SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
โรงเรียนสามโก้วิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๕
                          ข้อสอบประเมินผลปลายภาค ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
              วิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน เวลา ๖๐ นาที
          ********************************************************************
                    คาชี้แจง ตอนที่ ๑ ข้อสอบปรนัย เลือกตอบมี ๔ ตัวเลือก จํานวน ๔๐ ข้อ ๒๐ คะแนน
                                ให้นักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบุเหตุและผลของ ข้อที่ ๕. “ถ้าเดินผ่านประตู จะเห็นร้านขายกาแฟอยู่
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน                          ด้านขวามือ” ประโยคนี้มีเจตนาตามข้อใด
ข้อที่ ๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับข้อเท็จจริง                   ก. เจตนาแนะนํา
          ก. ข้อเท็จจริงเป็นการแสดงการคาดคะเน                               ข. แสคงความคิดเห็น
          ข. ข้อเท็จจริงเป็นหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้              ค. แสดงความต้องการ
          ค.ข้อเท็จจริง เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนเอง                       ง. เจตนาให้ข้อมูลแก่ผู้ฟัง
          ง. ข้อเท็จจริงเป็นความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล             มาตรฐาน ท ๑.๑ และ มาตรฐาน ท ๕.๑ตัวชี้วัดที่ ท ๑.๑
ข้อที่ ๒. ข้อใดเป็นประโยคที่แสดงว่าเป็นข้อคิดเห็น                 ม.๑/๒ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑ ม.๑/๑ และ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑
   ก.        ฉันเบื่อที่จะอ่านข้อความยาว ๆ แบบนี้เหลือเกิน        ม.๑/๒
   ข.        เรื่องที่มีข้อความยาว ๆ ทําให้คนอ่านใช้เวลามาก ข้อที่ ๖ “ เกิดหลงทางหรือตกอยู่ในอันตราย ก็สามารถ
   ค.        คอมพิวเตอร์ทําให้เราติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก ใช้โทรศัพท์มือถือขอความช่วยเหลือได้ทันที ” จาก
              รวดเร็ว                                             ข้อความข้างต้นใครที่เป็นคนให้เหตุผลนี้
   ง.         การใช้คําซ้ําที่ไม่ให้ความหมายใหม่เป็นการไม่              ก. มนัส                            ข. วรรณภา
              ประหยัด                                                   ค. ณัฐพล                            ง. นิตยา
ข้อที่ ๓. ข้อใดเป็นประโยคที่แสดงว่าเป็นข้อเท็จจริง                ข้อที่ ๗ คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อความต่อไปนี้มีความหมาย
   ก.        จําปีมีดอกสวยกลิ่นหอมแต่กลิ่นฉุนเกินไป               ว่าอย่างไร “ มนัสทํา หน้าเป็น ใส่ปัทมาและวรรณภา ”
   ข. กลิ่นของมะลิหอมสดชื่นกว่ากลิ่นของกุหลาบ                          ก. ริษยา                            ข. หมั่นไส้
   ค. ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอมนาหลงใหลกว่าดอก                  จําปี        ค. ไม่สนใจ                          ง. หน้าตาไม่ดี
   ง. กุหลาบเป็นไม้พุ่ม ลําต้นและกิ่งมีหนาม ขอบใบจัก              ข้อที่ ๘ ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของคําว่า “ประชาธิปไตย”
ข้อที่ ๔. “ ถ้าอยากชกกันก็เชิญ ผมกาลังอยากดูมวยคู่พิเศษ ตามที่คุณครูวิภาสอนและอธิบาย
อยู่พอดี ” จากข้อความนี้ผู้พูดมีความรู้สึกอย่างไร                       ก. การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
          ก. เกลียด ข. ข่มขู่                                           ข. การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเอง
          ค. ตําหนิ ง. ประชดประชัน                                      ค. การเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันแม้จะแตกต่าง
                                                                        ง. ควรแสดงความคิดเห็นโต้แย้งอย่างตรงไปตรงมา
ข้อที่ ๙ ประโยคต่อไปนี้ผู้พูดต้องการอะไร “พอก่อนๆ เด็ก ๆ            ข้อที่ ๑๔. ส่วนใหญ่เนื้อหาในวรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระ
อย่าให้โทรศัพท์มือถือมาทาให้เราแตกแยกกันเลย ”                       ร่วง มุ่งเน้นสิ่งใดเป็นสําคัญ
       ก. ต้องการคําตอบรับ/ปฏิเสธ                                          ก. มุ่งสอนให้คนทําความดี
       ข. ต้องการแสดงความคิดเห็น                                           ข. การเล่าถึงประวัติพระพุทธเจ้า
       ค. ต้องการเพื่อยุติความขัดแย้ง                                      ค. มุ่งเน้นเกี่ยวกับนรก – สวรรค์
       ง. ต้องการคําตอบที่ตนเองทราบอยู่แล้ว                                ง. มุ่งสอนแนวทางในการดําเนินชีวิต
ข้อที่ ๑๐ ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง คิดแตกต่างแต่อยู่ร่วมกันได้คือ      ข้อที่ ๑๕. ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต “ อย่าจับลิ้น
ข้อใด                                                               แก่คน” คือข้อใด
       ก. ความคิดเห็นของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน                              ก. อย่าพูดจาดูถูกผู้อื่น
       ข. ควรที่จะยึดมั่นความคิดเห็นของตัวเองเป็นหลัก                      ข. อย่าจับผิดคําพูดผู้อื่น
       ค. สอนให้รู้ว่าต้องประหยัดเพื่อออมเงินไว้ใช้ในอนาคต                 ค. อย่าพูดจาตลบตะแลง
       ง. โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์อํานวยความสะดวกได้                       ง. อย่านินทาให้ร้ายผู้อื่น
            ทุกอย่าง                                                ข้อที่ ๑๖. ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต“ อย่าตีปลา
มาตรฐาน ท ๑.๑ และ มาตรฐาน ท ๕.๑                                     หน้าไซ” คือข้อใด
ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๒ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑ ม.๑/๑ และ ตัวชี้วัดที่ ท          ก. อย่าแย่งเอาปลาในไซของผู้อื่น
๕.๑ ม.๑/๒                                                                  ข. อย่าปิดบังผลประโยชน์ของผู้อื่น
ข้อที่ ๑๑ .ท่านใดคือผู้แต่งวรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระร่วง ฉบับ                ค. อย่าสนใจเรื่องของผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ที่เรียนในภาคเรียนนี้                                                      ง. อย่าขัดขวางผลประโยชน์ที่กําลังจะเกิดขึ้น
        ก. สุนทรภู่                                                           ของผู้อื่น
        ข. กรมพระยาดํารงราชานุภาพ                                    ข้อที่ ๑๗. คําประพันธ์ในข้อใดที่ตรงกับปรัชญา
        ค. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี                                 เศรษฐกิจพอเพียงด้านการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
        ง. กรมพระปรมานุชิตชิโนรส                                            ก. คิดแล้วจึงเจรจา อย่านินทาผู้อื่น
ข้อที่ ๑๒. วรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระร่วง แต่งด้วยคํา                          ข. อย่ามักห้าวพลันแตก อย่าเข้าแบกงาช้าง
ประพันธ์ประเภทใด                                                            ค. ระวังระไวที่ไปมา เมตตาตอบต่อมิตร
        ก. กลอนสุภาพ ข.                           โคลงสี่สุภาพ              ง. ตนเป็นไทอย่าคบทาส อย่าประมาทท่านผู้ดี
        ค. กาพย์ยานี ๑๑                      ง. ร่ายสุภาพจบ
ด้วยโคลงสองสุภาพ
ข้อที่ ๑๓. ความหมายที่ถูกต้องของคําว่า “ สุวาน” คือข้อใด
        ก. สุนัข                   ข. ยมทูต
        ค. พาหนะของยมทูต ง. ผู้ทําหน้าที่
                                   บันทึกความดีความชั่วของคน
ข้อที่ ๑๘. ข้อใดตรงกับสุภาษิตที่ว่า “ อย่าเอาพิมเสนไปแลก       ข้อที่ ๒๓. ข้อใดกล่าวถึงเสียงที่มีลักษณะเป็น “ เสียงสูง
กับเกลือ”                                                      ต่าในภาษาไทยทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป” ได้
        ก. อย่าตีสุนัขห้ามเห่า ข้าเก่าร้ายอดเอา                ถูกต้อง
        ข. อย่ารักเหากว่ารักผม อย่ารักลมกว่ารักน้ํา                     ก. เสียงสระ                   ข. เสียงหนักเบา
        ค. คนขําอย่าร่วมรัก พรรคพวกพึงทํานุ                            ค. เสียงวรรณยุกต์              ง. เสียงพยัญชนะ
        ง. สุวานขบอย่าขบตอบ อย่ากอปรจิตริษยา                   ข้อที่ ๒๔. ข้อใดกล่าวถึงเสียงที่มีลักษณะเป็น “ เสียงที่
ข้อที่ ๑๙.ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต“ ผิจะหมายหมาย           เปล่งออกมาจากลาคอ โดยกระดกไปกระทบกับอวัยวะใน
จงมั่น ผิจะคั้นคั้นจงตาย ”                                     ปาก ทาให้เสียงเปลี่ยนไปจากเดิม”ได้ถูกต้อง
       คือข้อใด                                                        ก. เสียงสระ                     ข. เสียงพยัญชนะ
       ก. ให้ทําอะไรทําจริง                                            ค. เสียงอุทาน                    ง. เสียงวรรณยุกต์
       ข.ให้เป็นคนมีเหตุผล                                     ข้อที่ ๒๕. ข้อใดกล่าวถึงเสียงสระได้ถูกต้องที่สุด
       ค. ให้ตั้งใจคาดคั้นเอาความจริง                                    ก. เสียงที่ออกเสียงได้ไม่นานแต่เป็นเสียงก้อง
       ง. ให้จริงใจด่วนเชื่อสิ่งที่ได้เห็นและได้ยิน                      ข.เสียงที่ออกเสียงได้นานแล้วเป็นเสียงไม่ก้อง
 ข้อที่ ๒๐. ข้อใดคือคุณค่าทางวรรณศิลป์ของวรรณคดีเรื่อง                   ค. เสียงที่ออกเสียงได้ไม่นานและเป็นเสียง
สุภาษิตพระร่วง                                                               ไม่ก้อง
       ก. มีคติสอนใจ                                                     ง. เสียงออกเสียงมา สระสามารถเปล่งเสียงได้
       ข. เป็นวรรณคดีที่สโมสรยกย่อง                                          โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งใดช่วย
       ค. มีคําสอนสอดแทรกทุกวรรค                               ข้อที่ ๒๖. อักษรซ้ํามีความหมายตรงกับข้อใด
       ง. มีสัมผัสคล้องจองระหว่างวรรค                                      ก. คือตัวสะกดที่มีรูปสระ
มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม.๑/๑                                        ข. คือตัวสะกดที่มาจากภาษาบาลี
ข้อที่ ๒๑ .เครื่องหมายที่ใช้แทน เสียงแท้ คือข้อใด                          ค. คือตัวสะกดมีรูปต่างกันกับตัวตาม
         ก. เสียงสระ                       ข. เสียงดนตรี                   ง. คือตัวสะกดที่เหมือนกันกับตัวตาม
         ค. เสียงพยัญชนะ                   ง. เสียงวรรณยุกต์    ข้อที่ ๒๗. ข้อใดมีคําที่ประสมสระเสียงยาวมากที่สุด
ข้อที่ ๒๒ ข้อใดกล่าวถึงเสียงในภาษาไทยได้ถูกต้องที่สุด                      ก. น้ําขึ้นให้รีบตัก
         ก. เป็นเสียงที่เลียนจากธรรมชาติ                                   ข. เสื้อตัวนี้ราคาแพงมาก
         ข. เป็นเสียงที่เกิดจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา                    ค. แก้วรู้สึกเพลียเหลือเกิน
         ค. เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วสื่อความหมาย                        ง. หญิงกลืนน้ําอัดลมดังเอื๊อก
            ได้เข้าใจกัน
         ง. เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วสื่อความหมายได้เข้าใจ
            หรือไม่เข้าใจก็ได้
ข้อที่ ๒๘. ข้อใดมีคําที่ประสมสระเสียงสั้น                      ข้อที๓๓. “สมิงพระรามจึงคิดอาสาออกสู้กับกามะนีเพื่อ
                                                                     ่
           ก. คนจีนนิยมใส่เกี๊ยะ                               ตัดกาลังข้าศึก” ข้อความนี้มีคํามูลกี่คํา
           ข. กั๊กตัวเตี้ยอย่าปีนต้นไม้เลย                               ก. ๓ คํา                       ข. ๔ คํา
           ค. ก๋วยเตี๋ยวร้านนี้รสชาติดี                                  ค. ๕ คํา                       ง. ๖ คํา
           ง. มัดมี่เหนื่อยมากเผลอนอนหลับไป                    ข้อที๓๔. คําในข้อใดเป็นคําประสม
                                                                       ่
ข้อที่ ๒๙ คําในข้อใดต่อไปนี้ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์เอก                     ก. ฝีมือ                       ข. บังคม
ทั้งหมด                                                                  ค. สู้รบ                       ง. สังหาร
          ก. แตง ปาน แนว                 ข. ก่อน โปรด อิ่ม     ข้อที่ ๓๕. คําในข้อใดเป็นคําประสมทุกคํา
          ค. มีด บ้าน ชั่ง               ง. หิ้ว ง่าย ท้อง               ก. อําเภอ อาวุธ มงคล
ข้อที่ ๓๐ คําในข้อใดต่อไปนี้มีเสียงวรรณยุกต์และรูป                       ข. พ่อแม่ แก่เฒ่า ฝากไข้
วรรณยุกต์ตรงกัน                                                          ค. ผกา อังกฤษ สากล
          ก. เที่ยว ม้า ค้า                ข. หวาน เขา ถือ               ง. รถไฟ ดีใจ           คนงาน
          ค. ผ่า ข้าว เจี๊ยบ               ง. ท้อง หิ้ว ง่าย   ข้อที่ ๓๖. ลักษณะสําคัญของคําซ้อนที่ต่างจากคําประสม
มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม.๑/๒                            คือข้อใด
ข้อที่ ๓๑. คําในข้อใดเป็นคํามูล                                          ก. คําซ้อนจะต้องเป็นคําคําเดียวกัน
            ก. หน้าที่                      ข. สู้รบ                     ข. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย
            ค. ฝีมือ                        ง. สํานึก                    ค. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย
ข้อที่ ๓๒. ข้อใดเป็นคํามูลทุกคํา                                            ต่างกัน
         ก. ความรู้สึก ตั้งใจ เปลี่ยนใจ                                  ง. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย
         ข. ใคร่ครวญ ยกย่อง ช่องทาง                            คล้ายกัน
         ค. ชนะ              อาสา ตําแหน่ง                     ข้อที่ ๓๗. คําในข้อใดเป็นคําซ้อน
         ง. มิฉะนั้น หน้าที่ ตัดสินใจ                                    ก. สํานึก                    ข. ส่องแสง
                                                                         ค. เสียหาย                   ง. แสงจันทร์
                                                               ข้อที่ ๓๘. “เศรษฐกิจพอเพียงมิได้จากัดเฉพาะเกษตรกร
                                                               หรือชาวไร่ชาวนาเท่านั้น”
                                                               จากข้อความข้างต้นมีคําซ้อนกี่คํา
                                                                         ก. ๓ คํา                       ข. ๔ คํา
                                                                         ค. ๕ คํา                       ง. ๖ คํา
ข้อที่ ๓๙. คําซ้ําในข้อใดแสดงความหมายว่า เป็นพหูพจน์
         ก. ปู่ร้องแจ้เอ๊ย ๆ
         ข. ไปหาอะไรแปลก ๆ กินกัน                        ลงชื่อ…………………………………….
         ค. มันมองด้วยตาเล็ก ๆ ของมัน                           (นางสาวจันทร์เพ็ญ พานะรม)
         ง. พวกเด็ก ๆ ช่วยกันรดน้ําต้นไม้                          ผู้สอนและผู้ออกข้อสอบ
ข้อที่ ๔๐. คําซ้ําในข้อใดแสดงความหมายว่าจางลงไม่ชัดเจน
         ก. พูดอะไร ๆ บ้างซิ
         ข. ผมเคยพูดเปรย ๆ กับพ่อ                        ลงชื่อ……………………………………..
         ค. มันเดินหัวกระด๊ก ๆ ไป                                  (นายเสถียร บุตรหนองแสง)
         ง. เธอดีแต่ขอ ๆ มาตลอด                                หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

More Related Content

What's hot

นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 

What's hot (20)

นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 

Similar to ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 

Similar to ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ (20)

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
เก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนามเก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนาม
 
Thai3
Thai3Thai3
Thai3
 
1176
11761176
1176
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่  3หน่วยที่  3
หน่วยที่ 3
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
ก.พ.57
ก.พ.57ก.พ.57
ก.พ.57
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบรายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 

ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕

  • 1. โรงเรียนสามโก้วิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๕ ข้อสอบประเมินผลปลายภาค ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน เวลา ๖๐ นาที ******************************************************************** คาชี้แจง ตอนที่ ๑ ข้อสอบปรนัย เลือกตอบมี ๔ ตัวเลือก จํานวน ๔๐ ข้อ ๒๐ คะแนน ให้นักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบุเหตุและผลของ ข้อที่ ๕. “ถ้าเดินผ่านประตู จะเห็นร้านขายกาแฟอยู่ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ด้านขวามือ” ประโยคนี้มีเจตนาตามข้อใด ข้อที่ ๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ก. เจตนาแนะนํา ก. ข้อเท็จจริงเป็นการแสดงการคาดคะเน ข. แสคงความคิดเห็น ข. ข้อเท็จจริงเป็นหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้ ค. แสดงความต้องการ ค.ข้อเท็จจริง เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนเอง ง. เจตนาให้ข้อมูลแก่ผู้ฟัง ง. ข้อเท็จจริงเป็นความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล มาตรฐาน ท ๑.๑ และ มาตรฐาน ท ๕.๑ตัวชี้วัดที่ ท ๑.๑ ข้อที่ ๒. ข้อใดเป็นประโยคที่แสดงว่าเป็นข้อคิดเห็น ม.๑/๒ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑ ม.๑/๑ และ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑ ก. ฉันเบื่อที่จะอ่านข้อความยาว ๆ แบบนี้เหลือเกิน ม.๑/๒ ข. เรื่องที่มีข้อความยาว ๆ ทําให้คนอ่านใช้เวลามาก ข้อที่ ๖ “ เกิดหลงทางหรือตกอยู่ในอันตราย ก็สามารถ ค. คอมพิวเตอร์ทําให้เราติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก ใช้โทรศัพท์มือถือขอความช่วยเหลือได้ทันที ” จาก รวดเร็ว ข้อความข้างต้นใครที่เป็นคนให้เหตุผลนี้ ง. การใช้คําซ้ําที่ไม่ให้ความหมายใหม่เป็นการไม่ ก. มนัส ข. วรรณภา ประหยัด ค. ณัฐพล ง. นิตยา ข้อที่ ๓. ข้อใดเป็นประโยคที่แสดงว่าเป็นข้อเท็จจริง ข้อที่ ๗ คําที่ขีดเส้นใต้ในข้อความต่อไปนี้มีความหมาย ก. จําปีมีดอกสวยกลิ่นหอมแต่กลิ่นฉุนเกินไป ว่าอย่างไร “ มนัสทํา หน้าเป็น ใส่ปัทมาและวรรณภา ” ข. กลิ่นของมะลิหอมสดชื่นกว่ากลิ่นของกุหลาบ ก. ริษยา ข. หมั่นไส้ ค. ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอมนาหลงใหลกว่าดอก จําปี ค. ไม่สนใจ ง. หน้าตาไม่ดี ง. กุหลาบเป็นไม้พุ่ม ลําต้นและกิ่งมีหนาม ขอบใบจัก ข้อที่ ๘ ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของคําว่า “ประชาธิปไตย” ข้อที่ ๔. “ ถ้าอยากชกกันก็เชิญ ผมกาลังอยากดูมวยคู่พิเศษ ตามที่คุณครูวิภาสอนและอธิบาย อยู่พอดี ” จากข้อความนี้ผู้พูดมีความรู้สึกอย่างไร ก. การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ก. เกลียด ข. ข่มขู่ ข. การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเอง ค. ตําหนิ ง. ประชดประชัน ค. การเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันแม้จะแตกต่าง ง. ควรแสดงความคิดเห็นโต้แย้งอย่างตรงไปตรงมา
  • 2. ข้อที่ ๙ ประโยคต่อไปนี้ผู้พูดต้องการอะไร “พอก่อนๆ เด็ก ๆ ข้อที่ ๑๔. ส่วนใหญ่เนื้อหาในวรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระ อย่าให้โทรศัพท์มือถือมาทาให้เราแตกแยกกันเลย ” ร่วง มุ่งเน้นสิ่งใดเป็นสําคัญ ก. ต้องการคําตอบรับ/ปฏิเสธ ก. มุ่งสอนให้คนทําความดี ข. ต้องการแสดงความคิดเห็น ข. การเล่าถึงประวัติพระพุทธเจ้า ค. ต้องการเพื่อยุติความขัดแย้ง ค. มุ่งเน้นเกี่ยวกับนรก – สวรรค์ ง. ต้องการคําตอบที่ตนเองทราบอยู่แล้ว ง. มุ่งสอนแนวทางในการดําเนินชีวิต ข้อที่ ๑๐ ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง คิดแตกต่างแต่อยู่ร่วมกันได้คือ ข้อที่ ๑๕. ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต “ อย่าจับลิ้น ข้อใด แก่คน” คือข้อใด ก. ความคิดเห็นของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ก. อย่าพูดจาดูถูกผู้อื่น ข. ควรที่จะยึดมั่นความคิดเห็นของตัวเองเป็นหลัก ข. อย่าจับผิดคําพูดผู้อื่น ค. สอนให้รู้ว่าต้องประหยัดเพื่อออมเงินไว้ใช้ในอนาคต ค. อย่าพูดจาตลบตะแลง ง. โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์อํานวยความสะดวกได้ ง. อย่านินทาให้ร้ายผู้อื่น ทุกอย่าง ข้อที่ ๑๖. ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต“ อย่าตีปลา มาตรฐาน ท ๑.๑ และ มาตรฐาน ท ๕.๑ หน้าไซ” คือข้อใด ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๒ ตัวชี้วัดที่ ท ๕.๑ ม.๑/๑ และ ตัวชี้วัดที่ ท ก. อย่าแย่งเอาปลาในไซของผู้อื่น ๕.๑ ม.๑/๒ ข. อย่าปิดบังผลประโยชน์ของผู้อื่น ข้อที่ ๑๑ .ท่านใดคือผู้แต่งวรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระร่วง ฉบับ ค. อย่าสนใจเรื่องของผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับตนเอง ที่เรียนในภาคเรียนนี้ ง. อย่าขัดขวางผลประโยชน์ที่กําลังจะเกิดขึ้น ก. สุนทรภู่ ของผู้อื่น ข. กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ข้อที่ ๑๗. คําประพันธ์ในข้อใดที่ตรงกับปรัชญา ค. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เศรษฐกิจพอเพียงด้านการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ง. กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ก. คิดแล้วจึงเจรจา อย่านินทาผู้อื่น ข้อที่ ๑๒. วรรณคดีเรื่องสุภาษิตพระร่วง แต่งด้วยคํา ข. อย่ามักห้าวพลันแตก อย่าเข้าแบกงาช้าง ประพันธ์ประเภทใด ค. ระวังระไวที่ไปมา เมตตาตอบต่อมิตร ก. กลอนสุภาพ ข. โคลงสี่สุภาพ ง. ตนเป็นไทอย่าคบทาส อย่าประมาทท่านผู้ดี ค. กาพย์ยานี ๑๑ ง. ร่ายสุภาพจบ ด้วยโคลงสองสุภาพ ข้อที่ ๑๓. ความหมายที่ถูกต้องของคําว่า “ สุวาน” คือข้อใด ก. สุนัข ข. ยมทูต ค. พาหนะของยมทูต ง. ผู้ทําหน้าที่ บันทึกความดีความชั่วของคน
  • 3. ข้อที่ ๑๘. ข้อใดตรงกับสุภาษิตที่ว่า “ อย่าเอาพิมเสนไปแลก ข้อที่ ๒๓. ข้อใดกล่าวถึงเสียงที่มีลักษณะเป็น “ เสียงสูง กับเกลือ” ต่าในภาษาไทยทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป” ได้ ก. อย่าตีสุนัขห้ามเห่า ข้าเก่าร้ายอดเอา ถูกต้อง ข. อย่ารักเหากว่ารักผม อย่ารักลมกว่ารักน้ํา ก. เสียงสระ ข. เสียงหนักเบา ค. คนขําอย่าร่วมรัก พรรคพวกพึงทํานุ ค. เสียงวรรณยุกต์ ง. เสียงพยัญชนะ ง. สุวานขบอย่าขบตอบ อย่ากอปรจิตริษยา ข้อที่ ๒๔. ข้อใดกล่าวถึงเสียงที่มีลักษณะเป็น “ เสียงที่ ข้อที่ ๑๙.ความหมายที่ถูกต้องของสุภาษิต“ ผิจะหมายหมาย เปล่งออกมาจากลาคอ โดยกระดกไปกระทบกับอวัยวะใน จงมั่น ผิจะคั้นคั้นจงตาย ” ปาก ทาให้เสียงเปลี่ยนไปจากเดิม”ได้ถูกต้อง คือข้อใด ก. เสียงสระ ข. เสียงพยัญชนะ ก. ให้ทําอะไรทําจริง ค. เสียงอุทาน ง. เสียงวรรณยุกต์ ข.ให้เป็นคนมีเหตุผล ข้อที่ ๒๕. ข้อใดกล่าวถึงเสียงสระได้ถูกต้องที่สุด ค. ให้ตั้งใจคาดคั้นเอาความจริง ก. เสียงที่ออกเสียงได้ไม่นานแต่เป็นเสียงก้อง ง. ให้จริงใจด่วนเชื่อสิ่งที่ได้เห็นและได้ยิน ข.เสียงที่ออกเสียงได้นานแล้วเป็นเสียงไม่ก้อง ข้อที่ ๒๐. ข้อใดคือคุณค่าทางวรรณศิลป์ของวรรณคดีเรื่อง ค. เสียงที่ออกเสียงได้ไม่นานและเป็นเสียง สุภาษิตพระร่วง ไม่ก้อง ก. มีคติสอนใจ ง. เสียงออกเสียงมา สระสามารถเปล่งเสียงได้ ข. เป็นวรรณคดีที่สโมสรยกย่อง โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งใดช่วย ค. มีคําสอนสอดแทรกทุกวรรค ข้อที่ ๒๖. อักษรซ้ํามีความหมายตรงกับข้อใด ง. มีสัมผัสคล้องจองระหว่างวรรค ก. คือตัวสะกดที่มีรูปสระ มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม.๑/๑ ข. คือตัวสะกดที่มาจากภาษาบาลี ข้อที่ ๒๑ .เครื่องหมายที่ใช้แทน เสียงแท้ คือข้อใด ค. คือตัวสะกดมีรูปต่างกันกับตัวตาม ก. เสียงสระ ข. เสียงดนตรี ง. คือตัวสะกดที่เหมือนกันกับตัวตาม ค. เสียงพยัญชนะ ง. เสียงวรรณยุกต์ ข้อที่ ๒๗. ข้อใดมีคําที่ประสมสระเสียงยาวมากที่สุด ข้อที่ ๒๒ ข้อใดกล่าวถึงเสียงในภาษาไทยได้ถูกต้องที่สุด ก. น้ําขึ้นให้รีบตัก ก. เป็นเสียงที่เลียนจากธรรมชาติ ข. เสื้อตัวนี้ราคาแพงมาก ข. เป็นเสียงที่เกิดจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา ค. แก้วรู้สึกเพลียเหลือเกิน ค. เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วสื่อความหมาย ง. หญิงกลืนน้ําอัดลมดังเอื๊อก ได้เข้าใจกัน ง. เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วสื่อความหมายได้เข้าใจ หรือไม่เข้าใจก็ได้
  • 4. ข้อที่ ๒๘. ข้อใดมีคําที่ประสมสระเสียงสั้น ข้อที๓๓. “สมิงพระรามจึงคิดอาสาออกสู้กับกามะนีเพื่อ ่ ก. คนจีนนิยมใส่เกี๊ยะ ตัดกาลังข้าศึก” ข้อความนี้มีคํามูลกี่คํา ข. กั๊กตัวเตี้ยอย่าปีนต้นไม้เลย ก. ๓ คํา ข. ๔ คํา ค. ก๋วยเตี๋ยวร้านนี้รสชาติดี ค. ๕ คํา ง. ๖ คํา ง. มัดมี่เหนื่อยมากเผลอนอนหลับไป ข้อที๓๔. คําในข้อใดเป็นคําประสม ่ ข้อที่ ๒๙ คําในข้อใดต่อไปนี้ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์เอก ก. ฝีมือ ข. บังคม ทั้งหมด ค. สู้รบ ง. สังหาร ก. แตง ปาน แนว ข. ก่อน โปรด อิ่ม ข้อที่ ๓๕. คําในข้อใดเป็นคําประสมทุกคํา ค. มีด บ้าน ชั่ง ง. หิ้ว ง่าย ท้อง ก. อําเภอ อาวุธ มงคล ข้อที่ ๓๐ คําในข้อใดต่อไปนี้มีเสียงวรรณยุกต์และรูป ข. พ่อแม่ แก่เฒ่า ฝากไข้ วรรณยุกต์ตรงกัน ค. ผกา อังกฤษ สากล ก. เที่ยว ม้า ค้า ข. หวาน เขา ถือ ง. รถไฟ ดีใจ คนงาน ค. ผ่า ข้าว เจี๊ยบ ง. ท้อง หิ้ว ง่าย ข้อที่ ๓๖. ลักษณะสําคัญของคําซ้อนที่ต่างจากคําประสม มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม.๑/๒ คือข้อใด ข้อที่ ๓๑. คําในข้อใดเป็นคํามูล ก. คําซ้อนจะต้องเป็นคําคําเดียวกัน ก. หน้าที่ ข. สู้รบ ข. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย ค. ฝีมือ ง. สํานึก ค. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย ข้อที่ ๓๒. ข้อใดเป็นคํามูลทุกคํา ต่างกัน ก. ความรู้สึก ตั้งใจ เปลี่ยนใจ ง. คําที่นํามาซ้อนกันจะต้องมีความหมาย ข. ใคร่ครวญ ยกย่อง ช่องทาง คล้ายกัน ค. ชนะ อาสา ตําแหน่ง ข้อที่ ๓๗. คําในข้อใดเป็นคําซ้อน ง. มิฉะนั้น หน้าที่ ตัดสินใจ ก. สํานึก ข. ส่องแสง ค. เสียหาย ง. แสงจันทร์ ข้อที่ ๓๘. “เศรษฐกิจพอเพียงมิได้จากัดเฉพาะเกษตรกร หรือชาวไร่ชาวนาเท่านั้น” จากข้อความข้างต้นมีคําซ้อนกี่คํา ก. ๓ คํา ข. ๔ คํา ค. ๕ คํา ง. ๖ คํา
  • 5. ข้อที่ ๓๙. คําซ้ําในข้อใดแสดงความหมายว่า เป็นพหูพจน์ ก. ปู่ร้องแจ้เอ๊ย ๆ ข. ไปหาอะไรแปลก ๆ กินกัน ลงชื่อ……………………………………. ค. มันมองด้วยตาเล็ก ๆ ของมัน (นางสาวจันทร์เพ็ญ พานะรม) ง. พวกเด็ก ๆ ช่วยกันรดน้ําต้นไม้ ผู้สอนและผู้ออกข้อสอบ ข้อที่ ๔๐. คําซ้ําในข้อใดแสดงความหมายว่าจางลงไม่ชัดเจน ก. พูดอะไร ๆ บ้างซิ ข. ผมเคยพูดเปรย ๆ กับพ่อ ลงชื่อ…………………………………….. ค. มันเดินหัวกระด๊ก ๆ ไป (นายเสถียร บุตรหนองแสง) ง. เธอดีแต่ขอ ๆ มาตลอด หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย