SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Financial System in Industrial Enterprise ครั้งที่  4 ดร . ธรรมรัตน์  พลอยเพ็ชร์
คลื่นลูกที่  5  ปราชญ์สังคม คลื่นลูกที่  4  สังคมความรู้ คลื่นลูกที่  3  สังคมแห่งเทคโนโลยี่ คลื่นลูกที่  2  สังคมอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่  1  สังคมเกษตรกรรม ขยัน ฉลาด
ความสามารถในการประสานประโยชน์ วัตถุประสงค์องค์กร วัตถุประสงค์ส่วนตัว win&win
กรอบการใช้อำนาจของ “ผู้นำ” พระเดช พระคุณ อำนาจหน้าที่ อำนาจบารมี
มืออาชีพ เก่งคน เก่งงาน เก่งคิด ระดับล่าง ระดับเดียวกัน ระดับสูง มือถึง ใจถึง
แนวคิดเรื่ององค์การและการจัดการ องค์การ   คือ  กระบวนการของโครงสร้างซึ่งมีบุคคลหลาย ๆ คน ร่วมกันทำงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน
แนวคิดเรื่ององค์การและการจัดการ BARNARD   กล่าวว่า  บุคคลย่อมมีข้อจำกัด  2  ประการ ข้อจำกัดทางด้านร่างกาย ข้อจำกัดทางด้านสิ่งแวดล้อม
แนวคิดเรื่ององค์การและการจัดการ องค์การจึงจัดตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของบุคคล เพื่อเอาชนะข้อจำกัดดังกล่าว  ก่อให้เกิด การเพิ่มขีดความสามารถ ประหยัดเวลา ร่วมกันคิดอ่าน
ประเภทขององค์การ   1.  องค์การแบบปฐมภูมิ  ( PRIMARY ORGANIZATION )  2.  องค์การแบบทุติยภูมิ  ( SECONDARY ORGANIZATION ) องค์การแบบปฐมภูมิ  ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การแนบแน่น  ได้แก่ ครอบครัว องค์การแบบทุติยภูมิ  ความสัมพันธ์แบบมีเหตุมีผล  มีกฎระเบียบ  แยกเป็น   องค์กรแบบเป็นทางการ  ( FORMAL  ORGANIZATION)   องค์กรแบบไม่เป็นทางการ  ( INFORMAL  ORGANIZATION)
ข้อสังเกตุ องค์การแบบเป็นทางการ  ( FORMAL  ORGANIZATION) โครงสร้างชัดเจน อธิบายสายการบังคับบัญชาอย่างชัดเจน กำหนดหน้าที่ และ ความรับผิดชอบชัดเจน ดำรงอยู่ถาวร
ทฤษฎีองค์การ   คือ  การศึกษาเกี่ยวกับองค์การ ในเรื่องโครงสร้างและการจัดการองค์การ  โครงสร้างองค์การ  แบ่งเป็น  3  ยุค  ได้แก่  ยุค  CLASSIC ยุค   NEO- CLASSIC ยุค   MODERN
ยุค  CLASSIC   แนวความคิด  มุ่งประสิทธิภาพของงาน  การประหยัด เพื่อให้เกิดกำไรสูงสุด  โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของคน   ลักษณะขององค์การ จะมุ่งเน้น  2  ประการ เน้นการจัดโครงสร้างอาค์การที่เหมาะสม   เน้นการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],TOP DOWN
2.  เน้นการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์  (SCIENTIFIE  MANAGEMENT)     มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง  เพื่อปรับปรุงการทำงาน โดย มุ่งหวังชิ้นงาน และผลกำไร จึงเป็นเหตุให้มีการนำเครื่องจักร มาทำงานแทนคนเพิ่มขึ้น  ( ONE BEST WAY) 3.  นักการจัดการในยุคนี้  ได้แก่ TAYLOR GULICK & URWICK FAYAO
แนวคิดเรื่องการจัดการ องค์การ จะมีประสิทธิภาพ  ปัจจัยหนึ่งคือ  มีหลักการจัดการที่ดี   นักการจัดการในยุค  CLASSIC   (  มุ่งเน้นงาน )   TAYLOR GULICK & URWICK  *P O S D C O R B* FAYAO PRINCIPLE OF MANAGEMENT
GULICK & URWICK  *P O S D C O R B* PLANING   แผนดี ขึ้นอยู่กับ…  ข้อมูลในอดีต  การวินิจฉัยในปัจจุบัน  การคาดการณ์อนาคต ขั้นตอนปฏิบัติ  กำหนดวัตถุประสงค์  คา ด การณ์สถานการณ์  กำหนดวิธีปฏิบัติ
ORGANIZING  คือ  การจัดแบ่งงานโดยพิจารณา ความสัมพันธ์ของงาน และสายการบังคับบัญชาในองค์กร STAFFING  สรุปขั้นตอนดังนี้  วางแผนกำลังคน  แสวงหา  คัดเลือก  ปฐมนิเทศน์ ฝึกอบรม   ประเมินผล  จ่ายค่าตอบแทน  รักษาประสิทธิภาพการทำงาน
DIRECTING ผู้นำ ต้องใช้ศิลป ในการจูงใจให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี   CO-ORDINATION  การประสานงาน &  การ ประสานประโยชน์ REPORTING การรายงานผล BUDGETING การจัดทำงบประมาณ
FAYAO PRINCIPLE OF MANAGEMENT 1.  หลักการแบ่งงาน  (DIVISION OF WORK)     นักเศรษฐศาสตร์เรียกหลักการนี้ว่า  “ ความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง” PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB.
2.  การมอบอำนาจและความรับผิดชอบ   อำนาจหน้าที่  AUTHORITY  อำนาจตามตำแหน่งหน้าที่   อำนาจบารมี  POWER   อำนาจที่มิได้เกิดขึ้นจากตำแหน่งหน้าที่
3.  การมีระเบียบวินัย  (DISCIPLINE) 4.  เอกภาพในการบังคับบัญชา  (UNITY OF COMMAND) 5.  เอกภาพในการอำนวยการ  (UNITY OF DIRECTION)   *****   เป้าหมายของธุรกิจ ควรมีเพียงอย่างเดียวและมุ่งดำเนินการให้สำเร็จตามเป้าหมายนั้น   *****
6.  ประโยชน์ส่วนบุคคล เป็นรองประโยชน์ส่วนรวม  (SUBORDINATION OF INDIVIDUAL INTEREST TO GENERAL INTEREST) 7.  การให้ผลตอบแทนต่อสมาชิกขององค์กร (REMUNERATION OF PERSONNEL) 8.  การรวมอำนาจ  (CENTRALIZATION) 9.  การจัดสายการบังคับบัญชา  (SCALAR CHAIN)
10.  ระเบียบ  และ  คำสั่ง  (ORDER) 11.  ความเสมอภาค  (EQUITY) 12.  ความมั่นคงในการทำงาน  (STABILITY) 13.  ความคิดริเริ่ม  (INITIATIVE) 14.  ความสามัคคี  (ESPRIT DE CORPS)
การประยุกต์ใช้ ใช้กับองค์การขนาดใหญ่  (WEBER) ใช้กับระบบราชการ  (BUREACRACY) ใช้กับองค์การที่ไม่ใช้แรงงานที่มีฝีมือ
ยุค   NEO- CLASSIC   แนวความคิด  มุ่งประสิทธิภาพของงาน  การประหยัด  แต่ ให้ความสำคัญต่อความรู้สึกของคน   1.  การจัดโครงสร้างองค์การในยุคนี้   ได้แก่ จัดโครงสร้างองค์การในแนวราบ  (FLAT ORGANIZATION) สั่งงานแบบ  BUTTOM - UP เน้นการทำงานเป็นทีม  (PARTICIPATION) UP BUTTOM
ตัวอย่าง แนวคิดยุค  Neo-Classic  ( เน้นการทำงานเป็นทีม )   นาย ก  5 ล .   นาย ข  4 ล .   นาย ค   3 ล .   นาย ง  2 ล .   นาย จ   1 ล . เป้าหมายปีที่แล้ว  15  ล . เป้าหมายปีนี้  30  ล .
2.  นักการจัดการในยุคนี้   ได้แก่   MAYO   MASLOW   MCGRAGOR   HURBURG   BERNARD
นักการจัดการในยุค  NEO CLASSIC   (  มุ่งเน้นคน )   MAYO     *  คนต้องการสังคมและเพื่อน  * MASLOW  HIERACHY OF NEEDS MCGREGOR  ทฤษฎี  X & Y HURZBURG  TWO – FACTORS ***  ในยุคนี้ เกิดศาสตร์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ขึ้นมากมาย เช่น จิตวิทยา  สังคมวิทยา มานุษยวิทยา   ***
MASLOW HIERACHY OF NEEDS 5 4 3 2 1 ความต้องการทางร่างกาย ความต้องการความมั่นคง ความต้องการความรัก ความต้องการชื่อเสียง ความต้องการความสมหวัง
HURZBURG  ทฤษฎี  TWO-FACTORS ปัจจัยที่ทำให้พนักงานมีความรู้สึกพอใจและไม่พอใจในการทำงาน แบ่งได้ดังนี้ 1.  HYGINE  FACTOR     ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรู้สึกทางลบหากกิจการไม่จัดให้แต่หากจัดให้กับมีความรู้สึกเฉย ๆ ได้แก่  ค่าจ้าง เงินเดือน  สภาพการทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานด้วยกัน  และผู้บังคับบัญชา
2. MOTIVATIVE  FACTOR   ปัจจัยที่ก่อให้เกิ ด ความรู้สึกทางบวกหากกิจการจัดให้ ได้แก่  ความสำเร็จในการทำงาน การให้ความสำคัญ ลักษณะของงาน ความก้าวหน้า
DOGLAS  MCGREGOR  ทฤษฎี  X & Y กล่าวว่า ผู้บริหารจะมองพฤติกรรมของผู้ใต้บังคับ บัญชาเป็น  2  ประเภท 1.  ผู้ที่อยู่ในทฤษฎี  X   จะมีลักษณะดังนี้ เป็นผู้ที่ไม่ชอบทำงาน ต้องได้รับการบังคับ  ข่มขู่  สั่งการ  ควบคุม  จึงจะยอมปฏิบัติงาน ไม่ทะเยอทะยาน
2.  ผู้ที่อยู่ในทฤษฎี  Y   จะมีลักษณะดังนี้ พอใจทำงาน ถ้ามีสภาพการณ์เหมาะสม ทำงานด้วยจิตสำนึก ผลตอบแทนของการทำงานที่ต้องการ คือ  ความสำเร็จ  และคำชมเชย แสวงหาความรับผิดชอบ มีความคิดอ่าน
การประยุกต์ใช้ ใช้กับองค์การที่ต้องการแรงงานที่มีฝีมือระดับสูง ใช้กับองค์การที่ไม่มีการแข่งขันกับองค์การต่างชาติในอัตราที่สูง
ยุค   MODERN   แนวความคิด  มุ่งความอยู่รอด และพัฒนาองค์กรใหม่  โดยการปรับองค์กรให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม การจัดโครงสร้างองค์การในยุคนี้   ได้แก่ ปรับโครงสร้างองค์การแบบผสมผสาน ปรับคน (HUMAN RESOUCE  DEVELOPMENT)   โดยการพัฒนาคนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม  สร้างขวัญและกำลังใจ เพื่อให้คนดี มีความสามารถอยู่กับองค์การ
นักการจัดการในยุคนี้   ได้แก่   MICHAEL E. PORTER   PHILLIP KOTLER
การประยุกต์ใช้ ใช้กับองค์การที่ต้องเผชิญกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงเสมอ ใช้กับองค์การที่มีการแข่งขันกับองค์การต่างชาติในอัตราที่สูง
THE MANAGEMENT SKILL TOP CONCEPTUAL   HUMAN  TECHNICAL FIRST MIDDLE
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก (MANAGEMENT BY OBJECTIVES :MBO) ไม่มีบุคคลใด ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม  โดยปราศจากการกำหนดวัตถุประสงค์ เน้นการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ  ประสิทธิผล เน้นเรื่องความสำคัญเกี่ยวกับเป้าหมายขององค์การ และประสานเป้าหมายของปัจเจกบุคคลที่อยู่ในองค์การ เข้าด้วยกัน
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก (MANAGEMENT BY OBJECTIVES :MBO) วัตถุประสงค์นั้น มีผลดีแก่กิจการดังนี้ 1.  มีเอกภาพด้านการวางแผน 2.  เป็นวิธีการที่นำไปสู่การกระจายอำนาจ 3.  กระตุ้นให้เกิดการจูงใจในการทำงาน 4.  เป็นเครื่องมือในการควบคุม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม (PARTICIPATIVE MANAGEMENT : PM) กำเนิดขึ้นหลังจากปฏิวัติอุตสาหกรรม ให้ความสำคัญของความคิดเห็นของทุกคนในการ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ จึงเป็นหลักการ ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของ พนักงาน ในด้านความ สมหวังของชีวิตและความความเชื่อถือ ซึ่งเป็นความ ต้องการสูงสุด ในลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎี  Z  (THEORY  Z) เกิดจากผลกระทบระหว่างระบบการบริหารธุรกิจ แบบญี่ปุ่นกับการบริหารธุรกิจ แบบอเมริกัน ความเป็นมาของทฤษฎี  Z   หลังสงครามโลกครั้งที่  2  ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ของญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก  แต่ขณะเดียวกัน ผลผลิตทางอุตสาหกรรมของอเมริกากลับ เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศ ต่าง ๆ ในยุโรป
WILLIAM G. OUCHI  ได้ทำการศึกษา เพื่อความ อยู่รอดของธุรกิจต่าง ๆ ในอเมริกา การศึกษาทำเป็น  2  ขั้นตอน   ขั้นตอนที่  1   ทำการศึกษา โดยเปรียบเทียบโครงสร้าง ของระบบบริหารแบบญี่ปุ่น และอเมริกา ว่ามีความแตกต่าง อย่างไร จึงทำให้ประสิทธิภาพแตกต่างกัน  ขั้นตอนที่  2   ทำการศึกษาบริษัทที่สำคัญ ๆ ในอเมริกา  เพื่อค้นหาว่าจะนำสิ่งที่เรียนรู้จากระบบญี่ปุ่นมาใช้  ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
จากการศึกษาพบว่า ในเรื่องของโครงสร้างไม่มีความ แตกต่างกัน คือมีเจ้าหน้าที่ที่มีตำแหน่งต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน  และไม่ค่อยตั้งผู้บริหารระดับสูงเป็นคนในชาติของตน  แต่ลักษณะการบริหารมีความแตกต่างกันดังนี้ ลักษณะการบริหาร   ระบบญี่ปุ่น   ระบบอเมริกา 1.  ระยะเวลาการจ้างงาน   มีการจ้างงานตลอด   ไม่จำกัดเวลา ชีวิต  พนง . ที่ลาออก   ย้ายงานบ่อย มักหางานทำใหม่ยาก   ยิ่งผ่านงานมาก   ยิ่งมีประสบการณ์
ลักษณะการบริหาร ระบบญี่ปุ่น ระบบอเมริกา 2.  การประเมินและ ในเวลา  10  ปี การประเมินเลื่อน เลื่อนตำแหน่ง ไม่มีการประเมิน ขั้น / ตำแหน่ง ไม่ เลื่อนขั้น / ตำแหน่ง อยู่ที่เงื่อนไขเวลา 3.  ลักษณะงานอาชีพ เรียนรู้ทุกด้านของงาน ส่งเสริมให้เชี่ยวชาญ เพื่อรู้ภาพรวมของกิจการ   เฉพาะด้าน 4.  การตัดสินใจ ทุกคนมีส่วนร่วม ผู้บริหารระดับสูง 5.  การประเมินผลงาน ไม่ประเมินเป็นรายคน   ประเมินผลงานแต่ละคน 6.  มนุษย์สัมพันธ์ ทำงานร่วมกันเหมือน ความสัมพันธ์มีเฉพาะ ในองค์กร ครอบครัวใหญ่ ส่วนที่ทำงานร่วมกัน 7.  ความรับผิดชอบ รับผิดชอบร่วมกัน   แต่ละคนรับผิดชอบเฉพาะ ทั้งองค์กร หน้าที่ของตนเท่านั้น
บริษัทในอเมริกา ได้พัฒนาระบบการบริหารงานคล้าย ระบบญี่ปุ่น แต่มีการดัดแปลงเข้ากับสภาพของสังคมอเมริกา  และเรียกว่า “ระบบการ บริหารแบบ  Z” ลักษณะที่สำคัญของ  THEORY Z 1.  ระยะเวลาการจ้างงาน เป็นไปตลอดชีวิต 2.  การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง ไม่ต้องรอระยะเวลา  10  ปี 3.  ลักษณะงานอาชีพ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้หลาย ๆ ด้าน 4.  การบริหาร ใช้ระบบ  MBO   5.  การตัดสินใจ มีทั้งระบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ 6.  การทำงานและมนุษย์ มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง  และมีเสรีภาพ สัมพันธ์ในองค์กร เท่าเทียมกัน
การจัดโครงสร้างองค์การของธุรกิจ รูปแบบของโครงสร้างองค์การ การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์ การจัดโครงสร้างองค์การโดยพิจารณาพื้นที่ การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้าที่ การจัดโครงสร้างแบบผสม การจัดโครงสร้างแบบ  Matrix
การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์  ( Product Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด อินโดนีเซีย ฝ . บริหารทั่วไป ฝ . การตลาด ฝ . สัมพันธ์ วปท . ฝ่ายสินค้า  A ฝ่ายสินค้า  B ฝ่ายสินค้า  C ฝ่ายสินค้า  D   นิวซีแลนด์
การจัดโครงสร้างโดยพิจารณาจากพื้นที่  ( Area Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด อเมริกาเหนือ สินค้า  A สินค้า  B สินค้า  C เกาหลี ไทย ยุโรป นิวซีแลนด์  เอเชีบ
การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้าที่  ( Function Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด ภายในประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ต่างประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ภายในประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ต่างประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E
  การจัดโครงสร้างแบบผสม ( Mix  Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด ประธานเขต เอเชีย บริษัทในเครือ  1 ประธานผลิตภัณฑ์ A ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย  ประธานผลิตภัณฑ์ C ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย  ประธานผลิตภัณฑ์ B ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย  บริษัทในเครือ  2 บริษัทในเครือ  1 บริษัทในเครือ  2
การจัดโครงสร้างองค์การแบบ  Matrix  ( Matrix Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด สินค้า  A สินค้า  B ยุโรป นิวซีแลนด์  เอเชีบ
ปัญหาที่แก้ไขยาก 1.  ผู้แก้ปัญหานั่งทับปัญหา 2.  ปัญหาใต้น้ำ 3. ไม่สามารถค้นพบปัญหาที่แท้จริง ปัญหา คืออะไร?

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedไพรวัล ดวงตา
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการchonlataz
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การwanna2728
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 

What's hot (20)

Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการ
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 

Viewers also liked

Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
U 4.1 ob bba-ii organization power & structure
U 4.1 ob bba-ii organization power & structureU 4.1 ob bba-ii organization power & structure
U 4.1 ob bba-ii organization power & structureRai University
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 

Viewers also liked (7)

Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
(Organization)
(Organization)(Organization)
(Organization)
 
U 4.1 ob bba-ii organization power & structure
U 4.1 ob bba-ii organization power & structureU 4.1 ob bba-ii organization power & structure
U 4.1 ob bba-ii organization power & structure
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 

Similar to หลักการบริหาร

Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theoryKan Yuenyong
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfOKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfmaruay songtanin
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfPhatchaRee5
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

Similar to หลักการบริหาร (20)

Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theory
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfOKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdf
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Peter drucker
Peter druckerPeter drucker
Peter drucker
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
29 leadership secrets
29 leadership secrets29 leadership secrets
29 leadership secrets
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
High performance culture
High performance cultureHigh performance culture
High performance culture
 
Performance leadership
Performance leadershipPerformance leadership
Performance leadership
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
Managing oneself
Managing oneselfManaging oneself
Managing oneself
 

More from คนหลังห้อง ริมขวา (6)

Comprehensive bm603 [โหมดความเข้ากันได้]
Comprehensive bm603 [โหมดความเข้ากันได้]Comprehensive bm603 [โหมดความเข้ากันได้]
Comprehensive bm603 [โหมดความเข้ากันได้]
 
วิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงินวิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงิน
 
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจPเกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
 
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์การวางแผนเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
 
New mobile kitchen(1)
New mobile kitchen(1)New mobile kitchen(1)
New mobile kitchen(1)
 
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงินBM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
 

หลักการบริหาร

  • 1. Financial System in Industrial Enterprise ครั้งที่ 4 ดร . ธรรมรัตน์ พลอยเพ็ชร์
  • 2. คลื่นลูกที่ 5 ปราชญ์สังคม คลื่นลูกที่ 4 สังคมความรู้ คลื่นลูกที่ 3 สังคมแห่งเทคโนโลยี่ คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม ขยัน ฉลาด
  • 4. กรอบการใช้อำนาจของ “ผู้นำ” พระเดช พระคุณ อำนาจหน้าที่ อำนาจบารมี
  • 5. มืออาชีพ เก่งคน เก่งงาน เก่งคิด ระดับล่าง ระดับเดียวกัน ระดับสูง มือถึง ใจถึง
  • 6. แนวคิดเรื่ององค์การและการจัดการ องค์การ คือ กระบวนการของโครงสร้างซึ่งมีบุคคลหลาย ๆ คน ร่วมกันทำงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน
  • 7. แนวคิดเรื่ององค์การและการจัดการ BARNARD กล่าวว่า บุคคลย่อมมีข้อจำกัด 2 ประการ ข้อจำกัดทางด้านร่างกาย ข้อจำกัดทางด้านสิ่งแวดล้อม
  • 9. ประเภทขององค์การ 1. องค์การแบบปฐมภูมิ ( PRIMARY ORGANIZATION ) 2. องค์การแบบทุติยภูมิ ( SECONDARY ORGANIZATION ) องค์การแบบปฐมภูมิ ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การแนบแน่น ได้แก่ ครอบครัว องค์การแบบทุติยภูมิ ความสัมพันธ์แบบมีเหตุมีผล มีกฎระเบียบ แยกเป็น องค์กรแบบเป็นทางการ ( FORMAL ORGANIZATION) องค์กรแบบไม่เป็นทางการ ( INFORMAL ORGANIZATION)
  • 10. ข้อสังเกตุ องค์การแบบเป็นทางการ ( FORMAL ORGANIZATION) โครงสร้างชัดเจน อธิบายสายการบังคับบัญชาอย่างชัดเจน กำหนดหน้าที่ และ ความรับผิดชอบชัดเจน ดำรงอยู่ถาวร
  • 11. ทฤษฎีองค์การ คือ การศึกษาเกี่ยวกับองค์การ ในเรื่องโครงสร้างและการจัดการองค์การ โครงสร้างองค์การ แบ่งเป็น 3 ยุค ได้แก่ ยุค CLASSIC ยุค NEO- CLASSIC ยุค MODERN
  • 12. ยุค CLASSIC แนวความคิด มุ่งประสิทธิภาพของงาน การประหยัด เพื่อให้เกิดกำไรสูงสุด โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของคน ลักษณะขององค์การ จะมุ่งเน้น 2 ประการ เน้นการจัดโครงสร้างอาค์การที่เหมาะสม เน้นการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
  • 13.
  • 14. 2. เน้นการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIE MANAGEMENT) มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เพื่อปรับปรุงการทำงาน โดย มุ่งหวังชิ้นงาน และผลกำไร จึงเป็นเหตุให้มีการนำเครื่องจักร มาทำงานแทนคนเพิ่มขึ้น ( ONE BEST WAY) 3. นักการจัดการในยุคนี้ ได้แก่ TAYLOR GULICK & URWICK FAYAO
  • 15. แนวคิดเรื่องการจัดการ องค์การ จะมีประสิทธิภาพ ปัจจัยหนึ่งคือ มีหลักการจัดการที่ดี นักการจัดการในยุค CLASSIC ( มุ่งเน้นงาน ) TAYLOR GULICK & URWICK *P O S D C O R B* FAYAO PRINCIPLE OF MANAGEMENT
  • 16. GULICK & URWICK *P O S D C O R B* PLANING แผนดี ขึ้นอยู่กับ… ข้อมูลในอดีต การวินิจฉัยในปัจจุบัน การคาดการณ์อนาคต ขั้นตอนปฏิบัติ กำหนดวัตถุประสงค์ คา ด การณ์สถานการณ์ กำหนดวิธีปฏิบัติ
  • 17. ORGANIZING คือ การจัดแบ่งงานโดยพิจารณา ความสัมพันธ์ของงาน และสายการบังคับบัญชาในองค์กร STAFFING สรุปขั้นตอนดังนี้ วางแผนกำลังคน แสวงหา คัดเลือก ปฐมนิเทศน์ ฝึกอบรม ประเมินผล จ่ายค่าตอบแทน รักษาประสิทธิภาพการทำงาน
  • 18. DIRECTING ผู้นำ ต้องใช้ศิลป ในการจูงใจให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี CO-ORDINATION การประสานงาน & การ ประสานประโยชน์ REPORTING การรายงานผล BUDGETING การจัดทำงบประมาณ
  • 19. FAYAO PRINCIPLE OF MANAGEMENT 1. หลักการแบ่งงาน (DIVISION OF WORK) นักเศรษฐศาสตร์เรียกหลักการนี้ว่า “ ความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง” PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB.
  • 20. 2. การมอบอำนาจและความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ AUTHORITY อำนาจตามตำแหน่งหน้าที่ อำนาจบารมี POWER อำนาจที่มิได้เกิดขึ้นจากตำแหน่งหน้าที่
  • 21. 3. การมีระเบียบวินัย (DISCIPLINE) 4. เอกภาพในการบังคับบัญชา (UNITY OF COMMAND) 5. เอกภาพในการอำนวยการ (UNITY OF DIRECTION) ***** เป้าหมายของธุรกิจ ควรมีเพียงอย่างเดียวและมุ่งดำเนินการให้สำเร็จตามเป้าหมายนั้น *****
  • 22. 6. ประโยชน์ส่วนบุคคล เป็นรองประโยชน์ส่วนรวม (SUBORDINATION OF INDIVIDUAL INTEREST TO GENERAL INTEREST) 7. การให้ผลตอบแทนต่อสมาชิกขององค์กร (REMUNERATION OF PERSONNEL) 8. การรวมอำนาจ (CENTRALIZATION) 9. การจัดสายการบังคับบัญชา (SCALAR CHAIN)
  • 23. 10. ระเบียบ และ คำสั่ง (ORDER) 11. ความเสมอภาค (EQUITY) 12. ความมั่นคงในการทำงาน (STABILITY) 13. ความคิดริเริ่ม (INITIATIVE) 14. ความสามัคคี (ESPRIT DE CORPS)
  • 24. การประยุกต์ใช้ ใช้กับองค์การขนาดใหญ่ (WEBER) ใช้กับระบบราชการ (BUREACRACY) ใช้กับองค์การที่ไม่ใช้แรงงานที่มีฝีมือ
  • 25. ยุค NEO- CLASSIC แนวความคิด มุ่งประสิทธิภาพของงาน การประหยัด แต่ ให้ความสำคัญต่อความรู้สึกของคน 1. การจัดโครงสร้างองค์การในยุคนี้ ได้แก่ จัดโครงสร้างองค์การในแนวราบ (FLAT ORGANIZATION) สั่งงานแบบ BUTTOM - UP เน้นการทำงานเป็นทีม (PARTICIPATION) UP BUTTOM
  • 26. ตัวอย่าง แนวคิดยุค Neo-Classic ( เน้นการทำงานเป็นทีม ) นาย ก 5 ล . นาย ข 4 ล . นาย ค 3 ล . นาย ง 2 ล . นาย จ 1 ล . เป้าหมายปีที่แล้ว 15 ล . เป้าหมายปีนี้ 30 ล .
  • 27. 2. นักการจัดการในยุคนี้ ได้แก่ MAYO MASLOW MCGRAGOR HURBURG BERNARD
  • 28. นักการจัดการในยุค NEO CLASSIC ( มุ่งเน้นคน ) MAYO * คนต้องการสังคมและเพื่อน * MASLOW HIERACHY OF NEEDS MCGREGOR ทฤษฎี X & Y HURZBURG TWO – FACTORS *** ในยุคนี้ เกิดศาสตร์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ขึ้นมากมาย เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ***
  • 29. MASLOW HIERACHY OF NEEDS 5 4 3 2 1 ความต้องการทางร่างกาย ความต้องการความมั่นคง ความต้องการความรัก ความต้องการชื่อเสียง ความต้องการความสมหวัง
  • 30. HURZBURG ทฤษฎี TWO-FACTORS ปัจจัยที่ทำให้พนักงานมีความรู้สึกพอใจและไม่พอใจในการทำงาน แบ่งได้ดังนี้ 1. HYGINE FACTOR ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรู้สึกทางลบหากกิจการไม่จัดให้แต่หากจัดให้กับมีความรู้สึกเฉย ๆ ได้แก่ ค่าจ้าง เงินเดือน สภาพการทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานด้วยกัน และผู้บังคับบัญชา
  • 31. 2. MOTIVATIVE FACTOR ปัจจัยที่ก่อให้เกิ ด ความรู้สึกทางบวกหากกิจการจัดให้ ได้แก่ ความสำเร็จในการทำงาน การให้ความสำคัญ ลักษณะของงาน ความก้าวหน้า
  • 32. DOGLAS MCGREGOR ทฤษฎี X & Y กล่าวว่า ผู้บริหารจะมองพฤติกรรมของผู้ใต้บังคับ บัญชาเป็น 2 ประเภท 1. ผู้ที่อยู่ในทฤษฎี X จะมีลักษณะดังนี้ เป็นผู้ที่ไม่ชอบทำงาน ต้องได้รับการบังคับ ข่มขู่ สั่งการ ควบคุม จึงจะยอมปฏิบัติงาน ไม่ทะเยอทะยาน
  • 33. 2. ผู้ที่อยู่ในทฤษฎี Y จะมีลักษณะดังนี้ พอใจทำงาน ถ้ามีสภาพการณ์เหมาะสม ทำงานด้วยจิตสำนึก ผลตอบแทนของการทำงานที่ต้องการ คือ ความสำเร็จ และคำชมเชย แสวงหาความรับผิดชอบ มีความคิดอ่าน
  • 35. ยุค MODERN แนวความคิด มุ่งความอยู่รอด และพัฒนาองค์กรใหม่ โดยการปรับองค์กรให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม การจัดโครงสร้างองค์การในยุคนี้ ได้แก่ ปรับโครงสร้างองค์การแบบผสมผสาน ปรับคน (HUMAN RESOUCE DEVELOPMENT) โดยการพัฒนาคนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม สร้างขวัญและกำลังใจ เพื่อให้คนดี มีความสามารถอยู่กับองค์การ
  • 36. นักการจัดการในยุคนี้ ได้แก่ MICHAEL E. PORTER PHILLIP KOTLER
  • 38. THE MANAGEMENT SKILL TOP CONCEPTUAL HUMAN TECHNICAL FIRST MIDDLE
  • 39. การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก (MANAGEMENT BY OBJECTIVES :MBO) ไม่มีบุคคลใด ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม โดยปราศจากการกำหนดวัตถุประสงค์ เน้นการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล เน้นเรื่องความสำคัญเกี่ยวกับเป้าหมายขององค์การ และประสานเป้าหมายของปัจเจกบุคคลที่อยู่ในองค์การ เข้าด้วยกัน
  • 40. การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก (MANAGEMENT BY OBJECTIVES :MBO) วัตถุประสงค์นั้น มีผลดีแก่กิจการดังนี้ 1. มีเอกภาพด้านการวางแผน 2. เป็นวิธีการที่นำไปสู่การกระจายอำนาจ 3. กระตุ้นให้เกิดการจูงใจในการทำงาน 4. เป็นเครื่องมือในการควบคุม
  • 41. การบริหารแบบมีส่วนร่วม (PARTICIPATIVE MANAGEMENT : PM) กำเนิดขึ้นหลังจากปฏิวัติอุตสาหกรรม ให้ความสำคัญของความคิดเห็นของทุกคนในการ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ จึงเป็นหลักการ ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของ พนักงาน ในด้านความ สมหวังของชีวิตและความความเชื่อถือ ซึ่งเป็นความ ต้องการสูงสุด ในลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์
  • 42. ทฤษฎี Z (THEORY Z) เกิดจากผลกระทบระหว่างระบบการบริหารธุรกิจ แบบญี่ปุ่นกับการบริหารธุรกิจ แบบอเมริกัน ความเป็นมาของทฤษฎี Z หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ของญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก แต่ขณะเดียวกัน ผลผลิตทางอุตสาหกรรมของอเมริกากลับ เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศ ต่าง ๆ ในยุโรป
  • 43. WILLIAM G. OUCHI ได้ทำการศึกษา เพื่อความ อยู่รอดของธุรกิจต่าง ๆ ในอเมริกา การศึกษาทำเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ทำการศึกษา โดยเปรียบเทียบโครงสร้าง ของระบบบริหารแบบญี่ปุ่น และอเมริกา ว่ามีความแตกต่าง อย่างไร จึงทำให้ประสิทธิภาพแตกต่างกัน ขั้นตอนที่ 2 ทำการศึกษาบริษัทที่สำคัญ ๆ ในอเมริกา เพื่อค้นหาว่าจะนำสิ่งที่เรียนรู้จากระบบญี่ปุ่นมาใช้ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
  • 44. จากการศึกษาพบว่า ในเรื่องของโครงสร้างไม่มีความ แตกต่างกัน คือมีเจ้าหน้าที่ที่มีตำแหน่งต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน และไม่ค่อยตั้งผู้บริหารระดับสูงเป็นคนในชาติของตน แต่ลักษณะการบริหารมีความแตกต่างกันดังนี้ ลักษณะการบริหาร ระบบญี่ปุ่น ระบบอเมริกา 1. ระยะเวลาการจ้างงาน มีการจ้างงานตลอด ไม่จำกัดเวลา ชีวิต พนง . ที่ลาออก ย้ายงานบ่อย มักหางานทำใหม่ยาก ยิ่งผ่านงานมาก ยิ่งมีประสบการณ์
  • 45. ลักษณะการบริหาร ระบบญี่ปุ่น ระบบอเมริกา 2. การประเมินและ ในเวลา 10 ปี การประเมินเลื่อน เลื่อนตำแหน่ง ไม่มีการประเมิน ขั้น / ตำแหน่ง ไม่ เลื่อนขั้น / ตำแหน่ง อยู่ที่เงื่อนไขเวลา 3. ลักษณะงานอาชีพ เรียนรู้ทุกด้านของงาน ส่งเสริมให้เชี่ยวชาญ เพื่อรู้ภาพรวมของกิจการ เฉพาะด้าน 4. การตัดสินใจ ทุกคนมีส่วนร่วม ผู้บริหารระดับสูง 5. การประเมินผลงาน ไม่ประเมินเป็นรายคน ประเมินผลงานแต่ละคน 6. มนุษย์สัมพันธ์ ทำงานร่วมกันเหมือน ความสัมพันธ์มีเฉพาะ ในองค์กร ครอบครัวใหญ่ ส่วนที่ทำงานร่วมกัน 7. ความรับผิดชอบ รับผิดชอบร่วมกัน แต่ละคนรับผิดชอบเฉพาะ ทั้งองค์กร หน้าที่ของตนเท่านั้น
  • 46. บริษัทในอเมริกา ได้พัฒนาระบบการบริหารงานคล้าย ระบบญี่ปุ่น แต่มีการดัดแปลงเข้ากับสภาพของสังคมอเมริกา และเรียกว่า “ระบบการ บริหารแบบ Z” ลักษณะที่สำคัญของ THEORY Z 1. ระยะเวลาการจ้างงาน เป็นไปตลอดชีวิต 2. การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง ไม่ต้องรอระยะเวลา 10 ปี 3. ลักษณะงานอาชีพ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้หลาย ๆ ด้าน 4. การบริหาร ใช้ระบบ MBO 5. การตัดสินใจ มีทั้งระบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ 6. การทำงานและมนุษย์ มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง และมีเสรีภาพ สัมพันธ์ในองค์กร เท่าเทียมกัน
  • 47. การจัดโครงสร้างองค์การของธุรกิจ รูปแบบของโครงสร้างองค์การ การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์ การจัดโครงสร้างองค์การโดยพิจารณาพื้นที่ การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้าที่ การจัดโครงสร้างแบบผสม การจัดโครงสร้างแบบ Matrix
  • 48. การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์ ( Product Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด อินโดนีเซีย ฝ . บริหารทั่วไป ฝ . การตลาด ฝ . สัมพันธ์ วปท . ฝ่ายสินค้า A ฝ่ายสินค้า B ฝ่ายสินค้า C ฝ่ายสินค้า D นิวซีแลนด์
  • 49. การจัดโครงสร้างโดยพิจารณาจากพื้นที่ ( Area Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด อเมริกาเหนือ สินค้า A สินค้า B สินค้า C เกาหลี ไทย ยุโรป นิวซีแลนด์ เอเชีบ
  • 50. การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้าที่ ( Function Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด ภายในประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ต่างประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ภายในประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E ต่างประเทศ สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D สินค้า E
  • 51. การจัดโครงสร้างแบบผสม ( Mix Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด ประธานเขต เอเชีย บริษัทในเครือ 1 ประธานผลิตภัณฑ์ A ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย ประธานผลิตภัณฑ์ C ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย ประธานผลิตภัณฑ์ B ทั่วโลก ยกเว้นเอเชีย บริษัทในเครือ 2 บริษัทในเครือ 1 บริษัทในเครือ 2
  • 52. การจัดโครงสร้างองค์การแบบ Matrix ( Matrix Structure) กรรมการบริหาร รองประธาน ฝ่ายผลิต รองประธาน ฝ่ายการเงิน รองประธาน ฝ่ายบุคคล รองประธาน ฝ่ายตลาด สินค้า A สินค้า B ยุโรป นิวซีแลนด์ เอเชีบ
  • 53. ปัญหาที่แก้ไขยาก 1. ผู้แก้ปัญหานั่งทับปัญหา 2. ปัญหาใต้น้ำ 3. ไม่สามารถค้นพบปัญหาที่แท้จริง ปัญหา คืออะไร?