SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
คานา
       แฟ้มสะสมงานเล่มนี้ จัดทาขึ้น เพื่อนาเสนอประ วัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา
ประวัติการเข้ารับราชการ และผลงานตามสมรรถนะครู รวมทั้งภาคแห่งความภาคภูมิใจ
และผลงานดีเด่น โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น การรวบรวมผลงานและสมรรถนะของ
ครูผู้สอนในด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจาสายงาน ซึ่งจะ ประโยชน์ในการ
ประเมินโอกาสต่างๆ อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ ในการนาไปเป็นแนวทางในการ
จัดเก็บรวบรวมและพัฒนาผลงานของตนเองให้มีประสิทธิภาพต่อไป
       หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องกราบขออภัยไว้ ณ ที่นี้




                                                 นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
ผลงานตามสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน


           ผลงานตามสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน มีดังต่อไปนี้
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ
      1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
      1.2 การบริการที่ดี
      1.3 การพัฒนาตนเอง
      1.4 การทางานเป็นทีม
      1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจาสายงาน(Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ
      2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
      2.2 การพัฒนาผู้เรียน
      2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
      2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
      2.5 ภาวะผู้นาครู
      2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะหลัก
(Core Competency)
สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน(Working Achievement Motivation)
หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน
และปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง


   1.1 ความสามารถในการวางแผนการกาหนดเป้าหมายการวิเคราะห์สังเคราะห์ภารกิจงาน

        1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่ างเป็นระบบ
        2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน
        3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน




          โดยจัดทา แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล        ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ
 (Competency Based Approach) จะทาให้สามารถรู้จุดเด่น จุดด้อยของความสามารถในการปฏิบัติงาน
 ของตน และสามารถพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของของหน่วยงาน และของตนเอง
 อย่างแท้จริง อีกทั้งจะทาให้การพัฒนาครูดาเนินไปอย่างประหยัด และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล
 ซึ่งมีรายละอียดดังนี้
1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์

                   1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้

มีความรูกระตือรือร้นและสนใจการเรียนรุ ้
        ้                                                               แสวงหาความรู ้ จากแหล่งเรียนรูต่างๆอย่าง
                                                                                                      ้
     จากแหล่งต่างๆอย่างสมาเสมอ
                          ่                                               สมาเสมอ เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู ้
                                                                             ่
ทังจากการศึกษาเรียนรู ้ ด้วยตนเอง การอบรม
  ้                                                                     เป็ นแบบอย่างทีดให้กับผูอ่นและนักเรียนในการ
                                                                                       ่ี       ้ื
การแลกเปลียนเรียนรู ้ ทดสอบและการศึกษาต่อ
           ่                                                            พัฒนาความรูอยูเ่ สมอ จากแหล่งเรียนรูต่างๆ
                                                                                     ้                        ้




                                                การใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรียน



   การปลูกฝังและสร้างนิ สยใฝ่ เรียนรู ้
                         ั                                              การนาความรูท่ีได้จากการใฝ่ รู่ ใฝ่ เรียนมา
                                                                                     ้
โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียน                                  ประยุกต์ใช้ ปรับปรุงและพัฒนาสูการปฏิบติ
                                                                                                           ่       ั
ได้ศึกษาหาข้อมูลเรียนรูดวยตนเองแล ้วได้
                           ้้                                           โดยนาความรูทได้มารวบรวม เพื่อศึกษาวิเคราะห์
                                                                                     ้ ่ี
นาเสนอ แลกเปลียนเรียนรู ้ รวมทังสร้าง
                    ่               ้                                   สังเคราะห์ และสรุปเป็ นความคิดของตนเอง
แหล่งเรียนรูเ้ พื่อส่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้กับ                           ประกอบกับความคิดสร้างสรรค์ เพื่อนามาปฏิบติ
                                                                                                                 ั
ผูเ้ รียนด้วย                                                           หรือสร้างผลงานต่างๆเพื่อเผยแพร่และพัฒนาต่อไป



                   2. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง




         ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ และนาความรู้ ประสบการณ์มาปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ
1.3 ความสามารถในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน

       1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง
1.4 ความสามารถในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งาน
ประสบความสาเร็จ

       1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุ/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น
                                               ง
       2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ้ปกครอง และชุมชน
                                                             ผู
        จัดทาแบบสอบถามความคิดเห็นของนั กเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา
วิทยาศาสตร์ ในรายวิชาต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย โดยประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อ
ด้านบุคลิกภาพและด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ในหัวข้อต่างๆ
        จากผลการประเมินดังกล่าวนี้ จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง ด้านบุ คลิกภาพ
และการจัดการเรียนการสอนของครู ในรายการประเมินหัวข้อต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
โดยเฉพาะในเรื่องของ การปลูกฝังและสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียน ที่จะต้อง
ปรับปรุงและพัฒนาให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ปลูกฝังและสอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรม ให้เพิ่มขึ้น ตลอดจน ต้องการมีการมอบหมายงานให้ทาและตรวจงานของนักเรียน
อย่างเหมาะสม ซึ่งจะต้องมีการกาหนดภาระงานล่วงหน้า โดยเน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ
กาหนดภาระงาน กาหนดเวลาส่งงาน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการประเมินผลงาน ทั้งนี้ จะได้นาผล
การประเมินและข้อเสนอแนะต่างๆนี้ ไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอนวิทยาศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
        ตัวอย่างของสรุป ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
มีดังต่อไปนี้
สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind)
หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มี
ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ


 2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในกิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาสการให้บริการ

       1. ทากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ




                    2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ

1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง
2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ
สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development)
หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทาง
วิชาการและวิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน


       3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ

 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น
 การเข้าร่วมประชุม /สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้าด้วยตนเอง
3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ

1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย




2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและวิชาชีพ
3.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างเครือข่าย

1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน
2.ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ผู้อื่น
3. มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ
สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดง
บทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารง
สัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย


              4.1 การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อนร่ว
                                                                มงาน

 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น
 2. ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 3. ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน
4.2 การเสริมแรงให้กาลังใจเพื่อนร่วมงาน

   1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม
มีความรูความเข้าใจ และเห็นความสาคัญ
        ้                                                                       เป็ นแกนนาในการพัฒนาวิชาชีพ
ของการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุ น                                  เป็ นแบบอย่างทีดี และชักชวนเพื่อนร่วมวิชาชีพ ใน
                                                                                         ่
และให้กาลังใจ แก่เพื่อนร่วมงาน ในการพัฒนา                                 การพัฒนาวิชาชีพของตนเองอยูเ่ สมอ
วิชาชีพ


                                                 การให้ความร่วมมือ
                                             ช่วยเหลือ สนับสนุ น และ
                                            ให้กาลัง ใจแก่เพื่อนร่วมงาน
                                                ในการพัฒนาวิชาชีพ

          แลกเปลี่ยนเรียนรู ้                                              การให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุ น
โดยนาความรู ้ ประสบการณ์และผลงานของ                                       ให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุ นเพื่อนร่วม
ตนเองและเพื่อนร่วมวิชาชีพ มาแลกเปลียน ่                                   วิชาชีพ ในการพัฒนาวิชาชีพของตนเองอยูเ่ สมอ
เรียนรูร่วมกัน มีการประเมินผลงานเพื่อ
       ้                                                                  เมื่อมีโอกาส โดยตระหนักถึงความสาคัญของการ
พัฒนาและปรับปรุงผลงานร่วมกัน                                              พัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยูเ่ สมอ
4.3 การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรือสถานการณ์ที่หลากหลาย

1. มีทักษะในการทางานร่วมกับ บุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา และในสถานการณ์ต่างๆ.
4.4 การแสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตาม

 1. แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส




4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย

 1. แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายในทีมงาน
 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเครือข่ายและทีมงาน
 3. ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู(Teacher’s Ethics and Integrity)
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู


                            5.1 ความรักและศรัทธา ในวิชาชีพ

  1. สนับสนุน และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชี พ
  2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
  3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ
  4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
การปฏิบติตน
                  ั                                         มีความรูความเข้าใจ
                                                                    ้
  ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ของคุรุสภา                       เกี่ยวกับ มาตรฐานวิชาชีพครู
 โดยเฉพาะในส่วนของมาตรฐานความรู ้                       - มาตรฐานความรู ้
                                                        ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู
                                                        ๒ การพัฒนาหลักสูตร
                                                        ๓ การจัดการเรียนรู ้
                                                        ๔ จิตวิทยาสาหรับครู
                                                        ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา
                                    มาตรฐานวิชาชีพครู   ๖ การบริหารจัดการในชันเรียน
                                                                               ้
                                                        ๗ การวิจยทางการศึกษา
                                                                  ั
                                                        ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
                                                            สารสนเทศทางการศึกษา
การพัฒนาตนตามมาตรฐานวิชาชีพ                             ๙ ความเป็ นครู
                                                        - มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
        อย่างต่อเนื่ อง
                                                          ผ่านการปฏิบตการสอนใน
                                                                       ัิ
โดยการศึกษาด้วยตนเอง การศึกษาต่อ
                                                        สถานศึกษาไม่นอยกว่า ๑ ปี และ
                                                                        ้
 การอบรม เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
                                                        ผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบตส อน
                                                                                 ัิ
การปฏิบติตนเหมาะสมกับความเป็ นครู
        ั                                                                                            การประพฤติปฏิบติตนเป็ นที่ยอมรับ
                                                                                                                   ั
    ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของคุรุสภา                                                                       ในสถานศึกษา
    ด้วยความตระหนักและเห็นความสาคัญ                                                                  โดยการประพฤติปฏิบตตนตามจรรยาบรรณ
                                                                                                                          ัิ
    ซึ่งเกิดขึ้นจากจิตใจ โดยไม่มใครบังคับ
                                ี                                                                        วิชาชีพครู เป็ นแบบอย่างทีดผูอ่น
                                                                                                                                   ่ ี ้ื




                                                   จรรยาบรรณวิชาชีพครู


๑ จรรยาบรรณต่อตนเอง                                                                                            ๒ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
มีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเอง                                                                                      รัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สจริตและ
                                                                                                                                    ุ
ด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและ                                   มีความรูความเข้าใจ
                                                                   ้                                           รับผิดชอบต่อวิชาชีพ เป็ น
วิสยทัศน์
    ั                                                  เกี่ยวกับ จรรยาบรรณวิชาชีพครู                           สมาชิกที่ดขององค์กรวิชาชีพ
                                                                                                                         ี



๔ จรรยาบรรณต่อผูร่วม
                ้                                                                                              ๕ จรรยาบรรณต่อสังคม
ประกอบวิชาชีพ                                                                                                  - ประพฤติปฏิบตตน เป็ นผูนา
                                                                                                                               ัิ       ้
                                            ๓ จรรยาบรรณต่อผูรบบริการ
                                                            ้ั
- ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน                                                                               ในการอนุ รกษ์และพัฒนา
                                                                                                                           ั
                                            - รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่ วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจ
อย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมันใน่                                                                                   เศรษฐกิจ สังคม
                                            แก่ศษย์ โดยเสมอหน้า
                                                  ิ
ระบบคุณธรรม สร้างความ                                                                                          ศิลปวัฒนธรรม ภูมปญญา
                                                                                                                                  ิั
                                            - ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู ้ ทักษะ และนิ สยที่ถูกต้อง
                                                                                       ั
สามัคคีในหมู่คณะ                                                                                               สิ่งแวดล ้อม รักษาผลประโยชน์
                                            ดีงามแก่ศษย์ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็ม
                                                       ิ
                                                                                                               ของส่วนรวมและยึดมันในการ
                                                                                                                                     ่
                                            ความสามารถ
                                                                                                               ปกครองระบอบประชาธิปไตย
                                                                                    ้
                                            - ประพฤติปฏิบตตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทังกาย วาจา
                                                             ัิ
                                                                                                               อันมีพระมหากษัตริยทรงเป็ น
                                                                                                                                   ์
                                            จิตใจ
                                                                                                               ประมุข
                                            - ไม่กระทาตนเป็ นปฏิปกษ์ ต่อความเจริญทางกาย
                                                                    ั
                                            สติปญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์
                                                    ั
                                            - ให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่
                                            เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ ง
                                            หน้าที่โดยมิชอบ
5.2 มีวินัย และความรับผิดชอบในวิชาชีพ

   1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
   2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร
   3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้ า
   4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค
              ตรงต่อเวลา                                                                     ความรับผิดชอบ
ตระหนักและให้ความสาคัญกับการตรงต่อ                                              ตระหนักและให้ความสาคัญกับความรับผิดชอบ
เวลาเสมอ โดยมาปฏิบตหน้าทีทโ่ี รงเรียนก่อน
                     ัิ ่                                                       ในภาระงานและหน้าทีท่ีได้รบมอบหมายอย่าง
                                                                                                    ่ ั
เวลา เข้าสอนและเลิก สอนตรงเวลา ตลอดจน                                           สมา่ เสมอ โดยคานึงของประสิทธิภาพและ
ตรงต่อเวลาในการเข้าร่วมประชุมต่างๆ                                              ประสิทธิผลของงานทีดี มีคุณภาพ
                                                                                                  ่



                                                   วินยในตนเอง
                                                      ั
                                            มีความรู ้ ความเข ้าใจและปฏิบติตน
                                                                         ั
                                             เป็ นผูมวนย คุณธรรม จริยธรรม
                                                    ้ีิ ั
                                                  โดยมีวนยในตนเองเสมอ
                                                          ิ ั


      การไปปฏิบติและไปราชการ
               ั                                                                     การปฏิบติตนตามกรอบของวินัย
                                                                                            ั
ดาเนินการตามกฏระเบียบ หลักเกณฑ์ และ                                               ปฏิบตตนอยูในกรอบของวินยและไม่เคย
                                                                                       ัิ ่                 ั
คาสัง่ อย่างเคร่งครัด และเต็มความสามารถ                                           กระทาผิดทางวินย รวมทังให้คาแนะนาเพื่อน
                                                                                                  ั       ้
แสดงบทบาทและเป็ นตัวแทนทีดขององค์กร
                              ่ี                                                  ครูและบุคคลอื่น เกี่ยวกับกรอบของวินย ั
ไม่ทอดทิ้งภาระหน้าทีทได้รบมอบหมาย
                      ่ ่ี ั                                                      เสมอ เมื่อมีโอกาส เป็ นแบบอย่างทีดแก่ผูอ่น
                                                                                                                   ่ ี ้ื
ปฏิบติตนอยูในกฏระเบียบ
           ั      ่                                                                            การปฏิบติตามวินัย
                                                                                                      ั
       แบบแผนของทางราชการ                                                         มีการปฏิบตตามวินย และรักษาวินยของทาง
                                                                                            ัิ    ั            ั
ประพฤติตนเป็ นผูมวนยและรักษาวินยของ ทาง
                ้ีิั           ั                                                  ราชการ ตามข้อกาหนดของข้าราชการครูอย่าง
ราชการ เป็ นทียอมรับในสถานศึกษาและชุมชน
              ่                                                                   เคร่งครัด



                                             วินยและการรักษาวินย
                                                ั              ั
                                                  ของทางราชการ
                                           มีความรู ้ ความเข ้าใจเกี่ยวกับวินัย
                                              และการรักษาวินัยราชการ

การเป็ นแบบอย่างที่ดีในการรักษาวินัย                                              มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยราชการ
เป็ นแบบอย่างทีดให้กับเพื่อนครู นักเรียน
               ่ี                                                                 ศึกษา เรียนรูและทาความเข้าใจเกี่ยวกับ วินย
                                                                                               ้                            ั
และบุคคลอื่นๆ ในการรักษาวินยของราชการ
                               ั                                                  ของทางราชการ การทาผิดวินย โทษทางวินย
                                                                                                                 ั            ั
ตลอดจนให้คาแนะนาผูอ่นเมื่อมีโอกาส
                       ้ื                                                         ฯลฯ เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจทีถกต้อง
                                                                                                                     ู่
5.3 การดารงชีวิตอย่างเหมาะสม

      1. ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสมกับสถานะของตน
      2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
      3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น
มีศาสนาพุทธเป็ นเครื่องยึดเหนี่ ยวจิตใจใน                                         มีความรูและความเข้าใจในศาสนา
                                                                                          ้
           การดาเนิ นชีวต ิ                                                                 ที่ตนเองนับถือ
นาหลักธรรมทางพุทธศาสนา มาเป็ นแนวทางในการ                                    โดยศึกษาเรียนรูหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
                                                                                               ้
ดาเนินชีวต เพื่อให้ดาเนินชีวตได้อย่างมีความสุข
         ิ                  ิ                                               ต่างๆ ซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวตอย่างมีสุข
                                                                                                                  ิ




                                                      การประพฤติตน
                                                      ตามหลักศาสนา

 ประพฤติปฏิบติตนตามหลักพุทธศาสนา
            ั                                                                   ส่งเสริม และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
ปฏิบตตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
      ัิ                                                                    ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ตามศาสนาทีตนนับถือ โดย
                                                                                                             ่
และเข้าร่วมกิจกรรมทางพุทธศาสนา อย่าง                                        สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการเรียนการ
สมา่ เสมอ ทังกับครอบครัว สถานศึกษาและ
            ้                                                               สอน และการทางาน ตลอดจนส่งเสริมให้ผูเ้ รียน
ชุมชน เป็ นแบบอย่างทีดให้กับผูอ่น
                     ่ี       ้ื                                            เห็นความสาคัญและเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา
มีความรูความเข้าใจ และเห็นความสาคัญ
        ้                                                             สามารถบริหารจัดการเศรษกิจในครอบครัว
ของการดาเนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
                 ิ                                                              ได้อย่างเหมาะสม
ซึ่งมีประโยชน์ในการดาเนินชีวตอย่างมีความสุข
                            ิ                                         โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทางในการ
                                                                      บริหารจัดการ เป็ นทียอมรับของผูอ่น
                                                                                          ่          ้ื




                                              การดาเนิ นชีวตตามหลัก
                                                           ิ
                                                เศรษฐกิจพอเพียง

          เป็ นแบบอย่างที่ดี                                               ส่งเสริมและปลูกฝังความพอเพียง
      ในการใช้ชีวตอย่างพอเพียง
                 ิ                                                    ให้นักเรียนเห็นคุณค่าและความสาคัญของความ
โดยดาเนินชีวต อย่างเรียบง่าย พอมีพอกิน
               ิ                                                      พอเพียง โดยสอดแทรกหลักเศรษฐกิจพอเพียงใน
ไม่ฟ่ มเฟื อย มีการวางแผนในการใช้จ่ายเงิน
      ุ                                                               การเรียนการสอน ผ่านการทากิจกรรม และการ
และสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีความสุข                                 อธิบาย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนาไปใช้
                                                                      ได้จริง
5.4 การประพฤติปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี

     1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์
     2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้รับบริการ
     3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ
     4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
        และพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับ

           มีความรูความเข้าใจ
                   ้                                                                    การปฏิบติตน
                                                                                               ั
เกี่ยวกับ บทบาทหน้าทีของครูทดี โดยเป็ นส่วน
                     ่      ่ี                                          ตามบทบาทหน้าทีของครูทดี ปฏิบตงานในหน้าที่
                                                                                       ่      ่ี      ัิ
หนึ่งของจิตวิญญาณความเป็ นครู สามารถ                                    ครู ด้วยหลักธรรมและหลักวิชาชีพครู
นามาใช้ในการประกอบวิชาชีพได้เป็ นอย่างดี




                                              บทบาทหน้าที่ของตนเองใน
                                                   ฐานะครูท่ดี
                                                             ี


เป็ นแบบอย่างของครูท่ีดีให้แก่เพื่อนครู                                  ยึดมันในอุดมการณ์และรักษาความเป็ น
                                                                              ่
            และผองศิษย์                                                         ครูท่ีดี ให้คงอยูตลอดไป
                                                                                                 ่
โดยเป็ นแบบอย่างจากการประพฤติปฏิบตจริง
                                    ัิ                                    การเป็ นครูทดีนน ประโยชน์ไม่ได้อยูทตวครู
                                                                                         ่ี ั้               ่ ่ี ั
    ทีผูอ่นได้พบเห็น และให้การยอมรับ
       ่ ้ื                                                              แต่จะอยูทตวนักเรียน ทีได้รบสิ่งดีๆ จากครูทดี
                                                                                  ่ ่ี ั       ่ ั                  ่ี
สมรรถนะประจาสายงาน
(Functional Competency)
สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู(Curriculum and Learning
                                                      ้
Management) หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการ
เรียนรู้อย่างสอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด

                             1.1 การสร้างและพัฒนาหลักสูตร

 1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและท้องถิ่น
 2. ประเมินการใช้หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร




                     1.2 ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้

 1. กาหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ ริเริ่มเหมาะสม กับสาระ
 การเรียนรู้ ความแตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
 2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมสอดคล้องกับวัย และความต้องการ
 ของผู้เรียน และชุมชน
 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรีการจั้ ดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้
                                                        ยนรู
 4. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการอย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกัน
 5. มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และปรับใช้ตามสถานการณ์อย่าง
 เหมาะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง
 6. ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ปรับปรุง /พัฒนา
1.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

1. จัดทาฐานข้อมูลเพื่อ ออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง /ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน
4. ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาอย่าง
เต็มศักยภาพ
5.ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในการจัดการเรียนรู้
6. พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน


          1.4 การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้

1. ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหา
และกิจกรรมการเรียนรู้
2. สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ /นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
                        1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย บเนื้อหาจกรรมการเรียนรู้ ้เรียน
                                           เหมาะสมกั         กิ   และผู
2. สร้างและนาเครื่องมือวัดและประเมินผลไปใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง
4. นาผลการประเมินการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development)
หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย
และสุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ


                       2.1 การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน

 1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยให้ผู้เรียนมีส่ วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม
 3. จัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน




              2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต และสุขภาพกาย และสุขภาพจิตผู้เรียน
 1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านการดูแลตนเอง มีทักษะในการเรียนรู้ การทางาน การอยู่
 ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
2.3 การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยความภูมิใจในความเป็นไทยให้กับผู้เรียน

1. สอดแทรกความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่ผู้เรียน
2. จัดทาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย




                         2.4 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

1. ให้ผู้เรียน คณะครูผู้สอน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคล
2. นาข้อมูลนักเรียนไปใช้ช่วยเหลือ ฒนาผู้เรียนทั้งด้านการเรียนรู้และปรับพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
                                   /พั
3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา และส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับค่านิยมที่ดีงาม
5. ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง ทันการณ์
สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน(Classroom Management)
หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียน /
ประจาวิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น /รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข และ
ความปลอดภัยของผู้เรียน

         3.1 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ความสุขและความปลอดภัยของผู้เรียน

  1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
  2. ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน
  3. ตรวจสอบสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียนให้พร้อมใช้และปลอด ภัยอยู่เสมอ

             3.2 จัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรีย/ประจาวิชา
                                                          น

  1. จัดทาข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคลและเอกสารประจาชั้นเรียนอย่างถูกต้อง
  ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
  2. นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ

                           3.3 กากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น
                                                       /รายวิชา

  1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกฎ กติกา ข้อตกลงในชั้นเรียน
  2. แก้ปัญหา/พัฒนานักเรียนด้านระเบียบวินัยโดยการสร้างวินัยเชิงบวกในชั้นเรียน
  3. ประเมินการกากับดูแลชั้นเรียน และนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน(Analysis &
Synthesis & Classroom Research)
หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหา
ข้อสรุปอย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์องค์กร
หรืองานในภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ

                                     4.1 การวิเคราะห์

 1. สารวจปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อกาหนดทางเลือกในการแก้ไข
 ปัญหาระบุสภาพปัจจุบัน
 3. มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย อุปสรรคและโอกาสความสาเร็จของการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่
 เกิดขึ้นในชั้นเรียน
                                    4.2 การสังเคราะห์

 1. รวบรวม จาแนกและจัดกลุ่มของสภาพปัญหาของผู้เรียน แนวคิดทฤษฎีและวิธีการแก้ไขปัญหา
 เพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้
 2. มีการประมวลผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนโดย
 ใช้ข้อมูลรอบด้าน

                              4.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

 1. จัดทาแผนการวิจัย และดาเนินกระบวนการวิจัย อย่างเป็นระบบตามแผนดาเนินการวิจัยที่
 กาหนดไว้
 2. ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ
 3. มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอื่น ๆ ที่มีบริบทของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู (Teacher Leadership)
หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรีย นโดยปราศจากการใช้
อิทธิพลของผู้บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพ

      5.1 วุฒิภาวะความเป็นผู้ใหญ่ที่เหมาะสมกับความเป็นครู
                                                       (Adult Development)

 1. พิจารณาทบทวน ประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้เรียนและผู้อื่น และมีความ
 รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
 2. เห็นคุณค่า ให้ความสาคัญในความคิดเห็นหรือผลงาน และให้เกียรติแก่ผู้อื่น
 3. กระตุ้นจูงใจ ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาของผู้อื่นให้มีความผูกพันและมุ่งมั่นต่อ
 เป้าหมายในการทางานร่วมกัน
5.2 การสนทนาอย่างสร้างสรรค์(Dialogue)

1. มีปฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น
โดยมุ่งเน้นไปที่การเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาวิชาชีพ
2. มีทักษะการฟัง การพูด และการตั้งคาถาม เปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลาย
ของผู้อื่น เพื่อเป็นแนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน
3. สืบเสาะข้อมูล ความรู้ทางวิชาชีพใหม่ๆที่สร้างความท้าทายในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น




               5.3 การเป็นบุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง (Change Agency)

1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีการวางแผนอย่างมีวิสัยทัศน์ซึ่ง
เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และพันธกิจของโรงเรียนร่วมกับผู้อื่น
2. ริเริ่มการปฏิบัติที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรม
3. กระตุ้นผู้อื่นให้มีการเรียนรู้และความร่วมมือในวงกว้างเพื่อพัฒนาผู้เรียน กษาและวิชาชีพ
                                                                      สถานศึ
4. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ระบบ/ขั้นตอนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้
5.4 การปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง(Reflective Practice)

1. พิจารณาไตร่ต รองความสอดคล้องระหว่างการเรียนรู้ของนักเรียน และการจัดการเรียนรู้
2. สนับสนุนความคิดริเริ่มซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองของเพื่อนร่วมงาน และมีส่วนร่วม
ในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ
3. ใช้เทคนิควิธีการหลากหลายในการตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง และผลการ
ดาเนินงานสถานศึกษา

 5.5 การมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน (Concern for improving pupil achievement)

1. กาหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของตนเองตามสภาพจริง และ
ปฏิบัติให้บรรลุผลสาเร็จได้
2. ให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นรอบด้านของผู้เรียนต่อผู้ปกครองและผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
3. ยอมรับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับความคาดหวังด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผู้ปกครอง
4. ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเองให้เอื้อต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
5. ตรวจสอบข้อมูลการประเมินผู้เรียนอย่างรอบด้าน รวมไปถึงผลการวิจัย หรือองค์ความรู้ต่างๆ
และนาไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
(Relationship & Collaborative – Building for Learning Management)
หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน
และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้


         6.1 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกั มชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
                                               บชุ

 1. กาหนดแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และความร่วมมือกับชุมชน
 2. ประสานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา
 3. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
 4. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ
 ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการจัดการเรียนรู้

                 6.2 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดการเรียนรู้

 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfssuser60528a2
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 

What's hot (20)

การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdf
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจSomchart Phaeumnart
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56sukanya56106930005
 
แฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติแฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติrorsuelee
 
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎี
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎีเอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎี
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎีkruchai
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App InventorSomchart Phaeumnart
 
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa SchoolSar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa SchoolSomchart Phaeumnart
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1Somchart Phaeumnart
 
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยSomchart Phaeumnart
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยpuyhihi
 
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2krupornpana55
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (20)

เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
แฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติแฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติ
 
Teacher portfolio
Teacher  portfolioTeacher  portfolio
Teacher portfolio
 
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎี
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎีเอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎี
เอกสารแนะนำตนเองนายหัสฎี
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa SchoolSar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
 
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
 
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2อัลบั้มประเมินครู คศ.2
อัลบั้มประเมินครู คศ.2
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 

Similar to แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 

Similar to แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ (20)

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
C
CC
C
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
K2
K2K2
K2
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 

More from Kobwit Piriyawat

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 

แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

  • 1.
  • 2. คานา แฟ้มสะสมงานเล่มนี้ จัดทาขึ้น เพื่อนาเสนอประ วัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการเข้ารับราชการ และผลงานตามสมรรถนะครู รวมทั้งภาคแห่งความภาคภูมิใจ และผลงานดีเด่น โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น การรวบรวมผลงานและสมรรถนะของ ครูผู้สอนในด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจาสายงาน ซึ่งจะ ประโยชน์ในการ ประเมินโอกาสต่างๆ อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ ในการนาไปเป็นแนวทางในการ จัดเก็บรวบรวมและพัฒนาผลงานของตนเองให้มีประสิทธิภาพต่อไป หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องกราบขออภัยไว้ ณ ที่นี้ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 3. ผลงานตามสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน ผลงานตามสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน มีดังต่อไปนี้ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 1.2 การบริการที่ดี 1.3 การพัฒนาตนเอง 1.4 การทางานเป็นทีม 1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจาสายงาน(Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ 2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2.2 การพัฒนาผู้เรียน 2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2.5 ภาวะผู้นาครู 2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
  • 5. สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน(Working Achievement Motivation) หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง 1.1 ความสามารถในการวางแผนการกาหนดเป้าหมายการวิเคราะห์สังเคราะห์ภารกิจงาน 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่ างเป็นระบบ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน 3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน โดยจัดทา แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) จะทาให้สามารถรู้จุดเด่น จุดด้อยของความสามารถในการปฏิบัติงาน ของตน และสามารถพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของของหน่วยงาน และของตนเอง อย่างแท้จริง อีกทั้งจะทาให้การพัฒนาครูดาเนินไปอย่างประหยัด และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ซึ่งมีรายละอียดดังนี้
  • 6. 1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ มีความรูกระตือรือร้นและสนใจการเรียนรุ ้ ้ แสวงหาความรู ้ จากแหล่งเรียนรูต่างๆอย่าง ้ จากแหล่งต่างๆอย่างสมาเสมอ ่ สมาเสมอ เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู ้ ่ ทังจากการศึกษาเรียนรู ้ ด้วยตนเอง การอบรม ้ เป็ นแบบอย่างทีดให้กับผูอ่นและนักเรียนในการ ่ี ้ื การแลกเปลียนเรียนรู ้ ทดสอบและการศึกษาต่อ ่ พัฒนาความรูอยูเ่ สมอ จากแหล่งเรียนรูต่างๆ ้ ้ การใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรียน การปลูกฝังและสร้างนิ สยใฝ่ เรียนรู ้ ั การนาความรูท่ีได้จากการใฝ่ รู่ ใฝ่ เรียนมา ้ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียน ประยุกต์ใช้ ปรับปรุงและพัฒนาสูการปฏิบติ ่ ั ได้ศึกษาหาข้อมูลเรียนรูดวยตนเองแล ้วได้ ้้ โดยนาความรูทได้มารวบรวม เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ้ ่ี นาเสนอ แลกเปลียนเรียนรู ้ รวมทังสร้าง ่ ้ สังเคราะห์ และสรุปเป็ นความคิดของตนเอง แหล่งเรียนรูเ้ พื่อส่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้กับ ประกอบกับความคิดสร้างสรรค์ เพื่อนามาปฏิบติ ั ผูเ้ รียนด้วย หรือสร้างผลงานต่างๆเพื่อเผยแพร่และพัฒนาต่อไป 2. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
  • 7. 3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ และนาความรู้ ประสบการณ์มาปรับใช้ในการ จัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ
  • 8. 1.3 ความสามารถในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง 1.4 ความสามารถในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งาน ประสบความสาเร็จ 1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุ/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น ง 2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ้ปกครอง และชุมชน ผู จัดทาแบบสอบถามความคิดเห็นของนั กเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ ในรายวิชาต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย โดยประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อ ด้านบุคลิกภาพและด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ในหัวข้อต่างๆ จากผลการประเมินดังกล่าวนี้ จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง ด้านบุ คลิกภาพ และการจัดการเรียนการสอนของครู ในรายการประเมินหัวข้อต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องของ การปลูกฝังและสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียน ที่จะต้อง ปรับปรุงและพัฒนาให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ปลูกฝังและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ให้เพิ่มขึ้น ตลอดจน ต้องการมีการมอบหมายงานให้ทาและตรวจงานของนักเรียน อย่างเหมาะสม ซึ่งจะต้องมีการกาหนดภาระงานล่วงหน้า โดยเน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ กาหนดภาระงาน กาหนดเวลาส่งงาน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการประเมินผลงาน ทั้งนี้ จะได้นาผล การประเมินและข้อเสนอแนะต่างๆนี้ ไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนวิทยาศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป ตัวอย่างของสรุป ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ มีดังต่อไปนี้
  • 9. สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ 2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในกิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาสการให้บริการ 1. ทากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
  • 10. 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง 2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ
  • 11. สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทาง วิชาการและวิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน 3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมประชุม /สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้าด้วยตนเอง
  • 12. 3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ 1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย 2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและวิชาชีพ
  • 14. 2.ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ผู้อื่น
  • 16. สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดง บทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารง สัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย 4.1 การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อนร่ว มงาน 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น 2. ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน
  • 17. 4.2 การเสริมแรงให้กาลังใจเพื่อนร่วมงาน 1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม มีความรูความเข้าใจ และเห็นความสาคัญ ้ เป็ นแกนนาในการพัฒนาวิชาชีพ ของการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุ น เป็ นแบบอย่างทีดี และชักชวนเพื่อนร่วมวิชาชีพ ใน ่ และให้กาลังใจ แก่เพื่อนร่วมงาน ในการพัฒนา การพัฒนาวิชาชีพของตนเองอยูเ่ สมอ วิชาชีพ การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุ น และ ให้กาลัง ใจแก่เพื่อนร่วมงาน ในการพัฒนาวิชาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ การให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุ น โดยนาความรู ้ ประสบการณ์และผลงานของ ให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุ นเพื่อนร่วม ตนเองและเพื่อนร่วมวิชาชีพ มาแลกเปลียน ่ วิชาชีพ ในการพัฒนาวิชาชีพของตนเองอยูเ่ สมอ เรียนรูร่วมกัน มีการประเมินผลงานเพื่อ ้ เมื่อมีโอกาส โดยตระหนักถึงความสาคัญของการ พัฒนาและปรับปรุงผลงานร่วมกัน พัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยูเ่ สมอ
  • 18. 4.3 การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรือสถานการณ์ที่หลากหลาย 1. มีทักษะในการทางานร่วมกับ บุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา และในสถานการณ์ต่างๆ.
  • 19. 4.4 การแสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตาม 1. แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส 4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย 1. แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายในทีมงาน 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเครือข่ายและทีมงาน 3. ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
  • 20. สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู(Teacher’s Ethics and Integrity) หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู 5.1 ความรักและศรัทธา ในวิชาชีพ 1. สนับสนุน และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชี พ 2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ 3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ 4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
  • 21. การปฏิบติตน ั มีความรูความเข้าใจ ้ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ของคุรุสภา เกี่ยวกับ มาตรฐานวิชาชีพครู โดยเฉพาะในส่วนของมาตรฐานความรู ้ - มาตรฐานความรู ้ ๑ ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ๒ การพัฒนาหลักสูตร ๓ การจัดการเรียนรู ้ ๔ จิตวิทยาสาหรับครู ๕ การวัดและประเมินผลการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพครู ๖ การบริหารจัดการในชันเรียน ้ ๗ การวิจยทางการศึกษา ั ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา การพัฒนาตนตามมาตรฐานวิชาชีพ ๙ ความเป็ นครู - มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ อย่างต่อเนื่ อง ผ่านการปฏิบตการสอนใน ัิ โดยการศึกษาด้วยตนเอง การศึกษาต่อ สถานศึกษาไม่นอยกว่า ๑ ปี และ ้ การอบรม เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบตส อน ัิ
  • 22. การปฏิบติตนเหมาะสมกับความเป็ นครู ั การประพฤติปฏิบติตนเป็ นที่ยอมรับ ั ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของคุรุสภา ในสถานศึกษา ด้วยความตระหนักและเห็นความสาคัญ โดยการประพฤติปฏิบตตนตามจรรยาบรรณ ัิ ซึ่งเกิดขึ้นจากจิตใจ โดยไม่มใครบังคับ ี วิชาชีพครู เป็ นแบบอย่างทีดผูอ่น ่ ี ้ื จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๑ จรรยาบรรณต่อตนเอง ๒ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเอง รัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สจริตและ ุ ด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและ มีความรูความเข้าใจ ้ รับผิดชอบต่อวิชาชีพ เป็ น วิสยทัศน์ ั เกี่ยวกับ จรรยาบรรณวิชาชีพครู สมาชิกที่ดขององค์กรวิชาชีพ ี ๔ จรรยาบรรณต่อผูร่วม ้ ๕ จรรยาบรรณต่อสังคม ประกอบวิชาชีพ - ประพฤติปฏิบตตน เป็ นผูนา ัิ ้ ๓ จรรยาบรรณต่อผูรบบริการ ้ั - ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ในการอนุ รกษ์และพัฒนา ั - รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่ วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจ อย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมันใน่ เศรษฐกิจ สังคม แก่ศษย์ โดยเสมอหน้า ิ ระบบคุณธรรม สร้างความ ศิลปวัฒนธรรม ภูมปญญา ิั - ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู ้ ทักษะ และนิ สยที่ถูกต้อง ั สามัคคีในหมู่คณะ สิ่งแวดล ้อม รักษาผลประโยชน์ ดีงามแก่ศษย์ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็ม ิ ของส่วนรวมและยึดมันในการ ่ ความสามารถ ปกครองระบอบประชาธิปไตย ้ - ประพฤติปฏิบตตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทังกาย วาจา ัิ อันมีพระมหากษัตริยทรงเป็ น ์ จิตใจ ประมุข - ไม่กระทาตนเป็ นปฏิปกษ์ ต่อความเจริญทางกาย ั สติปญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ ั - ให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่ เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ ง หน้าที่โดยมิชอบ
  • 23. 5.2 มีวินัย และความรับผิดชอบในวิชาชีพ 1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด 2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร 3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้ า 4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ตระหนักและให้ความสาคัญกับการตรงต่อ ตระหนักและให้ความสาคัญกับความรับผิดชอบ เวลาเสมอ โดยมาปฏิบตหน้าทีทโ่ี รงเรียนก่อน ัิ ่ ในภาระงานและหน้าทีท่ีได้รบมอบหมายอย่าง ่ ั เวลา เข้าสอนและเลิก สอนตรงเวลา ตลอดจน สมา่ เสมอ โดยคานึงของประสิทธิภาพและ ตรงต่อเวลาในการเข้าร่วมประชุมต่างๆ ประสิทธิผลของงานทีดี มีคุณภาพ ่ วินยในตนเอง ั มีความรู ้ ความเข ้าใจและปฏิบติตน ั เป็ นผูมวนย คุณธรรม จริยธรรม ้ีิ ั โดยมีวนยในตนเองเสมอ ิ ั การไปปฏิบติและไปราชการ ั การปฏิบติตนตามกรอบของวินัย ั ดาเนินการตามกฏระเบียบ หลักเกณฑ์ และ ปฏิบตตนอยูในกรอบของวินยและไม่เคย ัิ ่ ั คาสัง่ อย่างเคร่งครัด และเต็มความสามารถ กระทาผิดทางวินย รวมทังให้คาแนะนาเพื่อน ั ้ แสดงบทบาทและเป็ นตัวแทนทีดขององค์กร ่ี ครูและบุคคลอื่น เกี่ยวกับกรอบของวินย ั ไม่ทอดทิ้งภาระหน้าทีทได้รบมอบหมาย ่ ่ี ั เสมอ เมื่อมีโอกาส เป็ นแบบอย่างทีดแก่ผูอ่น ่ ี ้ื
  • 24. ปฏิบติตนอยูในกฏระเบียบ ั ่ การปฏิบติตามวินัย ั แบบแผนของทางราชการ มีการปฏิบตตามวินย และรักษาวินยของทาง ัิ ั ั ประพฤติตนเป็ นผูมวนยและรักษาวินยของ ทาง ้ีิั ั ราชการ ตามข้อกาหนดของข้าราชการครูอย่าง ราชการ เป็ นทียอมรับในสถานศึกษาและชุมชน ่ เคร่งครัด วินยและการรักษาวินย ั ั ของทางราชการ มีความรู ้ ความเข ้าใจเกี่ยวกับวินัย และการรักษาวินัยราชการ การเป็ นแบบอย่างที่ดีในการรักษาวินัย มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยราชการ เป็ นแบบอย่างทีดให้กับเพื่อนครู นักเรียน ่ี ศึกษา เรียนรูและทาความเข้าใจเกี่ยวกับ วินย ้ ั และบุคคลอื่นๆ ในการรักษาวินยของราชการ ั ของทางราชการ การทาผิดวินย โทษทางวินย ั ั ตลอดจนให้คาแนะนาผูอ่นเมื่อมีโอกาส ้ื ฯลฯ เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจทีถกต้อง ู่
  • 25. 5.3 การดารงชีวิตอย่างเหมาะสม 1. ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสมกับสถานะของตน 2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีศาสนาพุทธเป็ นเครื่องยึดเหนี่ ยวจิตใจใน มีความรูและความเข้าใจในศาสนา ้ การดาเนิ นชีวต ิ ที่ตนเองนับถือ นาหลักธรรมทางพุทธศาสนา มาเป็ นแนวทางในการ โดยศึกษาเรียนรูหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ้ ดาเนินชีวต เพื่อให้ดาเนินชีวตได้อย่างมีความสุข ิ ิ ต่างๆ ซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวตอย่างมีสุข ิ การประพฤติตน ตามหลักศาสนา ประพฤติปฏิบติตนตามหลักพุทธศาสนา ั ส่งเสริม และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ัิ ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ตามศาสนาทีตนนับถือ โดย ่ และเข้าร่วมกิจกรรมทางพุทธศาสนา อย่าง สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการเรียนการ สมา่ เสมอ ทังกับครอบครัว สถานศึกษาและ ้ สอน และการทางาน ตลอดจนส่งเสริมให้ผูเ้ รียน ชุมชน เป็ นแบบอย่างทีดให้กับผูอ่น ่ี ้ื เห็นความสาคัญและเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา
  • 26. มีความรูความเข้าใจ และเห็นความสาคัญ ้ สามารถบริหารจัดการเศรษกิจในครอบครัว ของการดาเนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ิ ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งมีประโยชน์ในการดาเนินชีวตอย่างมีความสุข ิ โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทางในการ บริหารจัดการ เป็ นทียอมรับของผูอ่น ่ ้ื การดาเนิ นชีวตตามหลัก ิ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแบบอย่างที่ดี ส่งเสริมและปลูกฝังความพอเพียง ในการใช้ชีวตอย่างพอเพียง ิ ให้นักเรียนเห็นคุณค่าและความสาคัญของความ โดยดาเนินชีวต อย่างเรียบง่าย พอมีพอกิน ิ พอเพียง โดยสอดแทรกหลักเศรษฐกิจพอเพียงใน ไม่ฟ่ มเฟื อย มีการวางแผนในการใช้จ่ายเงิน ุ การเรียนการสอน ผ่านการทากิจกรรม และการ และสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีความสุข อธิบาย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนาไปใช้ ได้จริง
  • 27. 5.4 การประพฤติปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี 1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์ 2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้รับบริการ 3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ 4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับ มีความรูความเข้าใจ ้ การปฏิบติตน ั เกี่ยวกับ บทบาทหน้าทีของครูทดี โดยเป็ นส่วน ่ ่ี ตามบทบาทหน้าทีของครูทดี ปฏิบตงานในหน้าที่ ่ ่ี ัิ หนึ่งของจิตวิญญาณความเป็ นครู สามารถ ครู ด้วยหลักธรรมและหลักวิชาชีพครู นามาใช้ในการประกอบวิชาชีพได้เป็ นอย่างดี บทบาทหน้าที่ของตนเองใน ฐานะครูท่ดี ี เป็ นแบบอย่างของครูท่ีดีให้แก่เพื่อนครู ยึดมันในอุดมการณ์และรักษาความเป็ น ่ และผองศิษย์ ครูท่ีดี ให้คงอยูตลอดไป ่ โดยเป็ นแบบอย่างจากการประพฤติปฏิบตจริง ัิ การเป็ นครูทดีนน ประโยชน์ไม่ได้อยูทตวครู ่ี ั้ ่ ่ี ั ทีผูอ่นได้พบเห็น และให้การยอมรับ ่ ้ื แต่จะอยูทตวนักเรียน ทีได้รบสิ่งดีๆ จากครูทดี ่ ่ี ั ่ ั ่ี
  • 29. สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู(Curriculum and Learning ้ Management) หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการ เรียนรู้อย่างสอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด 1.1 การสร้างและพัฒนาหลักสูตร 1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและท้องถิ่น 2. ประเมินการใช้หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร 1.2 ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ 1. กาหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ ริเริ่มเหมาะสม กับสาระ การเรียนรู้ ความแตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมสอดคล้องกับวัย และความต้องการ ของผู้เรียน และชุมชน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรีการจั้ ดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ ยนรู 4. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการอย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกัน 5. มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และปรับใช้ตามสถานการณ์อย่าง เหมาะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง 6. ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ปรับปรุง /พัฒนา
  • 30. 1.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 1. จัดทาฐานข้อมูลเพื่อ ออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง /ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน 4. ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาอย่าง เต็มศักยภาพ 5.ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในการจัดการเรียนรู้ 6. พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน 1.4 การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ 1. ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ 2. สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3. ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ /นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย บเนื้อหาจกรรมการเรียนรู้ ้เรียน เหมาะสมกั กิ และผู 2. สร้างและนาเครื่องมือวัดและประเมินผลไปใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง 4. นาผลการประเมินการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
  • 31. สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development) หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ 2.1 การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน 1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยให้ผู้เรียนมีส่ วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม 3. จัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน 2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต และสุขภาพกาย และสุขภาพจิตผู้เรียน 1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านการดูแลตนเอง มีทักษะในการเรียนรู้ การทางาน การอยู่ ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
  • 32. 2.3 การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยความภูมิใจในความเป็นไทยให้กับผู้เรียน 1. สอดแทรกความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่ผู้เรียน 2. จัดทาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย 2.4 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1. ให้ผู้เรียน คณะครูผู้สอน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคล 2. นาข้อมูลนักเรียนไปใช้ช่วยเหลือ ฒนาผู้เรียนทั้งด้านการเรียนรู้และปรับพฤติกรรมเป็นรายบุคคล /พั 3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา และส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับค่านิยมที่ดีงาม 5. ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง ทันการณ์
  • 33. สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน(Classroom Management) หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียน / ประจาวิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น /รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข และ ความปลอดภัยของผู้เรียน 3.1 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ความสุขและความปลอดภัยของผู้เรียน 1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน 3. ตรวจสอบสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียนให้พร้อมใช้และปลอด ภัยอยู่เสมอ 3.2 จัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรีย/ประจาวิชา น 1. จัดทาข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคลและเอกสารประจาชั้นเรียนอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 2. นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ 3.3 กากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น /รายวิชา 1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกฎ กติกา ข้อตกลงในชั้นเรียน 2. แก้ปัญหา/พัฒนานักเรียนด้านระเบียบวินัยโดยการสร้างวินัยเชิงบวกในชั้นเรียน 3. ประเมินการกากับดูแลชั้นเรียน และนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
  • 34. สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน(Analysis & Synthesis & Classroom Research) หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหา ข้อสรุปอย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์องค์กร หรืองานในภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ 4.1 การวิเคราะห์ 1. สารวจปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อกาหนดทางเลือกในการแก้ไข ปัญหาระบุสภาพปัจจุบัน 3. มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย อุปสรรคและโอกาสความสาเร็จของการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นในชั้นเรียน 4.2 การสังเคราะห์ 1. รวบรวม จาแนกและจัดกลุ่มของสภาพปัญหาของผู้เรียน แนวคิดทฤษฎีและวิธีการแก้ไขปัญหา เพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ 2. มีการประมวลผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนโดย ใช้ข้อมูลรอบด้าน 4.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 1. จัดทาแผนการวิจัย และดาเนินกระบวนการวิจัย อย่างเป็นระบบตามแผนดาเนินการวิจัยที่ กาหนดไว้ 2. ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ 3. มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอื่น ๆ ที่มีบริบทของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
  • 35. สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู (Teacher Leadership) หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรีย นโดยปราศจากการใช้ อิทธิพลของผู้บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มี คุณภาพ 5.1 วุฒิภาวะความเป็นผู้ใหญ่ที่เหมาะสมกับความเป็นครู (Adult Development) 1. พิจารณาทบทวน ประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้เรียนและผู้อื่น และมีความ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 2. เห็นคุณค่า ให้ความสาคัญในความคิดเห็นหรือผลงาน และให้เกียรติแก่ผู้อื่น 3. กระตุ้นจูงใจ ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาของผู้อื่นให้มีความผูกพันและมุ่งมั่นต่อ เป้าหมายในการทางานร่วมกัน
  • 36. 5.2 การสนทนาอย่างสร้างสรรค์(Dialogue) 1. มีปฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น โดยมุ่งเน้นไปที่การเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาวิชาชีพ 2. มีทักษะการฟัง การพูด และการตั้งคาถาม เปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลาย ของผู้อื่น เพื่อเป็นแนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน 3. สืบเสาะข้อมูล ความรู้ทางวิชาชีพใหม่ๆที่สร้างความท้าทายในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น 5.3 การเป็นบุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง (Change Agency) 1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีการวางแผนอย่างมีวิสัยทัศน์ซึ่ง เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และพันธกิจของโรงเรียนร่วมกับผู้อื่น 2. ริเริ่มการปฏิบัติที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรม 3. กระตุ้นผู้อื่นให้มีการเรียนรู้และความร่วมมือในวงกว้างเพื่อพัฒนาผู้เรียน กษาและวิชาชีพ สถานศึ 4. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ระบบ/ขั้นตอนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้
  • 37. 5.4 การปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง(Reflective Practice) 1. พิจารณาไตร่ต รองความสอดคล้องระหว่างการเรียนรู้ของนักเรียน และการจัดการเรียนรู้ 2. สนับสนุนความคิดริเริ่มซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองของเพื่อนร่วมงาน และมีส่วนร่วม ในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ 3. ใช้เทคนิควิธีการหลากหลายในการตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง และผลการ ดาเนินงานสถานศึกษา 5.5 การมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน (Concern for improving pupil achievement) 1. กาหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของตนเองตามสภาพจริง และ ปฏิบัติให้บรรลุผลสาเร็จได้ 2. ให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นรอบด้านของผู้เรียนต่อผู้ปกครองและผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 3. ยอมรับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับความคาดหวังด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผู้ปกครอง 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเองให้เอื้อต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน 5. ตรวจสอบข้อมูลการประเมินผู้เรียนอย่างรอบด้าน รวมไปถึงผลการวิจัย หรือองค์ความรู้ต่างๆ และนาไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
  • 38. สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (Relationship & Collaborative – Building for Learning Management) หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ 6.1 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกั มชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ บชุ 1. กาหนดแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และความร่วมมือกับชุมชน 2. ประสานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา 3. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 4. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ 6.2 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดการเรียนรู้ 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้