เพื่อให้ผู้เรียนสะท้อน
ออกมาให้ทราบว่า ความคิด หรือความรู้ของเขาเปรียบเทียบกับแนวคิดเดิมที่เด็กมีมานั้น มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
               ๑๖.๑.๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ผู้วิจัยได้นาชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด
คอนสตรัคติวิสต์ที่สร้างขึ้น พร้อมแบบประเมินชุดกิจกรรมแนะแนว เสนอผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งประกอบด้วย
                        (๑) รองศาสตราจารย์ มานิต ปวริญญานนท์ ตาแหน่ง อาจารย์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี
                       (๒) นางศรีแก้ว ศรีหริ่ง ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะศึกษานิเทศก์ชานาญการ
พิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
                       (๓) นางลัดดา ดีสิน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านผือ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
                        (๔) นางวัชรียา แจ่มใส ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก่น
นครวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒
                         (๕) นายไพรินทร์ หมีมี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียน
บ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
                       เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม และปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ
ผู้เชี่ยวชาญ โดยการสร้างแบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ ตามวิธีการของลิเคอร์ท (Likert) โดยกาหนดเกณฑ์การวัด
และเกณฑ์การประเมินดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๔๔: ๖๙-๗๑)

                      เกณฑ์การวัด
                      เหมาะสมมากที่สุด  ให้       ๕                คะแนน
                      เหมาะสมมาก        ให้       ๔                คะแนน
                      เหมาะสมปานกลาง    ให้       ๓                คะแนน
                      เหมาะสมน้อย       ให้       ๒                 คะแนน
                      เหมาะสมน้อยที่สุด ให้       ๑                 คะแนน
                      เกณฑ์การประเมิน
                      ๔.๕๑ – ๕.๐๐ เหมาะสมมากที่สุด
                      ๓.๕๑ – ๔.๕๐ เหมาะสมมาก
                      ๒.๕๑ – ๓.๕๐ เหมาะสมปานกลาง
                      ๑.๕๑ – ๒.๕๐ เหมาะสมน้อย
                      ๑.๐๐ – ๑.๕๐ เหมาะสมน้อยที่สุด
ตัวอย่างแบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว

      คาชีแจง        โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านต่อข้อความในแต่ละรายการ ว่ามีความเหมาะสม
                     เพียงใด โดยกาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
                     ซึ่งมีระดับความคิดเห็น ดังนี้

                      ๕       =       เหมาะสมมากที่สุด
                      ๔       =       เหมาะสมมาก
                      ๓       =       เหมาะสมปานกลาง
                      ๒       =       เหมาะสมน้อย
                      ๑       =       เหมาะสมน้อยที่สุด

      ตัวอย่างการตอบแบบประเมิน
                                                                          ระดับความคิดเห็น
ข้อที่                 ข้อคาถามความคิดเห็น
                                                                 ๕       ๔       ๓        ๒          ๑
  0      กิจกรรมมีความเหมาะสมกับระดับชั้น                                
 00      ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนสร้างความรู้                        
         ด้วยตนเอง


          0 หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญตอบแบบประเมินว่า การจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมกับระดับชั้น
                    อยู่ในระดับเหมาะสมมาก
         00 หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญตอบแบบประเมินว่า ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนสร้าง
                    องค์ความรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง

                    ๑๖.๓.๔ นาผลการประเมินชุดกิจกรรมแนะแนวจากผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ได้ค่าเฉลี่ย
      เท่ากับ ๔.๓๗ หมายถึง มีความเหมาะสมมาก และได้ปรับปรุงแก้ไขกิจกรรมให้เหมาะสมกับเวลาตาม
      ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
                    ๑๖.๓.๕ นาชุดกิจกรรมแนะแนวที่ผ่านการแก้ไขและปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว ไปทดลองใช้
      ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เพื่อหาประสิทธิภาพ
      ของชุดกิจกรรม ดังนี้
                              การทดลองครั้งที่ ๑ แบบรายเดี่ยว ผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับ
      นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์
      อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓ คน โดยเลือก
      นักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ ๑ คน พบว่า นักเรียนทากิจกรรมเสร็จไม่ทันตามกาหนดเวลา
      ซึ่งการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพด้านกระบวนการของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
      หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งเกณฑ์ไว้ คือ ๘๐/๘๐ การทดลองครั้งที่ ๑
      แบบรายเดี่ยว จานวน ๓ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๑
ตารางที่ ๑ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
           หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
           จานวน ๓ คน

                                     คะแนน                       คะแนนการทดสอบ
     จานวนนักเรียน           การทาแบบทดสอบหลังเรียน           วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                              (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)            (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน)
            ๓                         ๑๐๖                               ๗๙
     คะแนนรวมที่ได้                   ๑๐๖                               ๗๙
     คะแนนเฉลี่ย (  )               ๓๕.๓๓                            ๒๖.๓๓
      คิดเป็นร้อยละ                  ๗๐.๖๖                            ๖๕.๘๓

            จากตารางที่ ๑ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วย
การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓ คน
                              ิ
ครั้งที่ ๑ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑ คน ปรากฏว่า คะแนน
การทาแบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๗๐.๖๖/
๖๕.๘๓ ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวต     ิ
เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ผู้รายงานจึงได้นาไปปรับปรุงแก้ไขใหม่ เพื่อนาไปหาประสิทธิภาพในการทดลองต่อไป
                         การทดลองครั้งที่ ๒ แบบกลุ่มย่อย ผู้วิจัยได้ทาการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว
ที่ได้ปรับปรุงหลังจากการทดลองครั้งที่ ๑ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปี
การศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๙ คน โดยเลือกคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๓ คน
และไม่ซ้ากับนักเรียนที่ทดลองครั้งที่ ๑ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อหา เวลา ผลการทดลอง
ปรากฎว่ากิจกรรมยังไม่เหมาะสมกับเวลา นักเรียนต้องเร่งทากิจกรรมเพื่อให้ทันเวลา ซึ่งการวิเคราะห์หา
ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ตั้งเกณฑ์ไว้คือ ๘๐/๘๐ ซึ่งเป็นการทดลองครั้งที่ ๒ แบบ กลุ่มย่อย จานวน
๙ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๒
ตารางที่ ๒ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
           หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
           จานวน ๙ คน

                                    คะแนน                        คะแนนการทดสอบ
     จานวนนักเรียน          การทาแบบทดสอบหลังเรียน            วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                             (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)             (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน)
            ๙                        ๓๖๘                               ๒๙๑
     คะแนนรวมที่ได้                  ๓๖๘                               ๒๙๑
     คะแนนเฉลี่ย (  )              ๔๐.๘๙                             ๓๒.๓๓
      คิดเป็นร้อยละ                 ๘๑.๗๘                             ๘๐.๘๑

            จากตารางที่ ๒ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวสต์ หน่วยการ
                                                                                    ิ
เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๙ คน
ครั้งที่ ๒ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๓ คน ปรากฏว่า คะแนน
การทาแบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๘๑.๗๘/
๘๐.๘๑ ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คุณธรรมนาชีวต
                                                                                         ิ
เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ๘๐/๘๐
                          การทดลองภาคสนามหรือกลุ่มใหญ่ เป็นการทดลองครั้งสุดท้ายของกระบวนการ
ทดสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว โดยนาชุดกิจกรรมแนะแนวที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ในครั้งที่ ๒
ไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนห้วยแสง
อรุณวิทยา อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน
โดยเลือกคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑๐ คน ผลการทดลองพบว่านักเรียนทากิจกรรม
เสร็จตามกาหนดเวลา ส่วนการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว ตั้งเกณฑ์ไว้คือ ๘๐/๘๐
ครั้งที่ ๓ ซึ่งเป็นการทดลองภาคสนามหรือกลุ่มใหญ่ จานวน ๓๐ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๓

ตารางที่ ๓ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
           หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
           จานวน ๓๐ คน

                                    คะแนน                        คะแนนการทดสอบ
     จานวนนักเรียน          การทาแบบทดสอบหลังเรียน            วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                             (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)             (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน)
           ๓๐                       ๑๒๔๒                               ๙๗๒
     คะแนนรวมที่ได้                 ๑๒๔๒                               ๙๗๒
     คะแนนเฉลี่ย (  )              ๔๑.๔๐                             ๓๒.๔๐
      คิดเป็นร้อยละ                 ๘๒.๘๐                             ๘๑.๐๐
จากตารางที่ ๓ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวสต์ หน่วยการ
                                                                                       ิ
เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓๐ คน ครั้งที่
๓ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑๐ คน ปรากฏว่า คะแนนการทา
แบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๘๒.๘๐/๘๑.๐๐
ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจ
พอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ๘๐/๘๐
                 ๑๖.๑.๖ ปรับปรุงแก้ไขชุดกิจกรรมแนะแนวตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ในการ
ทดลองในแต่ละครั้งและตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ แล้วจัดทาชุดกิจกรรมแนะแนวฉบับสมบูรณ์
เพื่อนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ เพื่อยืนยันประสิทธิภาพต่อไป
            ๑๖.๒ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก
จานวน ๔๐ ข้อ
                  ๑๖.๒.๑ ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเวศ วะสี (๒๕๔๒)
นิคม มูสิกะคามะ (๒๕๔๒) สุรเกียรติ เสถียรไทย (๒๕๔๒) ธงชัย ไพโรจน์ (๒๕๕๑) ปรียานุช พิบูลสราวุธ
(๒๕๔๙) ตลอดจนศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือเทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (ล้วน สายยศ และ
อังคณา สายยศ, ๒๕๓๖: ๑๔๖-๑๕๒) และหนังสือการวิจัยเบื้องต้น (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๗๘-๙๘)
                  ๑๖.๒.๒ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม
นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา อย่างครอบคลุ่มเนื้อหาด้านคุณธรรม
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐ เรื่อง เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕๐ ข้อ
                  ๑๖.๒.๓ นาแบบทดสอบที่พัฒนาขึ้นพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม
เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ดังนี้
                    ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ตามพฤติกรรมที่ระบุ
ไว้จริง
                    ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้
ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง
                    ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดผลการเรียนรู้
ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง
                  ๑๖.๒.๔ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์
ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของ สมนึก ภัททิยธนี
(๒๕๓๗: ๑๖๗) พบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบทดสอบ ๕๐ ข้อ
                  ๑๖.๒.๕ นาแบบทดสอบไปทดสอบ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา กลุ่มเครือข่ายโนนสะอาดหนองโพธิ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน
๑๖.๒.๖ นากระดาษคาตอบที่ได้มาตรวจให้คะแนนโดยให้ข้อถูกได้ ๑ คะแนน ข้อผิด
หรือไม่ตอบหรือตอบเกิน ๑ ข้อ ได้ ๐ คะแนน หลังจากตรวจกระดาษคาตอบและรวบรวมคะแนนแล้ว
มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบดังนี้
                           ๑๖.๒.๖.๑ วิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก (B) เป็นรายข้อ โดยใช้วิธีของ Brennan
(บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๘๗) แล้วคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึนไป และมีค่า
                                                                                  ้
อานาจจาแนกตั้งแต่ ๐.๒๑ ถึง ๐.๗๙ คัดเลือกไว้ ๔๐ ข้อ
                           ๑๖.๒.๖.๒ นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้จานวน ๔๐ ข้อ ไปวิเคราะห์หาความ
เชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตรของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๙๓) ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ
เท่ากับ ๐.๘๙
                  ๑๖.๒.๗ จัดพิมพ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนา
ชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน
๔๐ ข้อ เพื่อนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
            ๑๖.๓ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก แผนละ ๕ ข้อ
                  ๑๖.๓.๑ ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเวศ วะสี (๒๕๔๒)
นิคม มูสิกะคามะ (๒๕๔๒) สุรเกียรติ เสถียรไทย (๒๕๔๒) ธงชัย ไพโรจน์ (๒๕๕๑) ปรียานุช พิบูลสราวุธ
(๒๕๔๙) ตลอดจนศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือเทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (ล้วน สายยศ และ
อังคณา สายยศ, ๒๕๓๖: ๑๔๖-๑๕๒) และหนังสือการวิจัยเบื้องต้น (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๗๘-๙๘)
                  ๑๖.๓.๒ สร้างแบบทดสอบตามจุดประสงค์ของการจัดกิจกรรมแนะแนวในแต่ละเรื่องของ
ชุดกิจกรรม จานวน ๑๐ เรื่อง เป็นแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก เรื่องละ ๑๐ ข้อ
                  ๑๖.๓.๓ นาแบบทดสอบที่พัฒนาพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม
เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ดังนี้
                    ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ตามพฤติกรรมที่ระบุ
ไว้จริง
                    ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้
ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง
                    ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดผลการเรียนรู้
ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง
                   ๑๖.๓.๔ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์
ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของสมนึก ภัททิยธนี
(๒๕๓๗: ๑๖๗) พบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบทดสอบทั้ง ๑๐ เรื่อง
จานวนเรื่องละ ๑๐ ข้อ
                   ๑๖.๓.๕ นาแบบทดสอบไปทดสอบ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา กลุ่มเครือข่ายโนนสะอาดหนองโพธิ์
อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน
๑๖.๓.๖ นากระดาษคาตอบที่ได้มาตรวจให้คะแนนโดยให้ข้อถูกได้ ๑ คะแนน ข้อผิด
หรือไม่ตอบหรือตอบเกิน ๑ ข้อ ได้ ๐ คะแนน หลังจากตรวจกระดาษคาตอบและรวบรวมคะแนนแล้ว
มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ
                  ๑๖.๓.๗ วิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก (B) เป็นรายข้อ โดยใช้วิธีของ Brennan
(บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๘๗) โดยคัดเลือกข้อสอบ ที่มีค่าความยากตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึ้นไป คัดเลือกไว้
แผนละ ๕ ข้อ ได้แบบทดสอบที่มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ ๐.๓๓ ถึง ๐.๘๖
                  ๑๖.๓.๘ นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้ทั้ง ๑๐ เรื่อง จานวนเรื่องละ ๕ ข้อ ไปวิเคราะห์
หาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตรของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๕๓: ๙๓) ได้ค่าความเชื่อมั่น
ทั้งฉบับของแต่ละฉบับ ๐.๕๗, ๐.๗๙, ๐.๖๙, ๐.๘๑, ๐.๗๖, ๐.๖๙, ๐.๗๑, ๐.๖๘, ๐.๗๔, และ ๐.๗๓
ตามลาดับ
                  ๑๖.๓.๙ จัดพิมพ์แบบทดสอบของแต่ละเรื่องในชุดกิจกรรมที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
แล้ว ทั้ง ๑๐ เรื่อง จานวนเรื่องละ ๕ ข้อ เพื่อนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
          ๑๖.๔ แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน
                 แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)
๓ ระดับ ผู้วิจัยประยุกต์ตามแบบ Likert Scale (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, ๒๕๓๖)
                 กรณีที่ ๑ ข้อความที่มีความหมายในทางบวก ให้คะแนนดังนี้
                                 มาก        ให้    ๓ คะแนน
                                 ปานกลาง ให้       ๒ คะแนน
                                 น้อย       ให้    ๑ คะแนน
                 กรณีที่ ๒ ข้อความที่มีความหมายในทางลบ ให้คะแนนดังนี้
                                 น้อย       ให้    ๓ คะแนน
                                 ปานกลาง ให้       ๒ คะแนน
                                 มาก        ให้    ๑ คะแนน
                 ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน ชุดกิจกรรมแนะแนว หน่วยการเรียนรู้
ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง จานวน ๓๐ ข้อ และกาหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ค่าเฉลี่ยกลาง
(mid point) เป็นเกณฑ์ในการแปลความหมาย (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕) ดังนี้
                     เกณฑ์การประเมิน
                     ๒.๓๔ – ๓.๐๐ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับมาก
                     ๑.๖๗ – ๒.๓๓ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับปานกลาง
                     ๑.๐๐ – ๑.๖๖ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับน้อย
ตัวอย่างแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน

                              แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน

คาชีแจง
        ๑. แบบสอบถามนี้ต้องการสอบถามวัดความสุขในการเรียน ว่านักเรียนมีความสุขในการร่วม
กิจกรรมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์มากน้อยเพียงใด ดังนั้น การตอบจึงไม่มีข้อถูกหรือ
ผิด เพราะความรู้สึกของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ขอให้นักเรียนตอบแบบสอบถามจากความรู้สึกที่แท้จริง
ของนักเรียนทุกข้อ
        ๒. การตอบแบบสอบถามแต่ละข้อไม่มีผลต่อการเรียนของนักเรียนแต่ละคนประการใด นักเรียนมี
อิสระในการตอบอย่างเต็มที่
        ๓. วิธีตอบแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน แต่ละข้อมีช่องว่างให้นักเรียนเลือกตอบ ๓ ช่อง
คือ มาก ปานกลาง น้อย นักเรียนอ่านแต่ละข้อความให้เข้าใจแล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องว่างที่นักเรียน
เห็นว่าตรงกับความรู้สึกของนักเรียนมากที่สุด

                                                                    ระดับความรู้สึก
                           ข้อความ
                                                                 มาก ปานกลาง น้อย
 ๑. ฉันอยากให้ถึงเวลาเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเร็ว ๆ                 
 ๒. ฉันวิตกกังวลและหวาดกลัวว่าจะทาไม่ได้                                 
 ๓. ฉันอาสาทากิจกรรมโดยที่ครูและเพื่อนไม่ต้องบอก                 
 ๔. ฉันอยากให้หมดเวลาเร็ว ๆ เมื่อร่วมกิจกรรมแนะแนว               
 ๕. ฉันยิ้มแย้มแจ่มใสขณะทากิจกรรม                                

                  ๑๖.๔.๑ นาแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียนพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ
ชุดเดิม เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์ที่ต้องการวัด ตามเกณฑ์ดังนี้
                  ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน
ที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง
                  ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน
ที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง
                  ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นไม่สามารถวัดความสุขในการเรียน
ของนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง
                 ๑๖.๔.๒ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามข้อสอบแต่ละข้อมา
วิเคราะห์ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของ สมนึก
ภัททิยธนี (๒๕๓๗: ๑๖๗) แล้วคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบสอบถาม
จานวน ๑๕ ข้อ
                 ๑๖.๔.๓ นาแบบสอบถามมาหาค่าความเชื่อมั่นกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
จานวน ๓๐ คน ที่ร่วมชุดกิจกรรมแนะแนวนี้มาแล้ว ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Alpha
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว

More Related Content

What's hot

ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตkrupornpana55
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555Muhammadrusdee Almaarify
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลAek Narong
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561teacherarty
 

What's hot (18)

บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
B2
B2B2
B2
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิต
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Similar to ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 

Similar to ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 

ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว

  • 1. ๑. ชื่อผลงานวิจัย ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ๒. ชื่อ-ชื่อสกุลผู้วิจัย นางพจนี ศิริวรรณ ๓. ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ สพป.อด.๒ ๔. วุฒิการศึกษา ปริญญาโท (ศษ.ม) สาขาวิชาการแนะแนวและให้คาปรึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๕. สถานที่ติดต่อ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ๑๖๘ หมู่ ๕ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี ๔๑๒๔๐ โทร. ๐๘-๑๐๖๐-๕๗๖๓ potjanee2918@yahoo.com ๖. ปีที่ทาการวิจัยเสร็จ ๒๕๕๔ ๗. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และเพื่อ ศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด คอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มขั้นเดียว (Single-stage cluster sampling) โดยใช้ห้องเรียน เป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วย การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๑๐ แผน แบบทดสอบ สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบทดสอบ ชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๔๐ ข้อ และแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบชนิด เลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวนแผนละ ๕ ข้อ และแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน ระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ๓ ระดับ จานวน ๑๕ ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t–test (Dependent Samples) ผลการศึกษาพบว่า ๑. หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๒. แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพ ของผลลัพธ์ (E๑/E๒ ) เท่ากับ ๘๘.๖๖/๘๖.๗๖ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ ๘๐/๘๐ ๓. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ มีความสุขในการเรียนอยู่ในระดับมาก
  • 2. ๘. หลักการ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมุ่งการพัฒนาประเทศในลักษณะทุนนิยม กล่าวคือ เน้นการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ โดยเชื่อว่าเมื่อเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นจะส่งผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ ให้เจริญตามไปด้วย แต่ในความเป็นจริงไม่เป็นเช่นนั้น จะเห็นได้จากเกิดภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๐ สาเหตุมาจากการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นให้ประเทศไทยกลายเป็นเสือตัวที่ ๕ โดยไม่คานึง ถึงความพร้อมของคนในชาติ ตลอดจนไม่คานึงถึงความเหมาะสมของสภาพภูมิศาสตร์และทรัพยากรของ ประเทศ นาไปสู่ภาวะวิกฤติในที่สุด และส่งผลต่อสังคมไทยในหลาย ๆ ด้าน เช่น เกิดความอ่อนแอของ ระบบเศรษฐกิจ และความอ่อนแอของสังคม จนทาให้ประเทศไทยต้องประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย อาทิ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด และปัญหาการว่างงาน นอกจากนี้สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากกระแสโลกาภิวัฒน์ ยังส่งผลให้คน ในทุกระดับต้องประสบกับปัญหาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง จึงส่งผลให้เกิดปัญหา นานัปการ กลุ่มคนที่ประสบปัญหาเหล่านี้เกิดจากการดาเนินชีวิตที่ไม่รู้จักความพอเพียง ขาดการนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ไม่รอบคอบในการคิดพิจารณา ไม่มีความเข้าใจในการแก้ปัญหา ขาดคุณธรรมและจิตสานึกที่ดี (ธัญญา อ้นคง, ๒๕๕๑: ๑) ด้วยภาวะวิกฤติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งประเทศไทยต้องเผชิญอยู่ขณะนี้ เมื่อพิจารณา อย่างรอบด้าน หนทางที่จะผ่อนคลายคนไทยทุกคนก็ควรหันหน้าเข้าหากัน ร่วมคิด ร่วมแรง ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา ทุกฝ่ายยอมลดเป้าหมายเพื่อพบกันครึ่งทาง เพื่อความอยู่รอดปลอดภัย ความเจริญของ ประเทศอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จะด้วยวิธีใดก็ตามสิ่งสาคัญต้องอยู่บนรากฐานของคุณธรรมซึ่งเป็นสิ่ง ที่ดีงามควรแก่การประพฤติปฏิบัติ การพัฒนาบุคคลให้มีคุณธรรมนั้นเป็นสิ่งที่จะช่วยพัฒนาคนในชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยกาย วาจา ใจ การศึกษาก็มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ การแข่งขัน ทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์ก็ขึ้นอยู่กับการศึกษา การพัฒนาการเมืองก็ขึ้นอยู่กับการศึกษา สังคมกาลัง เสื่อมโทรม ก็ต้องหันไปพึ่งการศึกษา การพัฒนาการศึกษาจึงเป็นเงื่อนไขสาคัญของการพัฒนาประเทศ วิชัย ตันศิริ (๒๕๔๙: ๑) ซึงในปัจจุบันมีการตื่นตัวกันมากในการน้อมนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ่ มาบูรณาการกับการเรียนการสอน ที่เห็นได้ชัดเจนคือ การกาหนดจุดมุ่งหมายและหลักการของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ในหมวด ๑ มาตรา ๖ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (คณะทางาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน, ๒๕๕๐: ๔) ดังนั้น การปลูกฝังคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อช่วยป้องกันและลดปัญหาในสังคม โดยการช่วยให้บุคคลมีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ดีที่สุด จนสามารถนาเอาคุณธรรมอันดีงามและมีคุณค่านี้ ไปใช้ประกอบการ ตัดสินใจในการใช้ความรู้ความสามารถทางปัญญาที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นที่ยอมรับของสังคม โดยอาศัยเครื่องมือที่ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพคือการศึกษา สอดคล้องกับที่คณะทางาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน (๒๕๕๐: ๔) ที่กล่าวว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น แนวคิดของการพัฒนาคน เน้นการพัฒนาความเป็นมนุษย์และความยั่งยืนของการพัฒนาให้ความสาคัญ ต่อเรื่องความอยู่ดีมีสุขมากกว่าความมั่งคั่ง เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ และโดยเฉพาะการใช้คุณธรรมนา ความรู้ ซึ่งการปลูกฝังคุณธรรมที่มีประสิทธิภาพควรเริ่มต้นตั้งแต่รากฐานของชีวิตมนุษย์คือวัยเด็กที่
  • 3. สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ และสามารถใช้เหตุผลในการตัดสินใจได้แล้วคือเด็กในระดับประถมศึกษา นั่นเอง นักเรียนวัยเรียนระดับชั้นประถมศึกษาหรือวัยเด็กตอนกลาง (Middle Childhood) อยู่ในช่วง อายุประมาณ ๖-๑๒ หรือ ๑๓ ปี เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมมากที่จะสอนให้เด็กเรียนรู้ว่าพฤติกรรมใด ถูกผิด-ดีชั่ว ซึ่งการสอนเด็กในวัยนี้สามารถใช้เหตุผลแล้ว เพราะเด็กมีความคิดเข้าใจเหตุผล และนาเหตุผล มาเป็นแนวทางในการตัดสินใจ และเคารพกฎต่างๆ อย่างไม่ตั้งคาถาม ระยะนี้จึงเป็นระยะที่เหมาะสม สาหรับสอนให้เด็กเข้าใจสิ่งต่างๆ เพราะหากเราสามารถสอนเด็กให้เข้าใจดีแล้วก็จะฝังใจ ติดเป็นนิสัยเด็ก ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ และอาจแก้ปัญหาในสังคมไทยได้ (ศรีเรือน แก้วกังวาน, ๒๕๔๐: ๒๖๗-๒๖๘) ดังนั้นเด็ก ในระดับประถมศึกษาจึงเป็นวัยที่เหมาะสมในการสอนให้มีความรู้ความเข้าใจในด้านคุณธรรมตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างยิ่ง โดยการจัดกิจกรรมให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัย เด็กได้ใช้ความคิดและใช้เหตุผล เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ภายใต้การปฏิสัมพันธ์หรือทากิจกรรม กับเพื่อนร่วมวัย เพราะเป็นช่วงวัยที่เด็กจับกลุ่ม “กลุ่มเพื่อนร่วมวัย” มีบทบาทมากในการดาเนินชีวิต เป็น วัยที่มีความพร้อมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กจะพัฒนาได้เจริญมาก เด็กเริ่ม เรียนรู้อย่างเป็นระบบและสนใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ลักษณะพัฒนาการที่ควรบังเกิดขึ้นในช่วงนี้คือการ เตรียมตัวเพื่อเป็นวัยรุ่นและเป็นผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบตนเองในด้านต่างๆ ได้ จะเห็นได้ว่าการที่จะพัฒนา ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประถมศึกษาที่ดีที่สุดอีกวิธีหนึ่ง ควรเริ่มต้นที่การสร้างแรงจูงใจที่ดี และให้นักเรียนนาความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมแบบเดิมที่มีอยู่แล้ว มาเป็นฐานให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น ผ่านสถานการณ์ สภาพแวดล้อม หรือสื่อต่างๆ ที่ครูจัดให้ ตลอดจนการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเพื่อสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนเกิด ความรู้ที่คงทนติดตัวเป็นบุคลิกภาพที่สังคมยอมรับ สอดคล้องกับการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษา ปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด (Cognitive processes) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมีส่วนช่วยทาให้ เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของผู้เรียน การเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีสตรัคติวิสต์เกิดขึ้นได้จากการเรียนรู้เป็นกระบวนการปฏิบัติ (Active process) ที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับ มาใหม่ร่วมกับข้อมูลหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว รวมทั้งประสบการณ์เดิม มาสร้างความหมายในการเรียนรู้ ของตนเอง (วัฒนาพร ระงับทุกข์, ๒๕๔๑: ๓๑) ซึงหัวใจสาคัญของแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่ทาให้ผู้เรียน ่ เรียนรู้ได้ดีที่สุดคือผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นเจ้าของการเรียนและลงมือปฏิบัติจริง ไม่ใช่การเรียนรู้ ด้วยการบอกเล่า แต่ต้องเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ ซึ่งมีแหล่งเรียนรู้มาจากการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรม (จิราภรณ์ ศิริทวี, ๒๕๔๑: ๒๔ ) จากความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนความสาคัญของการจัดการศึกษาที่ จาเป็นต้องให้ผู้เรียนมีการสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ดี ที่สุดตั้งแต่เยาว์วัย ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และแก้ปัญหาด้วยกัน ซึ่งเป็นการ เรียนรู้ในเรื่องคุณธรรมที่มีความหมายสาหรับผู้เรียน ผู้วิจัยจึงเห็นว่า การจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด คอนสตรัคติวิสต์ จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมแนะแนวถือว่าเป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคม
  • 4. ได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่ หลากหลายในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ปรับตัวและดารงชีวิต ได้อย่างมีความสุข ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑: ๑๑๔) ซึงการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์นี้ จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างองค์ ่ ความรู้ด้วยตนเอง จนเกิดความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างคงทน อันจะนาไปสู่การดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวพระราชดาริ เกิดความยั่งยืนกับนักเรียนระดับประถม ศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนที่เป็นกาลังสาคัญของประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคตต่อไป ๙. แนวคิด/ทฤษฎี ๙.๑ กรมวิชาการ (๒๕๔๗: ๖) ได้กล่าวถึงกระบวนการจัดกิจกรรมคาบแนะแนวไว้ว่า เป็นการ รวมกลุ่มของนักเรียน เพื่อทากิจกรรมอันจะช่วยให้นักเรียนเกิดการพัฒนาการในด้านต่าง ๆ และสามารถ แก้ปัญหาได้ ลักษณะกิจกรรมคาบแนะแนวควรเป็นกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อ ปลูกฝังค่านิยมทีเป็นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสาคัญที่สุดที่จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของ ่ ตนเองตามศักยภาพ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข เป็นกิจกรรม ที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ปรับตัวและดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑: ๑๑๔) ๙.๒ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ เงื่อนไขการ เรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นกระบวนการลงมือกระทาที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ความรู้ต่างๆ จะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับข้อมูลหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว รวมทั้งประสบการณ์เดิมมาสร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง (วัฒนาพร ระงับทุกข์, ๒๕๔๑: ๒๕) กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้าง ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจเดิมที่มีมาก่อน เป้าหมายของการสอน จะสนับสนุนการสร้างมากกว่าการพยายามในการถ่ายทอดความรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทาในการ สร้างความรู้ ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ, ๒๕๔๗: ๑๘) ได้เสนอลาดับขั้นการสอน แบบคอนสตรัคติวิสต์ ไว้เป็น ๕ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ คือการเตรียมนักเรียนให้สนใจในเรื่องที่จะศึกษากันในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง หรือ ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง (Orientation) อาจเรียกว่าเป็นระยะวางแผนการสอนก็ได้ ระยะที่ ๒ เป็นระยะที่ดึงความรู้เดิมของเด็กออกมา (Elicitation) ระยะนี้ครูจะต้องช่วยให้ นักเรียนรู้ตัวว่าในเรื่องนั้นๆ มีความรู้เดิมอะไรอยู่ เพื่อครูจะได้รู้ว่าเด็กรู้อะไรบ้าง ถูกหรือผิดอย่างไร ระยะที่ ๓ เป็นการทาให้เด็กเริ่มรู้ว่าในความคิดของเขานั้นๆ ยังมีความรู้อย่างอื่นหรือมี ความหมายอย่างอื่นที่ไม่เหมือนกับสิ่งที่เขายึดถืออยู่ เด็กจะเริ่มสารวจตรวจตราแนวคิดหรือความหมาย ของตนด้วยจิตวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ แล้วจึงปรับเปลี่ยน หรือขยายความคิดเดิมออกไปครอบคลุม ความรู้ใหม่และในที่สุด คือเอาความรู้/แนวคิด/ความหมายใหม่แทนของเดิม หรือสร้างใหม่ (Restructuring) ระยะนี้เป็นหัวใจของการเรียนการสอน ระยะที่ ๔ เป็นการประยุกต์ใช้ (Application) แนวคิดหรือความรู้ที่สร้างใหม่ไปเชื่อมโยงกับ สถานการณ์อื่นหรือความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 5. ระยะที่ ๕ ระยะทบทวน (Review) เพื่อให้ผู้เรียนสะท้อนออกมาให้ทราบว่า ความคิด หรือ ความรู้ของเขาเปรียบเทียบกับแนวคิดเดิมที่เด็กมีมานั้น มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ๑๐. กรอบแนวคิดการวิจัย นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา การจัดกิจกรรมแนะแนว ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรม ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ ๑ เรียนสนุกปลุกใจ กตัญญูยอดเด็กดี ขั้นที่ ๒ ไขความรู้เดิม สามัคคีเป็นศรีชาติ ขั้นที่ ๓ เพิ่มเติมประสบการณ์ เด็กฉลาดรู้พอประมาณ ขั้นที่ ๔ สานองค์ความรู้ ชีวิตเบ่งบานใฝ่เรียนรู้ ขั้นที่ ๕ สู่ปรัชญาล้าค่าในคุณธรรม กินอยู่รอบคอบระมัดระวัง พลังแห่งความซื่อสัตย์สุจริต พิชิตความขยัน มุ่งมั่นอดทน คนดีมีนาใจ เด็กยุคใหม่พึ่งตนเอง ๑๑. วัตถุประสงค์การวิจัย ๑๑.๑ เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ๑๑.๒ เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ๑๑.๓ เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรม แนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ๑๒. สมมติฐานการวิจัย ๑๒.๑ หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑
  • 6. ๑๒.๒ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๑๓. ตัวแปรและนิยามตัวแปร ๑๓.๑ ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ตัวแปรตาม คือ ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และ พึ่งตนเอง ๑๓.๓ นิยามตัวแปร กิจกรรมแนะแนว หมายถึง กิจกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อใช้สอนในชั่วโมงกิจกรรม แนะแนว เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นให้นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อ สร้างความรู้ด้วยตนเอง ชุดกิจกรรรมแนะแนวตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง ชุดกิจกรรมแนะแนว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้สร้างความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงด้วยตนเอง ได้คิด ได้ปฏิบัติ ได้ร่วมมือกัน จานวน ๑๐ กิจกรรม ผ่านขั้นตอนสร้างความรู้ ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยปรับจาก ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ, ๒๕๔๗: ๑๘) คุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความดีงาม ความถูกต้อง ที่สอดคล้องกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ควรยึดถือเป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม อันประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และพึ่งตนเอง ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การที่นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ข้อมูลความรู้ ในเนื้อเรื่อง จากรายละเอียดด้านเนื้อหาข้อเท็จจริงต่างๆ จนสามารถวิเคราะห์และนาไปใช้ได้ ความรู้ความเข้าใจในคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การที่นักเรียน มีความสามารถในการรับรู้ข้อมูลความรู้ในเนื้อเรื่อง รายละเอียดด้านเนื้อหา และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันประกอบด้วย กตัญญู สามัคคี พอประมาณ ใฝ่เรียนรู้ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีน้าใจ และพึ่งตนเองจนสามารถวิเคราะห์และนาไปใช้ได้ ซึ่งวัดได้จาก การทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสุข หมายถึง ความรู้สึกสบายกายสบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในชีวิต ซึ่งเป็นการ ประเมินส่วนบุคคลว่าชื่นชอบ ความสุขในการเรียน หมายถึง ความรู้สึกสบายกายสบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในชีวิต ขณะร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ สามารถวัดได้จากแบบสอบถามวัดความสุข ในการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน หมายถึง เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อวัดความรู้สึก สบายกาย สบายใจ รู้สึกชอบหรือพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เป็น มาตราส่วนประมาณค่า (Ratting Scale) ๓ ระดับ คือ มาก ปานกลาง น้อย
  • 7. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน ๑๔. ประชากร ประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบล โพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ ภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ รวม ๑๒ ห้องเรียน จานวน ๓๓๙ คน ๑๕. กลุมตัวอย่าง ่ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ตาบลโพธิ์ศรีสาราญ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุดรธานี เขต ๒ จานวน ๒๔ คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มขั้นเดียว (Single-stage cluster sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ๑๖. เครื่องมือวิจัย ๑๖.๑ แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๑๐ แผน ๑๖.๑.๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาโครงสร้างหลักสูตร ของโรงเรียน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และจุดเน้นของโรงเรียน จากหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน บ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ ศึกษาจุดมุ่งหมาย ผังมโนทัศน์ ขอบข่าย กรอบแนวคิด และมาตรฐานกิจกรรม แนะแนว ศึกษาทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ศึกษาเอกสาร งานวิจัย สื่อต่างๆ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อกาหนดหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์ เนื้อหา ได้หน่วย การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งในชุด กิจกรรมดังกล่าวมีเนื้อหาเกี่ยวกับคุณธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบ่งออกเป็น ๑๐ เรื่องย่อย ตามลาดับดังนี้ (๑) กตัญญูยอดเด็กดี (๒) สามัคคีเป็นศรีชาติ (๓) เด็กฉลาดรู้พอประมาณ (๔) ชีวิตเบ่งบานใฝ่เรียนรู้ (๕) กินอยู่รอบคอบระมัดระวัง (๖) พลังแห่งความซื่อสัตย์สุจริต (๗) พิชิตความขยัน (๘) มุ่งมั่นอดทน (๙) คนดีมีน้าใจ (๑๐) เด็กยุคใหม่พึ่งตนเอง ๑๖.๑.๒ ดาเนินการสร้างชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ โดยปรับจาก ลาดับขั้นการสอนแบบคอนสตรัคติวิสต์ ๕ ระยะ ไดรเวอร์ (Driver อ้างถึงใน พจนี ศิริวรรณ, ๒๕๔๗: ๑๘) ดังนี้
  • 8. ขั้นที่ ๑ เรียนสนุกปลุกใจ (ระยะที่ ๑ คือการเตรียมนักเรียนให้สนใจในเรื่อง ที่จะศึกษา) ขั้นที่ ๒ ไขความรู้เดิม (ระยะที่ ๒ เป็นระยะที่ดึงความรู้เดิมของเด็กออกมา) ขั้นที่ ๓ เพิ่มเติมประสบการณ์ (ระยะที่ ๓ เป็นการทาให้เด็กเริ่มรู้ว่าในความคิด ของเขานั้นๆ ยังมีความรู้อย่างอื่นหรือมีความหมายอย่างอื่นที่ไม่เหมือนกับสิ่งที่เขายึดถืออยู่) ขั้นที่ ๔ สานองค์ความรู้ (ระยะที่ ๔ เป็นการประยุกต์ใช้) ขั้นที่ ๕ สู่ปรัชญาล้าค่าในคุณธรรม (ระยะที่ ๕ ระยะทบทวน เพื่อให้ผู้เรียนสะท้อน ออกมาให้ทราบว่า ความคิด หรือความรู้ของเขาเปรียบเทียบกับแนวคิดเดิมที่เด็กมีมานั้น มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร ๑๖.๑.๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ผู้วิจัยได้นาชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิด คอนสตรัคติวิสต์ที่สร้างขึ้น พร้อมแบบประเมินชุดกิจกรรมแนะแนว เสนอผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งประกอบด้วย (๑) รองศาสตราจารย์ มานิต ปวริญญานนท์ ตาแหน่ง อาจารย์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี (๒) นางศรีแก้ว ศรีหริ่ง ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะศึกษานิเทศก์ชานาญการ พิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ (๓) นางลัดดา ดีสิน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านผือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ (๔) นางวัชรียา แจ่มใส ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก่น นครวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒ (๕) นายไพรินทร์ หมีมี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียน บ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม และปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญ โดยการสร้างแบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ ตามวิธีการของลิเคอร์ท (Likert) โดยกาหนดเกณฑ์การวัด และเกณฑ์การประเมินดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๔๔: ๖๙-๗๑) เกณฑ์การวัด เหมาะสมมากที่สุด ให้ ๕ คะแนน เหมาะสมมาก ให้ ๔ คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ ๓ คะแนน เหมาะสมน้อย ให้ ๒ คะแนน เหมาะสมน้อยที่สุด ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การประเมิน ๔.๕๑ – ๕.๐๐ เหมาะสมมากที่สุด ๓.๕๑ – ๔.๕๐ เหมาะสมมาก ๒.๕๑ – ๓.๕๐ เหมาะสมปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ เหมาะสมน้อย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ เหมาะสมน้อยที่สุด
  • 9. ตัวอย่างแบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว คาชีแจง โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านต่อข้อความในแต่ละรายการ ว่ามีความเหมาะสม เพียงใด โดยกาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมีระดับความคิดเห็น ดังนี้ ๕ = เหมาะสมมากที่สุด ๔ = เหมาะสมมาก ๓ = เหมาะสมปานกลาง ๒ = เหมาะสมน้อย ๑ = เหมาะสมน้อยที่สุด ตัวอย่างการตอบแบบประเมิน ระดับความคิดเห็น ข้อที่ ข้อคาถามความคิดเห็น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ 0 กิจกรรมมีความเหมาะสมกับระดับชั้น  00 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนสร้างความรู้  ด้วยตนเอง 0 หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญตอบแบบประเมินว่า การจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมกับระดับชั้น อยู่ในระดับเหมาะสมมาก 00 หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญตอบแบบประเมินว่า ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง ๑๖.๓.๔ นาผลการประเมินชุดกิจกรรมแนะแนวจากผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ได้ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๔.๓๗ หมายถึง มีความเหมาะสมมาก และได้ปรับปรุงแก้ไขกิจกรรมให้เหมาะสมกับเวลาตาม ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ๑๖.๓.๕ นาชุดกิจกรรมแนะแนวที่ผ่านการแก้ไขและปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว ไปทดลองใช้ ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เพื่อหาประสิทธิภาพ ของชุดกิจกรรม ดังนี้ การทดลองครั้งที่ ๑ แบบรายเดี่ยว ผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓ คน โดยเลือก นักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ ๑ คน พบว่า นักเรียนทากิจกรรมเสร็จไม่ทันตามกาหนดเวลา ซึ่งการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพด้านกระบวนการของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งเกณฑ์ไว้ คือ ๘๐/๘๐ การทดลองครั้งที่ ๑ แบบรายเดี่ยว จานวน ๓ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๑
  • 10. ตารางที่ ๑ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓ คน คะแนน คะแนนการทดสอบ จานวนนักเรียน การทาแบบทดสอบหลังเรียน วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน) ๓ ๑๐๖ ๗๙ คะแนนรวมที่ได้ ๑๐๖ ๗๙ คะแนนเฉลี่ย (  ) ๓๕.๓๓ ๒๖.๓๓ คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๖๖ ๖๕.๘๓ จากตารางที่ ๑ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วย การเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓ คน ิ ครั้งที่ ๑ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑ คน ปรากฏว่า คะแนน การทาแบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๗๐.๖๖/ ๖๕.๘๓ ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวต ิ เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ผู้รายงานจึงได้นาไปปรับปรุงแก้ไขใหม่ เพื่อนาไปหาประสิทธิภาพในการทดลองต่อไป การทดลองครั้งที่ ๒ แบบกลุ่มย่อย ผู้วิจัยได้ทาการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว ที่ได้ปรับปรุงหลังจากการทดลองครั้งที่ ๑ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนบ้านเสาเล้าผักชีศรีสวัสดิ์ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๙ คน โดยเลือกคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๓ คน และไม่ซ้ากับนักเรียนที่ทดลองครั้งที่ ๑ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อหา เวลา ผลการทดลอง ปรากฎว่ากิจกรรมยังไม่เหมาะสมกับเวลา นักเรียนต้องเร่งทากิจกรรมเพื่อให้ทันเวลา ซึ่งการวิเคราะห์หา ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ตั้งเกณฑ์ไว้คือ ๘๐/๘๐ ซึ่งเป็นการทดลองครั้งที่ ๒ แบบ กลุ่มย่อย จานวน ๙ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๒
  • 11. ตารางที่ ๒ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๙ คน คะแนน คะแนนการทดสอบ จานวนนักเรียน การทาแบบทดสอบหลังเรียน วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน) ๙ ๓๖๘ ๒๙๑ คะแนนรวมที่ได้ ๓๖๘ ๒๙๑ คะแนนเฉลี่ย (  ) ๔๐.๘๙ ๓๒.๓๓ คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๗๘ ๘๐.๘๑ จากตารางที่ ๒ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวสต์ หน่วยการ ิ เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๙ คน ครั้งที่ ๒ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๓ คน ปรากฏว่า คะแนน การทาแบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๘๑.๗๘/ ๘๐.๘๑ ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คุณธรรมนาชีวต ิ เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ๘๐/๘๐ การทดลองภาคสนามหรือกลุ่มใหญ่ เป็นการทดลองครั้งสุดท้ายของกระบวนการ ทดสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว โดยนาชุดกิจกรรมแนะแนวที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ในครั้งที่ ๒ ไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนห้วยแสง อรุณวิทยา อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน โดยเลือกคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑๐ คน ผลการทดลองพบว่านักเรียนทากิจกรรม เสร็จตามกาหนดเวลา ส่วนการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนว ตั้งเกณฑ์ไว้คือ ๘๐/๘๐ ครั้งที่ ๓ ซึ่งเป็นการทดลองภาคสนามหรือกลุ่มใหญ่ จานวน ๓๐ คน ปรากฏผลดังตารางที่ ๓ ตารางที่ ๓ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓๐ คน คะแนน คะแนนการทดสอบ จานวนนักเรียน การทาแบบทดสอบหลังเรียน วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) (คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน) ๓๐ ๑๒๔๒ ๙๗๒ คะแนนรวมที่ได้ ๑๒๔๒ ๙๗๒ คะแนนเฉลี่ย (  ) ๔๑.๔๐ ๓๒.๔๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๘๐ ๘๑.๐๐
  • 12. จากตารางที่ ๓ การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวสต์ หน่วยการ ิ เรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จานวน ๓๐ คน ครั้งที่ ๓ กับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ ๑๐ คน ปรากฏว่า คะแนนการทา แบบทดสอบหลังเรียนและคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ร้อยละ ๘๒.๘๐/๘๑.๐๐ ดังนั้น ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจ พอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ๘๐/๘๐ ๑๖.๑.๖ ปรับปรุงแก้ไขชุดกิจกรรมแนะแนวตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ในการ ทดลองในแต่ละครั้งและตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ แล้วจัดทาชุดกิจกรรมแนะแนวฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ เพื่อยืนยันประสิทธิภาพต่อไป ๑๖.๒ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๔๐ ข้อ ๑๖.๒.๑ ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเวศ วะสี (๒๕๔๒) นิคม มูสิกะคามะ (๒๕๔๒) สุรเกียรติ เสถียรไทย (๒๕๔๒) ธงชัย ไพโรจน์ (๒๕๕๑) ปรียานุช พิบูลสราวุธ (๒๕๔๙) ตลอดจนศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือเทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, ๒๕๓๖: ๑๔๖-๑๕๒) และหนังสือการวิจัยเบื้องต้น (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๗๘-๙๘) ๑๖.๒.๒ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรม นาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา อย่างครอบคลุ่มเนื้อหาด้านคุณธรรม ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐ เรื่อง เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๕๐ ข้อ ๑๖.๒.๓ นาแบบทดสอบที่พัฒนาขึ้นพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ดังนี้ ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ตามพฤติกรรมที่ระบุ ไว้จริง ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดผลการเรียนรู้ ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง ๑๖.๒.๔ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์ ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของ สมนึก ภัททิยธนี (๒๕๓๗: ๑๖๗) พบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบทดสอบ ๕๐ ข้อ ๑๖.๒.๕ นาแบบทดสอบไปทดสอบ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา กลุ่มเครือข่ายโนนสะอาดหนองโพธิ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน
  • 13. ๑๖.๒.๖ นากระดาษคาตอบที่ได้มาตรวจให้คะแนนโดยให้ข้อถูกได้ ๑ คะแนน ข้อผิด หรือไม่ตอบหรือตอบเกิน ๑ ข้อ ได้ ๐ คะแนน หลังจากตรวจกระดาษคาตอบและรวบรวมคะแนนแล้ว มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบดังนี้ ๑๖.๒.๖.๑ วิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก (B) เป็นรายข้อ โดยใช้วิธีของ Brennan (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๘๗) แล้วคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึนไป และมีค่า ้ อานาจจาแนกตั้งแต่ ๐.๒๑ ถึง ๐.๗๙ คัดเลือกไว้ ๔๐ ข้อ ๑๖.๒.๖.๒ นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้จานวน ๔๐ ข้อ ไปวิเคราะห์หาความ เชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตรของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๙๓) ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ ๐.๘๙ ๑๖.๒.๗ จัดพิมพ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ คุณธรรมนา ชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จานวน ๔๐ ข้อ เพื่อนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ๑๖.๓ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก แผนละ ๕ ข้อ ๑๖.๓.๑ ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเวศ วะสี (๒๕๔๒) นิคม มูสิกะคามะ (๒๕๔๒) สุรเกียรติ เสถียรไทย (๒๕๔๒) ธงชัย ไพโรจน์ (๒๕๕๑) ปรียานุช พิบูลสราวุธ (๒๕๔๙) ตลอดจนศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือเทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, ๒๕๓๖: ๑๔๖-๑๕๒) และหนังสือการวิจัยเบื้องต้น (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๗๘-๙๘) ๑๖.๓.๒ สร้างแบบทดสอบตามจุดประสงค์ของการจัดกิจกรรมแนะแนวในแต่ละเรื่องของ ชุดกิจกรรม จานวน ๑๐ เรื่อง เป็นแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก เรื่องละ ๑๐ ข้อ ๑๖.๓.๓ นาแบบทดสอบที่พัฒนาพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ดังนี้ ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ตามพฤติกรรมที่ระบุ ไว้จริง ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดผลการเรียนรู้ ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดผลการเรียนรู้ ตามพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง ๑๖.๓.๔ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์ ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของสมนึก ภัททิยธนี (๒๕๓๗: ๑๖๗) พบว่า แบบทดสอบมีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบทดสอบทั้ง ๑๐ เรื่อง จานวนเรื่องละ ๑๐ ข้อ ๑๖.๓.๕ นาแบบทดสอบไปทดสอบ (Try-out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา กลุ่มเครือข่ายโนนสะอาดหนองโพธิ์ อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน
  • 14. ๑๖.๓.๖ นากระดาษคาตอบที่ได้มาตรวจให้คะแนนโดยให้ข้อถูกได้ ๑ คะแนน ข้อผิด หรือไม่ตอบหรือตอบเกิน ๑ ข้อ ได้ ๐ คะแนน หลังจากตรวจกระดาษคาตอบและรวบรวมคะแนนแล้ว มาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ ๑๖.๓.๗ วิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก (B) เป็นรายข้อ โดยใช้วิธีของ Brennan (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕: ๘๗) โดยคัดเลือกข้อสอบ ที่มีค่าความยากตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึ้นไป คัดเลือกไว้ แผนละ ๕ ข้อ ได้แบบทดสอบที่มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ ๐.๓๓ ถึง ๐.๘๖ ๑๖.๓.๘ นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้ทั้ง ๑๐ เรื่อง จานวนเรื่องละ ๕ ข้อ ไปวิเคราะห์ หาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตรของ Lovett (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๕๓: ๙๓) ได้ค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับของแต่ละฉบับ ๐.๕๗, ๐.๗๙, ๐.๖๙, ๐.๘๑, ๐.๗๖, ๐.๖๙, ๐.๗๑, ๐.๖๘, ๐.๗๔, และ ๐.๗๓ ตามลาดับ ๑๖.๓.๙ จัดพิมพ์แบบทดสอบของแต่ละเรื่องในชุดกิจกรรมที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ แล้ว ทั้ง ๑๐ เรื่อง จานวนเรื่องละ ๕ ข้อ เพื่อนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ๑๖.๔ แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ๓ ระดับ ผู้วิจัยประยุกต์ตามแบบ Likert Scale (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, ๒๕๓๖) กรณีที่ ๑ ข้อความที่มีความหมายในทางบวก ให้คะแนนดังนี้ มาก ให้ ๓ คะแนน ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน น้อย ให้ ๑ คะแนน กรณีที่ ๒ ข้อความที่มีความหมายในทางลบ ให้คะแนนดังนี้ น้อย ให้ ๓ คะแนน ปานกลาง ให้ ๒ คะแนน มาก ให้ ๑ คะแนน ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน ชุดกิจกรรมแนะแนว หน่วยการเรียนรู้ ที่ ๔ คุณธรรมนาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง จานวน ๓๐ ข้อ และกาหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ค่าเฉลี่ยกลาง (mid point) เป็นเกณฑ์ในการแปลความหมาย (บุญชม ศรีสะอาด, ๒๕๓๕) ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ๒.๓๔ – ๓.๐๐ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับมาก ๑.๖๗ – ๒.๓๓ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับปานกลาง ๑.๐๐ – ๑.๖๖ หมายความว่า มีความสุขในการเรียนในระดับน้อย
  • 15. ตัวอย่างแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน แบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน คาชีแจง ๑. แบบสอบถามนี้ต้องการสอบถามวัดความสุขในการเรียน ว่านักเรียนมีความสุขในการร่วม กิจกรรมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์มากน้อยเพียงใด ดังนั้น การตอบจึงไม่มีข้อถูกหรือ ผิด เพราะความรู้สึกของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ขอให้นักเรียนตอบแบบสอบถามจากความรู้สึกที่แท้จริง ของนักเรียนทุกข้อ ๒. การตอบแบบสอบถามแต่ละข้อไม่มีผลต่อการเรียนของนักเรียนแต่ละคนประการใด นักเรียนมี อิสระในการตอบอย่างเต็มที่ ๓. วิธีตอบแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียน แต่ละข้อมีช่องว่างให้นักเรียนเลือกตอบ ๓ ช่อง คือ มาก ปานกลาง น้อย นักเรียนอ่านแต่ละข้อความให้เข้าใจแล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องว่างที่นักเรียน เห็นว่าตรงกับความรู้สึกของนักเรียนมากที่สุด ระดับความรู้สึก ข้อความ มาก ปานกลาง น้อย ๑. ฉันอยากให้ถึงเวลาเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเร็ว ๆ  ๒. ฉันวิตกกังวลและหวาดกลัวว่าจะทาไม่ได้  ๓. ฉันอาสาทากิจกรรมโดยที่ครูและเพื่อนไม่ต้องบอก  ๔. ฉันอยากให้หมดเวลาเร็ว ๆ เมื่อร่วมกิจกรรมแนะแนว  ๕. ฉันยิ้มแย้มแจ่มใสขณะทากิจกรรม  ๑๖.๔.๑ นาแบบสอบถามวัดความสุขในการเรียนพร้อมแบบประเมินเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ชุดเดิม เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์ที่ต้องการวัด ตามเกณฑ์ดังนี้ ให้กา  ในช่อง +๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน ที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง ให้กา  ในช่อง ๐ เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นวัดความสุขในการเรียนของนักเรียน ที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง ให้กา  ในช่อง -๑ เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นไม่สามารถวัดความสุขในการเรียน ของนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ได้จริง ๑๖.๔.๒ นาผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามข้อสอบแต่ละข้อมา วิเคราะห์ความสอดคล้อง โดยใช้สูตร IOC (Index of Item Objiective Congruence) ของ สมนึก ภัททิยธนี (๒๕๓๗: ๑๖๗) แล้วคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ ๐.๘๐ ถึง ๑.๐๐ ได้แบบสอบถาม จานวน ๑๕ ข้อ ๑๖.๔.๓ นาแบบสอบถามมาหาค่าความเชื่อมั่นกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนห้วยแสงอรุณวิทยา อาเภอโนนสะอาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จานวน ๓๐ คน ที่ร่วมชุดกิจกรรมแนะแนวนี้มาแล้ว ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Alpha