SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1

  การพัฒนารู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ
                                                                           ้
                                   เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
                            รศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกษ์ ั
                              รศ.ดร.วีระวัฒน์ อุทยรัตน์
                                                    ั
           THE DEVELEPMENT OF A CHANGE MANGEMENT MODEL
     TOWARD THE EXCELLENCE OF PUBLIC BASIC EDUCATION INSTITUTIONS.
                        CHERDSAK SUPPASOPON
                       PRUET SIRIBANPITAK
                       WEERAWAT UIAIRAT

                                           บทคัดย่ อ

                 การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพือศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลง
                       ั           ั            ่
ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ตลอดจนพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ น
เลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ กลุ่มตัวอย่างในการวิจย ประกอบด้วย ผูบริ หารสถานศึกษาขั้น
                                                           ั               ้
พื้นฐานที่เป็ นเลิศ จานวน 9 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และผูรักษา
                                                                                          ้
ในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา รองผูบริ หาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หรื อหัวหน้ างาน จานวน
               ้                         ้
ทั้งสิ้น 471 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling) เครื่ องมือที่ใช้ในการ
วิจย ประกอบด้วย แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม ผลการวิจยพบว่า
    ั                                                                              ั          1)
สภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา มีการกาหนดทิศทางการบริ หารงาน โดยคานึงถึง
ความต้องการ/ ความจาเป็ น มีการวิเคราะห์งานหลักที่สาคัญและจาเป็ นของสถานศึกษา มีการจัดทา
แผนงบประมาณที่สอดคล้องกับนโยบายของโรงเรี ยน มีการแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบตโดยจัดทาเป็ น
                                                                                ัิ
แผนประจาปี การขับเคลื่อนกระบวนการบริ หารเป็ นแบบล่างขึ้นบน มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร
สามารถประเมินผล และนามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างเหมาะสม 2) ปั ญหาการบริ หาร
การเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา คือ การกาหนดนโยบายไม่ได้สะท้อนปั ญหาที่แท้จริ งของ
สถานศึกษา การกาหนดเป้ าหมายไม่ได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการอย่างแท้จริ ง และการ
กาหนดกลยุทธ์ต่างๆ ไม่สมพันธ์กบกลยุทธ์ขององค์กร ขาดการทางานเป็ นทีม จานวนบุคลากรไม่
                             ั        ั
           ั
สัมพันธ์กบจานวนงาน มีงบประมาณไม่เพียงพอ กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการให้อานาจการตัดสินใจ
และการประเมินผลการปฏิบติงานไม่ครบถ้ว นตามแผนการปฏิบติงาน 3) รู ปแบบการบริ หารการ
                                ั                                ั
เปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ที่ควรจะเป็ น คือ รู ปแบบบูรณาการ 4
มุมมอง ประกอบด้วย มุมมองจากบนลงล่าง (Top - Down) มุมมองจากล่างขึ้นบน (Bottom –Up)
มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside –In) และมุมมองภายในสู่ภายนอก (Inside–Out)
2

            แนวคิด หลักการ และวัตถุ ประสงค์ ประกอบด้วย การปรับโครงสร้าง การเพิมบทบาท ่
หน้าที่และบริ การใหม่ การเปลี่ยนผูนา และการปรับตัวให้ทนการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
                                     ้                  ั
โครงสร้างการบริ หารแบบ
            งานหลักและงานที่ปรึ กษา (Line and Staff Organization Structure) แบบร่ วมคิดร่ วมทา
และลักษณะรู ปแบบบูรณ าการ 4 มุมมอง (Integrated four perspective Model) และกลยุทธ์การ
ดาเนินงาน ประกอบด้วย กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการบัญชา การให้มีส่วนร่ วมในวงจากัด
การกระจายอานาจ และการสร้างขีดความสามารถให้แก่สมาชิกในองค์กร ส่วนปั จจัยการเปลี่ยนแปลง
สู่ความสาเร็จ ส่วนใหญ่ข้ ึ นอยูกบสมรรถนะส่วนบุคคลของผูบริ หารสถานศึกษา และปั จจัยที่ช่วย
                               ่ ั                        ้
ส่งเสริ ม ได้แก่ การบริ หารทรัพยากร การมีส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปฏิบติงานอย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบัน และการเปลี่ยนแปลงองค์กร
                                   ั

บทนา
        กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งทางความเจริ ญด้านเทคโนโลยี กระแสสังคมโลกา
ภิวตน์ ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ด้านการเมืองการปกครองที่มีลกษณะประชาธิปไตย ด้านกฎหมาย
   ั                                                      ั
รัฐธรรมนูญ และด้านการปฏิรูประบบบริ การสุขภาพ ส่งผลทาให้สภาพภายในประเทศเปลี่ยนแปล ง
ไป กระแสของการเปลี่ยนแป ลงต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลกระทบและเป็ นแรงผลักดันให้สภาพการจัด
การศึกษาของประเทศเปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านปรัชญาการศึกษา เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ หลักสูตร
การจัดการเรี ยนการสอน การประเมินผลการเรี ยนการสอน การนิเทศและการพัฒนาบุคลากร รู ปแบบ
การจัดการศึกษา การบริ หารจัดการ บทบาทของผูบริ หารและบุคลากรครู ผสอน การบริ หารการศึกษา
                                                ้                   ู้
มีแนวโน้มเป็ นไปในลักษณะเดียวกับการบริ หารธุรกิจที่มุ่งประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างจริ งจัง
โดยเฉพาะอย่างยิงการเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 ่                                                                   ถือเป็ น
การศึกษาที่จดขึ้นเพื่ อเตรี ยมทรัพยากรอันมีค่าของประเทศอ อกสู่ยคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง เป็ น
             ั                                                 ุ
การยกระดับคุณภาพของประชากรในประเทศให้มากขึ้นส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต

          ทฤษฎีการบริ หารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การ
                                                            ั
บริ หารการเปลี่ยนแปลงที่เด่นๆ และสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
ได้แก่ ทฤษฎีของเลวิน (Lewin, 1985 อ้างถึงใน เสริ มศักดิ์ วิศาลาภรณ์ , 2539) ซึ่ง อธิบายถึง
กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎี E และทฤษฎี O ของ ลียค (Leucke, 2003) ทฤษฎี E นั้นเป็ นการ
                                                       ุ
เปลี่ยนแปลงเป้ าหมายจากหน้ามือเป็ นหลังมืออย่างรวดเร็วโดยเน้นที่ค่านิยมที่เปลี่ยนจากบนลงสู่ล่าง
มีการใช้ที่ปรึ กษา จากภายนอกเป็ นจานวนมาก ส่วนทฤษฎี O เน้นการเปลี่ยนเป้ าหมายเพือให้    ่
เป้ าหมายมีผล การปฏิบติงานที่สูงขึ้น เน้นวัฒนธรรมที่ทรงพลังและบุคลากรที่มีความสามารถและมี
                         ั
สมรรถนะสูง แนวคิดของท ฤษฎี Hamlin (2001) ได้กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ครอบคลุม
ในมิติที่เป็ นการทาให้เกิดผลในส่วนต่างๆ ขององค์ประกอบในองค์การ อาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน
3

ผสมผสานหรื อเกิดขึ้นต่อเนื่องแต่ละประเภทก็ได้แล้วแต่บริ บทของสถานศึกษาแต่ละแห่ง อย่างไรก็
                                                            ่่
ตาม ทฤษฎีและแนวคิดทา งการบริ หารเป็ นที่ ทราบกันอยูวา “ไม่มีวธีการบริ หารแบบใด แบบหนึ่งที่
                                                                      ิ
เป็ นวิธีที่ดีที่สุด ” (No one best way) ในทางปฏิบ ั ติการเลือกใช้รูปแบบที่ดีที่สุด ที่เหมาะสมที่สุดกับ
สถานการณ์ที่เกิดในขณะนั้น และมักมีการคิดค้นพัฒนารู ปแบบการบริ หารใหม่ๆ ขึ้นมาใช้อยูเ่ สมอๆ
ดังนั้น รู ปแบบการบริ หารที่ดีจะต้องแสดงถึงความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปร นาไปสู่การ
ทานายผลที่จะตามมา โดยสามารถตรวจสอบได้ดวยข้อมูลเชิงประจักษ์ อธิบายถึงโครงสร้างหรื อ
                                                  ้
กลไกความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของเรื่ องที่กาลังทาอย่างชัดเจน นาไปสู่การสร้างแนวความคิด ใหม่หรื อ
ความสัมพันธ์ใหม่ หรื อขยายองค์ความรู ้ สอดคล้องกับทฤษฎีของเรื่ องที่จะใช้รูปแบบ

         ผูวจยในฐานะผูบริ หารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักถึงรู ปแบบการบริ หารสถานศึกษาที่ดี
           ้ิั         ้
มีความเหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการบริ หารสถานศึกษาเพือให้สถานศึกษาสู่ความเป็ นเลิศตาม
                                                        ่
เป้ าหมายของการจัดการศึกษาในสภาพการเปลี่ยนแปลงของปั จจุบน ผูวจยจึงสนใจที่จะศึกษาการ
                                                           ั ้ิั
พัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ อันจะ
เป็ นประโยชน์ท้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏิบติการ ด้านการบริ หารจัดการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน
                ั                       ั
เป็ นการเพิมประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษาโดยรวมของประเทศต่อไป
           ่

วัตถุประสงค์ในการวิจัย
        1. เพือศึกษาสภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ
                ่
        2. เพือศึกษาปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ
                  ่
        3. เพือพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
              ่
ของรัฐ

วิธีดาเนินการวิจัย
           การวิจยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวจยเชิงพรรณนา ใช้วธีการเก็บข้อมูลจากหลายแหล่งหลายวิธีการ
                 ั                       ิั                ิ
เพือตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของข้อมูล ข้อมูลของการวิจยครั้งนี้มีท้งข้อมูลเชิงปริ มาณ
   ่                                                                  ั         ั
(Quantitative Data) และข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)โดยดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
           ขั้นตอนที่ 1 กาหนดกรอบความคิดในการวิจย โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและ
                                                       ั
งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ
        ั                                                                             ้
เพือนาสาระสาคัญเป็ นข้อมูลประกอบการดาเนินการวิจย
     ่                                                   ั
           ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ โดยศึกษาสภาพและปั ญหาจากเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง โดย
                                                                                  ั
เครื่ องมือ การวิจยที่จดทาขึ้นตามกรอบความคิดของกา
                   ั ั                                         รวิจย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร
                                                                   ั
4

การวิเคราะห์ขอมูลใช้การวิเคราะห์และการสังเคราะห์เนื้อหาแล้วสรุ ปสาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ใน
                   ้
กรอบความคิดของการวิจย ศึกษาสภาพและปั ญหาโดยใช้แบบสอบถามกับบุคลากรของสถานศึกษา
                             ั
ขั้นพืนฐานที่เป็ นเลิศ วิเคราะห์ขอมูลจา กแบบสอบถามโดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
       ้                                  ้
ศึกษาสภาพและปั ญหาจากการสัมภาษณ์ผบริ หารสถานศึกษาที่เป็ นเลิศ โดยใช้เครื่ องมือเป็ นแบบ
                                                    ู้
สัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้างวิเคราะห์ขอมูลผลการสัมภาษณ์ โดยการสังเคราะห์เนื้อหา
                                                ้
           ขั้นตอนที่ 3 สร้างรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปล ง สู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ขั้น
พื้นฐานของรัฐ โดยพิจารณาร่ างรู ปแบบจากการสังเคราะห์ผลการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ผลการวิจยที่       ั
เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานของรัฐ
           ขั้นตอนที่ 4 ประเมินความเหมาะสมแ ละความเป็ นไปได้ของรู ปแบบโดยการสนทนากลุ่ม
(Focus Group Discussion) ของกลุ่มผูทรงคุณวุฒิ จานวน 18 คนโดยเลือกผูทรงคุณวุฒิร่วมกับอาจารย์
                                                  ้                          ้
ที่ปรึ กษาแบบเจาะจงบุคคล 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผูที่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูบริ หารระดับกระทรวงและ
                                                           ้             ้
สานักงานเขตพืนที่การศึกษา 2) กลุ่มนักวิชาการ /นักกฎหมาย 3) กลุ่มผูปฏิบติงานในสถานศึกษา
                       ้                                                    ้ ั
ประกอบด้วย ผูอานวยการสถานศึกษา รองผูอานวยการสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                         ้                             ้
หรื อหัวหน้างาน จากนั้นจึงวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอมูลเพือนาไปปรับปรุ งสร้างรู ปแบบต่อไป
                                                             ้    ่
           ขั้นตอนที่ 5 ปรับปรุ งพัฒนาและนาเสนอรู ปแบบ โดยการนาผลจากการศึกษาความเหมาะสม
และความเป็ นไปได้ของรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานของรัฐ จากผูทรงคุณวุฒิมาปรับปรุ งและนาเสนอรู ปแบบการบริ หารสถานศึกษา
                           ้
           ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
           การวิจยครั้งนี้ กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ น 2 ส่วน ดังนี้
                     ั
           1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์
               ประชากรที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาต้นแบบสถานศึกษา ประเภทที่1 จานวน 609 คน
                                      ้
               กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาต้นแบบสถานศึกษา ประเภทที่ 1 จานวน 9 คน
                                            ้
ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กระจายตามเขตตรวจราชการ
           2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสอบถาม
               ประชากรที่ใช้ คือ ผูบริ หารหรื อผูรักษาการในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา รองผูบริ หาร
                                        ้                ้             ้                    ้
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ หรื อหัวหน้างานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็ นเลิศ
               กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาหรื อผูรักษาการในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา
                                              ้                 ้                  ้
รองผูบริ หาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หรื อหัวหน้างาน จานวนทั้งสิ้น 482 คน ซึ่งได้มา โดยวิธี การ
         ้
สุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling)
5

        เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย
        1. แบบวิเคราะห์เอกสาร มีลกษณะเป็ นแบบวิเคราะห์เอกสารที่สร้างขึ้น เพือวิเคราะห์และ
                                        ั                                   ่
สังเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้องตามกรอบความคิดในการ
                                                         ั
วิจย
   ั
        2. แบบสัมภาษณ์ เป็ นแบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้สาหรับสั            มภาษณ์ผบริ หาร
                                                                                     ู้
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็ นเลิศ เพือสอบถามรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศ
                                      ่
ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ
        3. แบบสอบถาม เป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) สาหรับสอบถามบุคลากรของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐที่เป็ นเลิศ เพือสารวจสภาพแ ละปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่
                                          ่
ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ

ผลการศึกษา
         1. ผลการศึกษาสภาพและปั ญหากระบวนการบริ หาร มีรายละเอียดดังนี้
                 1) ด้านการกาหนดเป้ าหมาย วิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ มีการกาหนดทิศทาง
โดยคานึงถึงความต้องการ/ ความจาเป็ น แต่การกาหนดเป้ าหมายไม่ชดเจน
                                                              ั
                 2) ด้านการกาหนดนโยบาย ไม่ได้สะท้อนปั ญหาที่แท้จริ งของสถานศึกษา การ
กาหนดเป้ าหมาย ไม่ได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการอย่างแท้จริ ง และการกาหนดกลยุทธ์
                   ั
ต่างๆ ไม่สมพันธ์กบกลยุทธ์ขององค์กร
              ั
                 3) ด้านการวางแผน มีการวิเคราะห์งานหลักที่ สาคัญและจาเป็ นของสถานศึกษา
กาหนดผูรับผิดชอบหลักในทุกขั้นตอน การขับเคลื่อนกระบวนการบริ หารเป็ นแบบล่างขึ้นบน แต่การ
          ้
วางแผนไม่เป็ นตามลาดับขั้นตอน ขาดระบบระเบียบวิธีการปฏิบติงานที่ชดเจน คณะทางานขาดการ
                                                           ั       ั
ทางานเป็ นทีม การประสานงาน และการเดินไปในทิศทางเดียวกัน กา รพิจารณาจานวนบุคลากรไม่
            ั
สัมพันธ์กบจานวนงานในสถานศึกษา
                 4) ด้านงบประมาณ มีการจัดทาแผนงบประมาณ ที่สอดคล้องกับนโยบายของ
โรงเรี ยน มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร สามารถกาหนดงบประมาณ มาใช้เพือการจัดการเรี ยนการ
                                                                          ่
สอนอย่างเหมาะสม แต่มีงบประมาณไม่เพียงพอ และกฎ ระเบียบไ            ม่เอื้อต่อการให้อานาจการ
ตัดสินใจ
                 5) ด้านการนาแผนไปปฏิบติ มีการแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบติ โดยจัดทาเป็ นแผน
                                         ั                              ั
                                                      ั ้
ประจาปี มีการกระจายงานและอานาจในการตัดสินใจให้กบผูบริ หารและบุคลากร การขับเคลื่อน
กระบวนการบริ หาร เป็ นแบบล่างขึ้นบน แต่การประสานงานในการนาแผนไปปฏิบติ สร้างความ
                                                                              ั
สับสน เข้าใจไม่ตรงกัน การมอบหมายไม่ชดเจน
                                       ั
6

                       6) ด้านการประเมินผล มีการประเมินตนเองทุกปี การศึกษา เพือติดตาม
                                                                                ่
ความก้าวหน้าของสถานศึกษา มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร สามารถประเมินผล และนามาใช้ใน
การจัดการเรี ยนการสอนอย่างเหมาะสม แต่การประเมินผลการปฏิบตงา นไม่ครบถ้วนตามแผนการ
                                                                      ัิ
ปฏิบติงาน
       ั
             2. ผลการพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานของรัฐ มีรายละเอียดดังนี้
             ส่ วนที่ 1 ชื่อรู ปแบบ
                       รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ
รัฐ ที่ผวจยพัฒนาขึ้น ใช้แนวคิดรู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ยงยืนและสมดุลของ สตีฟ
         ู้ ิ ั                                                           ั่
ไตรเวตต์ (Steve Trivett) ประกอบด้วยมุมมอง 4 แบบ คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top Down) มุมมอง
จากล่างขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside –In) และมุมมองภายในสู่
ภายนอก (Inside–Out)โดยบูรณาการตามความเหมาะสมกับบริ บทของสถานศึกษากาหนดชื่อเฉพาะ
ว่า “รู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง(Integrated four perspective Model)” รายละเอียด ดังแผนภาพ
7

             รู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ
                                                                              ้
องค์ประกอบของรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา
ส่วนที่ 1 ชื่อรู ปแบบ
ส่วนที่ 2  แนวคิด              หลักการ                  วัตถุประสงค์
ส่วนที่ 3  โครงสร้าง           กระบวนการ                รู ปแบบการเปลี่ยนแปลง




ส่วนที่ 4  กลยุทธ์ในการดาเนินงานและปั จจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จ

                            แผนภาพ รู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง

  ส่ วนที่ 2 แนวคิด หลักการ และวัตถุประสงค์
           2.1 แนวคิด
           การบริ หารเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาเป็ นกระบวนการดาเนินงานของ
สถานศึกษาโดยอาศัยคนซึ่งได้แก่ ผูบริ หารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนและอาศัยทรัพยากรต่างๆ
                                    ้
เพือให้การดาเนินงานของสถานศึกษาบรรลุวตถุประสงค์เกิดผลงานที่โดดเด่นมีคุณภาพสูงเหนือกว่า
   ่                                         ั
8

ธรรมดาสามารถเป็ นแบบอย่างแก่สถานศึกษาอื่นได้ การบริ หารการเปลี่ยนแป ลงไปสู่ภาวะใดภาวะ
หนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลง 4 ด้าน หลัก ๆ คือ
                                         ่
          1) การปรับโครงสร้างสร้าง ไม่วาจะเป็ นการลดขนาด การปั บอัตรากาลังหรื อตาแหน่ง
          2) การเพิมบทบาทหน้าที่และบริ การใหม่เพิมเติมจากที่มีอยูเ่ ดิม ส่งผลทาให้มีส่วนงานหรื อ
                    ่                                 ่
กระบวนการทางานใหม่รวมทั้งทักษะความรู ้ใหม่ๆ ที่ตองมีมากขึ้น้
          3) การเปลี่ยนผูนา ผูนาคนใหม่จะนาการเปลี่ ยนแปลงมาสู่องค์กรเสมอไม่วาจะเป็ นรู ปแบบ
                          ้ ้                                                     ่
การทางาน สภาพแวดล้อมที่ผนาชอบหรื อคุนเคย
                                ู้          ้
          4) การปรับตัวให้ทนการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีทาให้ระบวนการทางาน
                              ั
เปลี่ยนรู ปแบบเพือให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิงขึ้นเปลี่ยนรู ปแบบเพือใ ห้มีประสิทธิภาพและ
                  ่                                 ่                   ่
รวดเร็วยิงขึ้น
          ่
          2.2 หลักการ
          รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐมี
หลักการ ดังนี้
          1) หลักการทัวไป ยึดหลักการจัดการศึกษาดังนี้
                       ่
                  1.1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวตสาหรับประชาชน
                                              ิ
                  1.2) ให้สงคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
                            ั
                  1.3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง
          2) หลักการกากับรู ปแบบ มีดงนี้
                                       ั
                  2.1) การบริ หารการเปลี่ยนแปลง เป็ นกระบวนการดาเนิ นงานอย่างเป็ นระบบ ตาม
แผนที่จดทาไว้
        ั
                  2.2) การบริ หารแบบร่ วมคิดร่ วมทา เป็ นการบริ หารจัดการที่คนกลุ่มน โยบายและ
กลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการต้องร่ วมมือกันอย่างดียง และปฏิบติงานสอดคล้องประสานกัน
                                                        ิ่    ั
                  2.3) รู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เป็ นรู ปแบบที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ขององค์กรประกอบด้วย มุมมอง 4 มุมมอง คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top- Down) มุมมองจากล่าง
ขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside–In) และมุมมองภายในสู่ภายนอก
(Inside–Out)
                  2.4) การบริ หารสู่ความเป็ นเลิศ เป็ นกระบวนการดาเนินงานให้บรรลุวตถุประสงค์
                                                                                      ั
โดยอาศัยคนและทรัพยากรต่างๆ ผ่านกระบวนการทางบริ หาร จนมีผลงานที่มีคุณภาพสามารถเป็ น
แบบอย่างที่ดีแก่องค์กรอื่นๆ ได้
                  2.5) กลยุทธ์การดาเนินงาน เป็ นการวางแผนงานสู่การปฏิบติเพือให้งานบรรลุ
                                                                            ั ่
เป้ าหมาย ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
9

                  2.6) ปั จจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จ เป็ นปั จจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้การบริ หารการ
เปลี่ยนแปลงประสบผลสาเร็จ ปั จจัยหลักได้แก่ สมรรถน ะของผูบริ หาร รู ปแบบการทางานและ
                                                                      ้
บุคลากร
         2.3 วัตถุประสงค์
         การบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ มี
วัตถุประสงค์ ดังนี้
                  1) วัตถุประสงค์ทวไป ั่
                     1.1) เพือให้มีรูปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา
                                  ่
ขั้นพื้นฐานของรัฐ ที่สอดคล้องกับบริ บทสังคมไทยและมีความสามารถปรับตัว ภายใต้การมีส่วนร่ วม
ตัดสินใจจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
                     1.2) เพือให้กระทรวงศึกษาธิการนาไปเป็ นข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบาย
                                    ่
การบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐต่อไป
                  2) วัตถุประสงค์เฉพาะ
                     2.1) เพือเสริ มสร้างประสิทธิภาพการบริ หารจัดการสถานศึกษา
                              ่
                     2.2) เพือพัฒนาศักยภาพของผูบริ หาร ครู และบุคลากร
                                ่                 ้

             ส่ วนที่ 3 โครงสร้ าง กระบวนการและรู ปแบบการเปลี่ยนแปลง
             3.1 โครงสร้ างการบริหาร
                 โครงสร้างการบริ หารมีลกษณะโครง สร้างแบบงานหลักและงานที่ปรึ กษา ( Line and
                                         ั
Staff Organization Structure) เป็ นโครงสร้างของสถานศึกษาที่มีโครงสร้างกว้างขวางและซับซ้อน
ยากที่จะบริ หารโดยผูบริ หารแต่เพียงคนเดียวได้ จาเป็ นต้องมีหน่วยงานอื่นเข้ามาช่วยเหลือและให้
                           ้
คาปรึ กษา ซึ่งหน่วยงานที่ปรึ กษาไม่มีอานาจในการสังการใด ๆ มีหน้าที่เฉพาะช่วยเหลือให้คาปรึ กษา
                                                        ่
เท่านั้น เช่น สมาคมผูปกครอง สมาคมศิษย์เก่า ผูปกครองเครื อข่าย และมีคณะกรรมการสถานศึกษา
                             ้                      ้
ขั้นพื้นฐาน เพือทาหน้าที่กากับและส่งเสริ มสนับสนุน กิจการของสถานศึกษา ตามการจัดโครงสร้าง
                   ่
ตามพระราชบัญญัติระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 38 มีอานาจสังการได้ใน   ่
บางเรื่ องตามมติที่ประชุม เช่น การอนุมติแผนปฏิบติงานประจาปี หลักสูตร และการวัดผล
                                           ั          ั
ประเมินผล เป็ นต้น จากการสัมภาษณ์ และแบบสอบถามปลายเปิ ด การมอบหมายงานรอง
ผูอานวยการสถานศึกษา กลุ่มบริ หารวิชาการ สังการไปยังกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ส่วนใหญ่พบว่ายังไม่
   ้                                              ่
เกิดประสิทธิภาพเพราะขาดภาวะผูนาทาให้งานล่าช้า ขาดการติดตามงานทาให้ผบริ หารสถานศึกษา
                                       ้                                      ู้
ต้องดาเนินการสังการและติดตามงานด้วยตนเอง จึงควรเพิมสายบังคับบัญชาลงมายังกลุ่มสาระการ
                       ่                                  ่
เรี ยนรู ้ดวยเพราะเป็ นหัวใจของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังรู ป
           ้
10




       คณะกรรมการ                                  ผูอานวยการ
                                                     ้                       คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
         มูลนิธิฯ                                                                                  ฐาน
      สมาคมผูปกครอง
             ้

     ผูปกครองเครื อข่าย
       ้

       หน่วยตรวจสอบ                                                             คณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยน
           ภายใน
     รองฯกลุ่ม           รองฯกลุ่ม            รองฯกลุ่ม          รองฯกลุ่ม                   รองฯกลุ่ม          รองฯกลุ่ม
      บริ หาร             บริ หาร              บริ หาร            บริ หาร                   บริ หาร            บริ หารนโยบาย
      วิชาการ           งบประมาณ               บุคคล              ทัวไป                 กิจการนักเรี ยน            และแผน
                                                                    ่

         หัวหน้างาน        หัวหน้างาน          หัวหน้างาน          หัวหน้างาน                 หัวหน้างาน          หัวหน้างาน

         หัวหน้างาน        หัวหน้างาน          หัวหน้างาน          หัวหน้างาน                 หัวหน้างาน          หัวหน้างาน
            ฯลฯ                ฯลฯ                ฯลฯ                 ฯลฯ                        ฯลฯ                 ฯลฯ



    กลุ่มสาระฯ    กลุ่มสาระฯ     กลุ่มสาระฯ      กลุ่มสาระฯ   กลุ่มสาระฯ        กลุ่มสาระฯ        กลุ่มสาระฯ   กลุ่มสาระฯ


                      แผนภาพ โครงสร้ างการบริหารสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ
                                                               ้

        3.2 กระบวนการ
        บริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาอาศัยแนวคิด กระบวนการบริ หาร
จัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทาเป็ นการรวมเอาลักษณะและกลวิธีต่างๆ ให้สมพันธ์กบการเป็ นผูนาและการ
                                                               ั      ั          ้
เปลี่ยนแปลงมีลกษณะการบริ หารจัดการ ดังนี้
               ั
        1) การบริ หารจัดการของคน กลุ่มกาหนดนโยบาย (Policy Group) และกลุ่มจัดทา
แผนงาน/โครงการ (Program Group) ปฏิบติงานร่ วมมือกันอย่างดียง
                                   ั                       ิ่
                                                              ั
        2) การบริ หารจัดการเป็ นความร่ วมมือและประสานสัมพันธ์กนระหว่างบุคลากรทั้งหมด
ของโรงเรี ยนรวมถึงนักเรี ยนและชุมชน
        3) การบริ หารจัดการเน้นการทาหน้าที่หลักของโรงเรี ยน คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยน
11

การสอน
        4) กลุ่มกาหนดนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการบริ หารทาหน้าที่สาคัญ 4 ประการ คือ
กาหนดเป้ าหมายและวิเคร าะห์ปัญหา /ความต้องการ กาหนดนโยบาย กาหนดงบประมาณและ
ประเมินผล สาเร็จตามเป้ าหมาย นโยบายและการสนองตอบต่อปั ญหา/ความต้องการ
        5) กลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการ ได้แก่ คณะครู เจ้าหน้าที่ มีหน้าที่จดทาแผนงาน/
                                                                        ั
โครงการที่สอดคล้องกับเป้ าหมายและนโยบาย
        6) แผนงาน/โครงการที่จดทาสะท้อนถึงทิศทางการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่ดาเนิ นงานตามแผน
                             ั
        7) การนาแผน/โครงการไปปฏิบติและประเมินผลเป็ นภารกิจสาคัญของกลุ่มจัดทา
                                 ั
แผนงาน/โครงการ
        8) กลุ่มกาหนดนโยบายและกลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการมีการแบ่งหน้าที่กนอย่างชัดเจน
                                                                       ั
แต่มีบางกิจกรรมปฏิบติงานอยูท้งสองกลุ่ม
                   ั       ่ ั

        กระบวนการบริหารจัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทาประกอบด้ วยขั้นตอนต่ างๆ ดังนี้
        ขั้นที่ 1 การกาหนดเป้ าหมาย และวิเคราะห์ ปัญหา/ความต้ องการ (Goal Setting and
Need Identification) การกาหนดเป้ าหมาย (Goal) เป็ นการกาหนดข้อความแสดงทิศทางอย่าง
กว้างๆ รวมถึงวัตถุประสงค์หรื อความต้องการไม่มีการกาหนดช่วงเวลา เป้ าหมายของสถานศึกษาจะ
แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยน ส่วนการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการนั้นจะ
พิจารณาจากสิ่งที่เป็ นจริ งกับสิ่งที่ควรจะเป็ นว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด แล้วนาปั ญหาและ
ความต้องการในแต่ละด้านมาจัดลาดับความสาคัญ
        ขั้นที่ 2 การกาหนดนโยบาย (Policy Making) การกาหนดนโยบายเป็ นการกาหนดข้อความที่
แสดงถึงวัตถุประสงค์และแนวทางที่จะดาเนินการเพือให้วตถุประสงค์ประสบความสาเร็จ และ
                                                       ่   ั
กาหนดกรอบเป็ นแนวปฏิบติดวยโดยปกตินโยบายกาหนดจากปรัชญาการศึกษาและเป้ าหมาย
                              ั ้
การศึกษาที่สถานศึกษายอมรับและกาหนดขึ้น พร้อมเสนอแนวทางปฏิบติประกอบไว้อย่างชัดเจนง่าย
                                                                        ั
ต่อการนาไปปฏิบติ   ั
        ขั้นที่ 3 การวางแผน (Planning) การวางแผนเป็ นการคิดก่อนที่จะลงมือปฏิบติ คือคิดว่าจะทา
                                                                                  ั
อะไร ทาเมื่อไร ทาอย่างไร และใครเป็ นคนทา
        ขั้นที่ 4 การกาหนดงบประมาณ (Budgeting) การกาหนดงบประมาณของสถานศึกษาเป็ น
การแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน กลุ่มจัดทาแผนงาน /โครงการ ต้องเตรี ยมข้อมูลด้าน
12

งบประ มาณและวิเคราะห์สถานภาพของสถาน ศึก ษานามาจั ดทาแผนปฏิบ ั ติการเพือสนับสนุน      ่
โครงการอย่างทัวถึงและเหมาะสม
                    ่
           ขั้นตอนที่ 5 การนาแผนไปปฏิบัติ (Implementing) เมื่อการจัดทาแผนเป็ นที่ยอมรับของทุก
ฝ่ ายแล้วรายละเอียดของแผนที่กลุ่มกาหนดนโยบายให้ความเห็นชอบแล้วกลุ่มจัดทาแผนงาน                 /
โครงการก็สามารถนาแผนไปปฏิบติได้    ั
           ขั้นตอนที่ 6 การประเมินผล ( Evaluating) เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือจุดประสงค์ในการ
                                                                              ่
ตัดสินใจ และต้อง ตัดสินใจว่าถูกหรื อผิดจากข้อมูล การประเมินผลจะต้องทาในระหว่างดาเนินงาน
และภายหลังการปฏิบติงานตามแผนเสร็จสิ้น
                         ั
           การบริ หารจัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทานั้นจะส่งผลกระทบก็ต่อเมื่อผลของการดาเนินโครงการ
ก่อให้เกิดเป้ าหมายใหม่ ปั ญหาความต้องการใหม่ กาหนดนโยบายใหม่หรื อมีโครงการใหม่ ๆ เกิดขึ้น
           3.3 รู ปแบบการเปลี่ยนแปลง
           การบริ หารการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง (Integrated four perspective Model)
ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบคือ
           1) การเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ โครงสร้าง เทคโนโลยี คนและวัฒนธรรม
           2) รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลง 4 มุมมอง ได้แก่ คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top -
Down) มุมมองจากล่างขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside–In) และมุมมอง
ภายในสู่ภายนอก (Inside–Out)
           3) กระบวนการร่ วมคิดร่ วมทาได้แก่ การกาหนดเป้ าหมายและวิเคราะห์ปัญหาความต้อง การ
การกาหนดนโยบาย การวางแผน การกาหนดงบประมาณ การทาแผนไปปฏิบตและการประเมินผล  ัิ
           4) ระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยในแต่ละองค์ประกอบมีความสอดคล้องสัมพันธ์กน และ     ั
        ่ั
ขึ้นอยูกบรู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง 4 มุมมอง คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top- Down)
เช่น กระทรวงหรื อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบาย หรื อ การนาเสนอ ความ
คิดเห็น กระบวนการทางานโครงสร้างต่าง ๆ ก็ อาจถูกนาเสนอจากล่างขึ้นบนได้ และเมื่อเกิดการ
ยอมรับก็จะทาให้งานสาเร็จลุล่วงด้วยดี มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน เช่น ด้านเทคโนโลยี ปั จจุบน     ั
สถานศึกษาต้องปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีให้ทนสมัยและรวดเร็ว ส่วนมุมมองภายในสู่ภายนอก เช่น ครู
                                           ั
คิดนวัตกรรมอบรมคุณธรรมจริ ยธรรมนักเรี ยนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาเพือป้ องกัน ่
ปั ญหายาเสพติด ดังนั้น การบริ หารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาต้องอาศัยกระบวนการบริ หารแบบ
ร่ วมคิดร่ วมทา 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การกาหนดเป้ าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การกาหนด
นโยบาย 3) การวางแผน 4)การกาหนดงบประมาณ 5) การนาแผนไปปฏิบติและ 6) การประเมินผล
                                                                        ั
ทั้งนี้ในการดาเนินงานแต่ละส่วนต้องใช้วงจรคุณภาพ PDCA กากับโดยมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงทุก
ส่วน
13

        ส่ วนที่ 4 กลยุทธ์ การดาเนินงานและปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ
        4.1 กลยุทธ์ การดาเนินงาน
            รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ มี
กลยุทธ์การดาเนินงานสู่ความสาเร็จดังนี้
            1) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการบัญชาการเป็ นการที่ผบริ หารคิดริ เริ่ มและใช้
                                                                     ู้
อานาจบัญชาการปรับเปลี่ยนส่วนต่างๆ ขององค์กร
          2) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการให้มีส่วนร่ วมในวงจากัด เป็ นวิธีการเปิ ด
โอกาสให้บุคลากรทีมีความสาคัญโดยตาแหน่งหน้าที่หรื อการยอมรับอย่างไม่เป็ นทางการ
          3) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการกระจายอานาจเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ทุกคนมี
                                                                                  ่
ส่วนริ เริ่ มและดาเนินการเปลี่ยนแปลงองค์กรทั้งในส่วนที่ตนรับผิดชอบและในส่ วนที่อยูนอกเหนือ
ความรับผิดชอบ
          4) กลยุทธ์แบบผสม เป็ นการนากลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงหลายๆ แบบมาใช้ร่วมกัน
อาจใช้กลยุทธ์การบัญชาการโดยผูบริ หารสูงสุดประกอบกับการสร้า งทีมงานการปรับระบบงานของ
                             ้
ฝ่ ายต่างๆ และเสริ มด้วยการจัดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพในระดับปฏิบตการ
                                                           ัิ
          5) กลยุทธ์การพัฒนาองค์กร เป็ นกลยุทธ์ท่มุ่งสร้างขีดความสามารถให้แก่สมาชิกใน
                                                 ี
องค์กร ด้วยการมองปั ญหา แก้ปัญหาและเรี ยนรู ้ร่วมกันโดยอาศัยที่ปรึ กษา
         4.2 ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ
         ปั จจัยที่ช่วยการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จซึ่งส่วนใหญ่ข้ ึนอยูกบสมรรถนะส่วน
                                                                                ่ ั
บุคคลของผูบริ หารสถานศึกษา ดังนั้นปั จจัย การบริ หารการเปลี่ยนแปลงซึ่งประกอบด้วย 1) ภาวะ
              ้
ผูนา 2)ความเป็ นอิสระในการบริ หาร 3)ความร่ วมมือของบุคลากร 4)โครงการที่ดีและมีความ
  ้
เหมาะสม 5)การกระจายอานาจ 6)แรงจูงใจ 7)วิสยทัศน์ 8)การบริ หารบุคลากร 9)การบริ หาร
                                                     ั
ทรัพยากร 10)การมีส่วนร่ วมของบุคลากร 11)เครื อข่ายภายนอก 12)การจัดการปั ญหา 13)การ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง 14)การปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม 15)ความเป็ นสถาบัน 16)การเปลี่ยนแปลง
                                   ั
องค์กร ซึ่งสี่ปัจจัยแรกจะเป็ นสมรรถนะของผูบริ หารสถานศึกษาที่มีทกษะความเป็ นผูนา ส่วนเรื่ อง
                                              ้                      ั                ้
                                                ่ ั
ความเป็ นอิสระในการบริ หารโรงเรี ยนจะขึ้นอยูกบนโยบายของโรงเรี ยนความร่ วมมือของบุคลากร
ผูบริ หารซึ่งมีส่วนสาคัญในการสร้างความศรัทธาให้แก่บุคลากรและตัวบุคลากรเองก็ตองมีสมรรถนะ
    ้                                                                               ้
ที่ดีและปั จจัยสุดท้ายคือ โครงการที่ดีและมีความเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน ชุมชนและ
วัฒนธรรม นอกจากนี้ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนามาสู่ความสาเร็จได้แก่ การ
14

บริ หารทรัพยากร การมีส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา การพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง การปฏิบติงานอย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบันและการเปลี่ยนแปลงองค์กรซึ่งจะเป็ นปั จจัย
                      ั
ที่ส่งผลต่อการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จของสถานศึกษาได้อย่างยังยืน ผูบริ หารซึ่งมีส่วน
                                                                           ่      ้
สาคัญในการส ร้างความศรัทธาให้แก่บุคลากรและตัวบุคลากรเองก็ตองมีสมรรถนะที่ดีและปั จจัย
                                                                    ้
สุดท้ายคือ โครงการที่ดีและมีความเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน ชุมชนและวัฒนธรรม นอกจากนี้
ปั จจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนามาสู่ความสาเร็จได้แก่ การบริ หารทรัพยากร การมี
ส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปฏิบติงาน ั
อย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบันและการเปลี่ยนแปลงองค์กร

อภิปรายผลการศึกษา
          1. ผลการศึกษาสภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของรัฐ มีความสอดคล้องกับแนว คิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพศึกษาของ บาร์โทล (Bartol, 1998) ที่
กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาเป็ นการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างองค์กร หรื อออกแบบ
งานใหม่ มีการปรับกระบวนการของงานโดยใช้เทคโนโลยี และพัฒนาคนในเรื่ องทัศนคติความ
คาดหวัง การรับรู ้และพฤติกรรมการปฏิบติ งานโดยการสร้างความหมายร่ วมกันขององค์กรเป็ น
                                       ั
วัฒนธรรมองค์กร และผลการวิจยของ ศานิตย์ เชยชุ่ม (2543) เรื่ องของแนวทางการบริ หารเพือความ
                               ั                                                       ่
เป็ นเลิศ ของสถานศึกษาเอกชน ซึ่งพบว่า การบริ หารงานเพือความเป็ นเลิศ มีการบริ หารงานด้าน
                                                        ่
               ่
โครงสร้างอยูในระดับมากเป็ นลาดับที่ 1 ขององค์ประกอบและในองค์ประกอบย่อย ส่วนผลการศึกษา
ปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความ สอดคล้องกับ
รายงานการวิจย เรื่ องสภาพและปั ญหาการบริ หารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาใน
                 ั
ประเทศไทย (ธีระ รุ ญเจริ ญ , 2545) ที่พบว่า กา รบริ หารและจัดการศึกษามีปัญหาอุปสรรคด้าน
งบประมาณและอาคารสถานที่ คือ งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอที่จะดาเนินการได้ตามแผนที่
กาหนดไว้และสถานศึกษาไม่สามารถจัดหางบประมาณเพิมเติมนอกเหนือจากงบประมาณและรายได้
                                                      ่
ในปั จจุบน และผลการวิจยของ รัตนวดี จันทร์น้ าใส (2552) เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการต่อต้านการ
           ั            ั
เปลี่ยนแปลงในองค์การขอบงนักงานบริ ษทเอกชนในกรุ งเทพมหานคร ที่พบว่า เมื่อองค์การมีการ
                                         ั
เปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยี และเป้ าหมายการดาเนินงานของผูบริ หารจะส่งผลต่อพฤติกรรมการ
                                                             ้
ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงโดยทางตรงและแสดงออกอย่างเปิ ดเผย
          2. ผลการพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานของรัฐ มีความสอดคล้องกับผลการศึกษาของ วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ (2547) เรื่ องการพัฒนา
รู ปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามแนวทางพระราชบัญญั ติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่พบว่า ยุทธศาสตร์การดาเนินงานสู่ผลสาเร็จของการจัดการศึกษาแบบ
15

กระจายอานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่ วม ยุทธศาสตร์การ
มอบงาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์การกากับติดตามงาน ยุทธศาสตร์การใช้
เทคโนโลยี ยุทธศาสตร์การร ะดมทรัพยากร ยุทธศาสตร์การประสานงาน ยุทธศาสตร์การบูรณาการ
และยุทธศาสตร์การบริ หารที่เน้นคุณภาพทั้งองค์กร

รายการอ้ างอิง
ธีระ รุ ญเจริ ญ. รายงานการวิจัยเรื่องสภาพและปัญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพืนฐาน ้
          ของสถานศึกษาในประเทศไทย. 2546. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.onec.go.th/
          publiccation/tera/tera.pdf [2 มิถุนายน 2550]
ปองสิน วิเศษศิริ. แนวคิด ทฤษฎีและรู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาขั้น
          พืนฐาน. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอนวิชากระบวนการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม
             ้
          ในองค์การทางการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร: คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ . การพัฒนารู ปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอานาจในสถานศึกษา
          ขั้นพืนฐานตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
                ้
          ดุษฎีบณฑิต สาขาวิชาบริ หารการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
                  ั
ศานิตย์ เชยชุ่ม. แนวทางการบริหารงานเพื่อความเป็ นเลิศของโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
          มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
เสริ มศักดิ์ วิศาลาภรณ์. ความขัดแย้ ง: การบริหารเพื่อความสร้ างสรรค์. กรุ งเทพมหานคร: ต้นอ้อ,
          2539.
Bartol, M. K., and Martin, C. D. Management. 3rd ed. New York: McGraw-Hill, 1998.
Hamlin, B., Keep, J., and Ash, K. Organizational Change and Development: A Reflective
          Guide for Managers, Trainers and Developers. Harlow: Financial Times/Financial
          Hall, 2001.
Lewin, K. Model for Organization Change. Frontier in Group Dynamics. New York: Harper &
          Row, 1985.
Leucke, R. Managing Change and Transition. Boston: Harvard Business School Press, 2003.

More Related Content

What's hot

๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 

What's hot (20)

๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 

Similar to บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...Siriratbruce
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4benty2443
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4wanneemayss
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249gam030
 

Similar to บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ (20)

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
A1
A1A1
A1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Teerapong12
Teerapong12Teerapong12
Teerapong12
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ

  • 1. 1 การพัฒนารู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ ้ เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ รศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกษ์ ั รศ.ดร.วีระวัฒน์ อุทยรัตน์ ั THE DEVELEPMENT OF A CHANGE MANGEMENT MODEL TOWARD THE EXCELLENCE OF PUBLIC BASIC EDUCATION INSTITUTIONS. CHERDSAK SUPPASOPON PRUET SIRIBANPITAK WEERAWAT UIAIRAT บทคัดย่ อ การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพือศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลง ั ั ่ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ตลอดจนพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ น เลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ กลุ่มตัวอย่างในการวิจย ประกอบด้วย ผูบริ หารสถานศึกษาขั้น ั ้ พื้นฐานที่เป็ นเลิศ จานวน 9 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และผูรักษา ้ ในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา รองผูบริ หาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หรื อหัวหน้ างาน จานวน ้ ้ ทั้งสิ้น 471 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling) เครื่ องมือที่ใช้ในการ วิจย ประกอบด้วย แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม ผลการวิจยพบว่า ั ั 1) สภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา มีการกาหนดทิศทางการบริ หารงาน โดยคานึงถึง ความต้องการ/ ความจาเป็ น มีการวิเคราะห์งานหลักที่สาคัญและจาเป็ นของสถานศึกษา มีการจัดทา แผนงบประมาณที่สอดคล้องกับนโยบายของโรงเรี ยน มีการแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบตโดยจัดทาเป็ น ัิ แผนประจาปี การขับเคลื่อนกระบวนการบริ หารเป็ นแบบล่างขึ้นบน มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร สามารถประเมินผล และนามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างเหมาะสม 2) ปั ญหาการบริ หาร การเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา คือ การกาหนดนโยบายไม่ได้สะท้อนปั ญหาที่แท้จริ งของ สถานศึกษา การกาหนดเป้ าหมายไม่ได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการอย่างแท้จริ ง และการ กาหนดกลยุทธ์ต่างๆ ไม่สมพันธ์กบกลยุทธ์ขององค์กร ขาดการทางานเป็ นทีม จานวนบุคลากรไม่ ั ั ั สัมพันธ์กบจานวนงาน มีงบประมาณไม่เพียงพอ กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการให้อานาจการตัดสินใจ และการประเมินผลการปฏิบติงานไม่ครบถ้ว นตามแผนการปฏิบติงาน 3) รู ปแบบการบริ หารการ ั ั เปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ที่ควรจะเป็ น คือ รู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง ประกอบด้วย มุมมองจากบนลงล่าง (Top - Down) มุมมองจากล่างขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside –In) และมุมมองภายในสู่ภายนอก (Inside–Out)
  • 2. 2 แนวคิด หลักการ และวัตถุ ประสงค์ ประกอบด้วย การปรับโครงสร้าง การเพิมบทบาท ่ หน้าที่และบริ การใหม่ การเปลี่ยนผูนา และการปรับตัวให้ทนการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ้ ั โครงสร้างการบริ หารแบบ งานหลักและงานที่ปรึ กษา (Line and Staff Organization Structure) แบบร่ วมคิดร่ วมทา และลักษณะรู ปแบบบูรณ าการ 4 มุมมอง (Integrated four perspective Model) และกลยุทธ์การ ดาเนินงาน ประกอบด้วย กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการบัญชา การให้มีส่วนร่ วมในวงจากัด การกระจายอานาจ และการสร้างขีดความสามารถให้แก่สมาชิกในองค์กร ส่วนปั จจัยการเปลี่ยนแปลง สู่ความสาเร็จ ส่วนใหญ่ข้ ึ นอยูกบสมรรถนะส่วนบุคคลของผูบริ หารสถานศึกษา และปั จจัยที่ช่วย ่ ั ้ ส่งเสริ ม ได้แก่ การบริ หารทรัพยากร การมีส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปฏิบติงานอย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบัน และการเปลี่ยนแปลงองค์กร ั บทนา กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้งทางความเจริ ญด้านเทคโนโลยี กระแสสังคมโลกา ภิวตน์ ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ด้านการเมืองการปกครองที่มีลกษณะประชาธิปไตย ด้านกฎหมาย ั ั รัฐธรรมนูญ และด้านการปฏิรูประบบบริ การสุขภาพ ส่งผลทาให้สภาพภายในประเทศเปลี่ยนแปล ง ไป กระแสของการเปลี่ยนแป ลงต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลกระทบและเป็ นแรงผลักดันให้สภาพการจัด การศึกษาของประเทศเปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านปรัชญาการศึกษา เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ หลักสูตร การจัดการเรี ยนการสอน การประเมินผลการเรี ยนการสอน การนิเทศและการพัฒนาบุคลากร รู ปแบบ การจัดการศึกษา การบริ หารจัดการ บทบาทของผูบริ หารและบุคลากรครู ผสอน การบริ หารการศึกษา ้ ู้ มีแนวโน้มเป็ นไปในลักษณะเดียวกับการบริ หารธุรกิจที่มุ่งประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างจริ งจัง โดยเฉพาะอย่างยิงการเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ่ ถือเป็ น การศึกษาที่จดขึ้นเพื่ อเตรี ยมทรัพยากรอันมีค่าของประเทศอ อกสู่ยคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง เป็ น ั ุ การยกระดับคุณภาพของประชากรในประเทศให้มากขึ้นส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ทฤษฎีการบริ หารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การ ั บริ หารการเปลี่ยนแปลงที่เด่นๆ และสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ได้แก่ ทฤษฎีของเลวิน (Lewin, 1985 อ้างถึงใน เสริ มศักดิ์ วิศาลาภรณ์ , 2539) ซึ่ง อธิบายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎี E และทฤษฎี O ของ ลียค (Leucke, 2003) ทฤษฎี E นั้นเป็ นการ ุ เปลี่ยนแปลงเป้ าหมายจากหน้ามือเป็ นหลังมืออย่างรวดเร็วโดยเน้นที่ค่านิยมที่เปลี่ยนจากบนลงสู่ล่าง มีการใช้ที่ปรึ กษา จากภายนอกเป็ นจานวนมาก ส่วนทฤษฎี O เน้นการเปลี่ยนเป้ าหมายเพือให้ ่ เป้ าหมายมีผล การปฏิบติงานที่สูงขึ้น เน้นวัฒนธรรมที่ทรงพลังและบุคลากรที่มีความสามารถและมี ั สมรรถนะสูง แนวคิดของท ฤษฎี Hamlin (2001) ได้กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ครอบคลุม ในมิติที่เป็ นการทาให้เกิดผลในส่วนต่างๆ ขององค์ประกอบในองค์การ อาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน
  • 3. 3 ผสมผสานหรื อเกิดขึ้นต่อเนื่องแต่ละประเภทก็ได้แล้วแต่บริ บทของสถานศึกษาแต่ละแห่ง อย่างไรก็ ่่ ตาม ทฤษฎีและแนวคิดทา งการบริ หารเป็ นที่ ทราบกันอยูวา “ไม่มีวธีการบริ หารแบบใด แบบหนึ่งที่ ิ เป็ นวิธีที่ดีที่สุด ” (No one best way) ในทางปฏิบ ั ติการเลือกใช้รูปแบบที่ดีที่สุด ที่เหมาะสมที่สุดกับ สถานการณ์ที่เกิดในขณะนั้น และมักมีการคิดค้นพัฒนารู ปแบบการบริ หารใหม่ๆ ขึ้นมาใช้อยูเ่ สมอๆ ดังนั้น รู ปแบบการบริ หารที่ดีจะต้องแสดงถึงความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปร นาไปสู่การ ทานายผลที่จะตามมา โดยสามารถตรวจสอบได้ดวยข้อมูลเชิงประจักษ์ อธิบายถึงโครงสร้างหรื อ ้ กลไกความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของเรื่ องที่กาลังทาอย่างชัดเจน นาไปสู่การสร้างแนวความคิด ใหม่หรื อ ความสัมพันธ์ใหม่ หรื อขยายองค์ความรู ้ สอดคล้องกับทฤษฎีของเรื่ องที่จะใช้รูปแบบ ผูวจยในฐานะผูบริ หารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักถึงรู ปแบบการบริ หารสถานศึกษาที่ดี ้ิั ้ มีความเหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการบริ หารสถานศึกษาเพือให้สถานศึกษาสู่ความเป็ นเลิศตาม ่ เป้ าหมายของการจัดการศึกษาในสภาพการเปลี่ยนแปลงของปั จจุบน ผูวจยจึงสนใจที่จะศึกษาการ ั ้ิั พัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ อันจะ เป็ นประโยชน์ท้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏิบติการ ด้านการบริ หารจัดการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ั ั เป็ นการเพิมประสิทธิภาพและคุณภาพทางการศึกษาโดยรวมของประเทศต่อไป ่ วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1. เพือศึกษาสภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ่ 2. เพือศึกษาปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ่ 3. เพือพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ่ ของรัฐ วิธีดาเนินการวิจัย การวิจยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวจยเชิงพรรณนา ใช้วธีการเก็บข้อมูลจากหลายแหล่งหลายวิธีการ ั ิั ิ เพือตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของข้อมูล ข้อมูลของการวิจยครั้งนี้มีท้งข้อมูลเชิงปริ มาณ ่ ั ั (Quantitative Data) และข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)โดยดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กาหนดกรอบความคิดในการวิจย โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและ ั งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ ั ้ เพือนาสาระสาคัญเป็ นข้อมูลประกอบการดาเนินการวิจย ่ ั ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ โดยศึกษาสภาพและปั ญหาจากเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง โดย ั เครื่ องมือ การวิจยที่จดทาขึ้นตามกรอบความคิดของกา ั ั รวิจย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร ั
  • 4. 4 การวิเคราะห์ขอมูลใช้การวิเคราะห์และการสังเคราะห์เนื้อหาแล้วสรุ ปสาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ใน ้ กรอบความคิดของการวิจย ศึกษาสภาพและปั ญหาโดยใช้แบบสอบถามกับบุคลากรของสถานศึกษา ั ขั้นพืนฐานที่เป็ นเลิศ วิเคราะห์ขอมูลจา กแบบสอบถามโดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ้ ้ ศึกษาสภาพและปั ญหาจากการสัมภาษณ์ผบริ หารสถานศึกษาที่เป็ นเลิศ โดยใช้เครื่ องมือเป็ นแบบ ู้ สัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้างวิเคราะห์ขอมูลผลการสัมภาษณ์ โดยการสังเคราะห์เนื้อหา ้ ขั้นตอนที่ 3 สร้างรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปล ง สู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ขั้น พื้นฐานของรัฐ โดยพิจารณาร่ างรู ปแบบจากการสังเคราะห์ผลการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ผลการวิจยที่ ั เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาสภาพและปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานของรัฐ ขั้นตอนที่ 4 ประเมินความเหมาะสมแ ละความเป็ นไปได้ของรู ปแบบโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ของกลุ่มผูทรงคุณวุฒิ จานวน 18 คนโดยเลือกผูทรงคุณวุฒิร่วมกับอาจารย์ ้ ้ ที่ปรึ กษาแบบเจาะจงบุคคล 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผูที่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูบริ หารระดับกระทรวงและ ้ ้ สานักงานเขตพืนที่การศึกษา 2) กลุ่มนักวิชาการ /นักกฎหมาย 3) กลุ่มผูปฏิบติงานในสถานศึกษา ้ ้ ั ประกอบด้วย ผูอานวยการสถานศึกษา รองผูอานวยการสถานศึกษา และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ้ ้ หรื อหัวหน้างาน จากนั้นจึงวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอมูลเพือนาไปปรับปรุ งสร้างรู ปแบบต่อไป ้ ่ ขั้นตอนที่ 5 ปรับปรุ งพัฒนาและนาเสนอรู ปแบบ โดยการนาผลจากการศึกษาความเหมาะสม และความเป็ นไปได้ของรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานของรัฐ จากผูทรงคุณวุฒิมาปรับปรุ งและนาเสนอรู ปแบบการบริ หารสถานศึกษา ้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง การวิจยครั้งนี้ กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ น 2 ส่วน ดังนี้ ั 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ประชากรที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาต้นแบบสถานศึกษา ประเภทที่1 จานวน 609 คน ้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาต้นแบบสถานศึกษา ประเภทที่ 1 จานวน 9 คน ้ ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กระจายตามเขตตรวจราชการ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสอบถาม ประชากรที่ใช้ คือ ผูบริ หารหรื อผูรักษาการในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา รองผูบริ หาร ้ ้ ้ ้ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ หรื อหัวหน้างานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็ นเลิศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผูบริ หารสถานศึกษาหรื อผูรักษาการในตาแหน่งผูบริ หารสถานศึกษา ้ ้ ้ รองผูบริ หาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หรื อหัวหน้างาน จานวนทั้งสิ้น 482 คน ซึ่งได้มา โดยวิธี การ ้ สุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling)
  • 5. 5 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. แบบวิเคราะห์เอกสาร มีลกษณะเป็ นแบบวิเคราะห์เอกสารที่สร้างขึ้น เพือวิเคราะห์และ ั ่ สังเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้องตามกรอบความคิดในการ ั วิจย ั 2. แบบสัมภาษณ์ เป็ นแบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้สาหรับสั มภาษณ์ผบริ หาร ู้ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็ นเลิศ เพือสอบถามรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศ ่ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ 3. แบบสอบถาม เป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) สาหรับสอบถามบุคลากรของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐที่เป็ นเลิศ เพือสารวจสภาพแ ละปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ ่ ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ผลการศึกษา 1. ผลการศึกษาสภาพและปั ญหากระบวนการบริ หาร มีรายละเอียดดังนี้ 1) ด้านการกาหนดเป้ าหมาย วิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ มีการกาหนดทิศทาง โดยคานึงถึงความต้องการ/ ความจาเป็ น แต่การกาหนดเป้ าหมายไม่ชดเจน ั 2) ด้านการกาหนดนโยบาย ไม่ได้สะท้อนปั ญหาที่แท้จริ งของสถานศึกษา การ กาหนดเป้ าหมาย ไม่ได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการอย่างแท้จริ ง และการกาหนดกลยุทธ์ ั ต่างๆ ไม่สมพันธ์กบกลยุทธ์ขององค์กร ั 3) ด้านการวางแผน มีการวิเคราะห์งานหลักที่ สาคัญและจาเป็ นของสถานศึกษา กาหนดผูรับผิดชอบหลักในทุกขั้นตอน การขับเคลื่อนกระบวนการบริ หารเป็ นแบบล่างขึ้นบน แต่การ ้ วางแผนไม่เป็ นตามลาดับขั้นตอน ขาดระบบระเบียบวิธีการปฏิบติงานที่ชดเจน คณะทางานขาดการ ั ั ทางานเป็ นทีม การประสานงาน และการเดินไปในทิศทางเดียวกัน กา รพิจารณาจานวนบุคลากรไม่ ั สัมพันธ์กบจานวนงานในสถานศึกษา 4) ด้านงบประมาณ มีการจัดทาแผนงบประมาณ ที่สอดคล้องกับนโยบายของ โรงเรี ยน มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร สามารถกาหนดงบประมาณ มาใช้เพือการจัดการเรี ยนการ ่ สอนอย่างเหมาะสม แต่มีงบประมาณไม่เพียงพอ และกฎ ระเบียบไ ม่เอื้อต่อการให้อานาจการ ตัดสินใจ 5) ด้านการนาแผนไปปฏิบติ มีการแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบติ โดยจัดทาเป็ นแผน ั ั ั ้ ประจาปี มีการกระจายงานและอานาจในการตัดสินใจให้กบผูบริ หารและบุคลากร การขับเคลื่อน กระบวนการบริ หาร เป็ นแบบล่างขึ้นบน แต่การประสานงานในการนาแผนไปปฏิบติ สร้างความ ั สับสน เข้าใจไม่ตรงกัน การมอบหมายไม่ชดเจน ั
  • 6. 6 6) ด้านการประเมินผล มีการประเมินตนเองทุกปี การศึกษา เพือติดตาม ่ ความก้าวหน้าของสถานศึกษา มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากร สามารถประเมินผล และนามาใช้ใน การจัดการเรี ยนการสอนอย่างเหมาะสม แต่การประเมินผลการปฏิบตงา นไม่ครบถ้วนตามแผนการ ัิ ปฏิบติงาน ั 2. ผลการพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานของรัฐ มีรายละเอียดดังนี้ ส่ วนที่ 1 ชื่อรู ปแบบ รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ รัฐ ที่ผวจยพัฒนาขึ้น ใช้แนวคิดรู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ยงยืนและสมดุลของ สตีฟ ู้ ิ ั ั่ ไตรเวตต์ (Steve Trivett) ประกอบด้วยมุมมอง 4 แบบ คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top Down) มุมมอง จากล่างขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside –In) และมุมมองภายในสู่ ภายนอก (Inside–Out)โดยบูรณาการตามความเหมาะสมกับบริ บทของสถานศึกษากาหนดชื่อเฉพาะ ว่า “รู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง(Integrated four perspective Model)” รายละเอียด ดังแผนภาพ
  • 7. 7 รู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ ้ องค์ประกอบของรู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ส่วนที่ 1 ชื่อรู ปแบบ ส่วนที่ 2  แนวคิด  หลักการ  วัตถุประสงค์ ส่วนที่ 3  โครงสร้าง  กระบวนการ  รู ปแบบการเปลี่ยนแปลง ส่วนที่ 4  กลยุทธ์ในการดาเนินงานและปั จจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จ แผนภาพ รู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง ส่ วนที่ 2 แนวคิด หลักการ และวัตถุประสงค์ 2.1 แนวคิด การบริ หารเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาเป็ นกระบวนการดาเนินงานของ สถานศึกษาโดยอาศัยคนซึ่งได้แก่ ผูบริ หารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนและอาศัยทรัพยากรต่างๆ ้ เพือให้การดาเนินงานของสถานศึกษาบรรลุวตถุประสงค์เกิดผลงานที่โดดเด่นมีคุณภาพสูงเหนือกว่า ่ ั
  • 8. 8 ธรรมดาสามารถเป็ นแบบอย่างแก่สถานศึกษาอื่นได้ การบริ หารการเปลี่ยนแป ลงไปสู่ภาวะใดภาวะ หนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลง 4 ด้าน หลัก ๆ คือ ่ 1) การปรับโครงสร้างสร้าง ไม่วาจะเป็ นการลดขนาด การปั บอัตรากาลังหรื อตาแหน่ง 2) การเพิมบทบาทหน้าที่และบริ การใหม่เพิมเติมจากที่มีอยูเ่ ดิม ส่งผลทาให้มีส่วนงานหรื อ ่ ่ กระบวนการทางานใหม่รวมทั้งทักษะความรู ้ใหม่ๆ ที่ตองมีมากขึ้น้ 3) การเปลี่ยนผูนา ผูนาคนใหม่จะนาการเปลี่ ยนแปลงมาสู่องค์กรเสมอไม่วาจะเป็ นรู ปแบบ ้ ้ ่ การทางาน สภาพแวดล้อมที่ผนาชอบหรื อคุนเคย ู้ ้ 4) การปรับตัวให้ทนการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีทาให้ระบวนการทางาน ั เปลี่ยนรู ปแบบเพือให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิงขึ้นเปลี่ยนรู ปแบบเพือใ ห้มีประสิทธิภาพและ ่ ่ ่ รวดเร็วยิงขึ้น ่ 2.2 หลักการ รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐมี หลักการ ดังนี้ 1) หลักการทัวไป ยึดหลักการจัดการศึกษาดังนี้ ่ 1.1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวตสาหรับประชาชน ิ 1.2) ให้สงคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา ั 1.3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง 2) หลักการกากับรู ปแบบ มีดงนี้ ั 2.1) การบริ หารการเปลี่ยนแปลง เป็ นกระบวนการดาเนิ นงานอย่างเป็ นระบบ ตาม แผนที่จดทาไว้ ั 2.2) การบริ หารแบบร่ วมคิดร่ วมทา เป็ นการบริ หารจัดการที่คนกลุ่มน โยบายและ กลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการต้องร่ วมมือกันอย่างดียง และปฏิบติงานสอดคล้องประสานกัน ิ่ ั 2.3) รู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เป็ นรู ปแบบที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ขององค์กรประกอบด้วย มุมมอง 4 มุมมอง คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top- Down) มุมมองจากล่าง ขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside–In) และมุมมองภายในสู่ภายนอก (Inside–Out) 2.4) การบริ หารสู่ความเป็ นเลิศ เป็ นกระบวนการดาเนินงานให้บรรลุวตถุประสงค์ ั โดยอาศัยคนและทรัพยากรต่างๆ ผ่านกระบวนการทางบริ หาร จนมีผลงานที่มีคุณภาพสามารถเป็ น แบบอย่างที่ดีแก่องค์กรอื่นๆ ได้ 2.5) กลยุทธ์การดาเนินงาน เป็ นการวางแผนงานสู่การปฏิบติเพือให้งานบรรลุ ั ่ เป้ าหมาย ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
  • 9. 9 2.6) ปั จจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จ เป็ นปั จจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้การบริ หารการ เปลี่ยนแปลงประสบผลสาเร็จ ปั จจัยหลักได้แก่ สมรรถน ะของผูบริ หาร รู ปแบบการทางานและ ้ บุคลากร 2.3 วัตถุประสงค์ การบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ มี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ทวไป ั่ 1.1) เพือให้มีรูปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษา ่ ขั้นพื้นฐานของรัฐ ที่สอดคล้องกับบริ บทสังคมไทยและมีความสามารถปรับตัว ภายใต้การมีส่วนร่ วม ตัดสินใจจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง 1.2) เพือให้กระทรวงศึกษาธิการนาไปเป็ นข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบาย ่ การบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐต่อไป 2) วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1) เพือเสริ มสร้างประสิทธิภาพการบริ หารจัดการสถานศึกษา ่ 2.2) เพือพัฒนาศักยภาพของผูบริ หาร ครู และบุคลากร ่ ้ ส่ วนที่ 3 โครงสร้ าง กระบวนการและรู ปแบบการเปลี่ยนแปลง 3.1 โครงสร้ างการบริหาร โครงสร้างการบริ หารมีลกษณะโครง สร้างแบบงานหลักและงานที่ปรึ กษา ( Line and ั Staff Organization Structure) เป็ นโครงสร้างของสถานศึกษาที่มีโครงสร้างกว้างขวางและซับซ้อน ยากที่จะบริ หารโดยผูบริ หารแต่เพียงคนเดียวได้ จาเป็ นต้องมีหน่วยงานอื่นเข้ามาช่วยเหลือและให้ ้ คาปรึ กษา ซึ่งหน่วยงานที่ปรึ กษาไม่มีอานาจในการสังการใด ๆ มีหน้าที่เฉพาะช่วยเหลือให้คาปรึ กษา ่ เท่านั้น เช่น สมาคมผูปกครอง สมาคมศิษย์เก่า ผูปกครองเครื อข่าย และมีคณะกรรมการสถานศึกษา ้ ้ ขั้นพื้นฐาน เพือทาหน้าที่กากับและส่งเสริ มสนับสนุน กิจการของสถานศึกษา ตามการจัดโครงสร้าง ่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 38 มีอานาจสังการได้ใน ่ บางเรื่ องตามมติที่ประชุม เช่น การอนุมติแผนปฏิบติงานประจาปี หลักสูตร และการวัดผล ั ั ประเมินผล เป็ นต้น จากการสัมภาษณ์ และแบบสอบถามปลายเปิ ด การมอบหมายงานรอง ผูอานวยการสถานศึกษา กลุ่มบริ หารวิชาการ สังการไปยังกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ส่วนใหญ่พบว่ายังไม่ ้ ่ เกิดประสิทธิภาพเพราะขาดภาวะผูนาทาให้งานล่าช้า ขาดการติดตามงานทาให้ผบริ หารสถานศึกษา ้ ู้ ต้องดาเนินการสังการและติดตามงานด้วยตนเอง จึงควรเพิมสายบังคับบัญชาลงมายังกลุ่มสาระการ ่ ่ เรี ยนรู ้ดวยเพราะเป็ นหัวใจของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังรู ป ้
  • 10. 10 คณะกรรมการ ผูอานวยการ ้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มูลนิธิฯ ฐาน สมาคมผูปกครอง ้ ผูปกครองเครื อข่าย ้ หน่วยตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยน ภายใน รองฯกลุ่ม รองฯกลุ่ม รองฯกลุ่ม รองฯกลุ่ม รองฯกลุ่ม รองฯกลุ่ม บริ หาร บริ หาร บริ หาร บริ หาร บริ หาร บริ หารนโยบาย วิชาการ งบประมาณ บุคคล ทัวไป กิจการนักเรี ยน และแผน ่ หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ แผนภาพ โครงสร้ างการบริหารสถานศึกษาขั้นพืนฐานของรัฐ ้ 3.2 กระบวนการ บริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาอาศัยแนวคิด กระบวนการบริ หาร จัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทาเป็ นการรวมเอาลักษณะและกลวิธีต่างๆ ให้สมพันธ์กบการเป็ นผูนาและการ ั ั ้ เปลี่ยนแปลงมีลกษณะการบริ หารจัดการ ดังนี้ ั 1) การบริ หารจัดการของคน กลุ่มกาหนดนโยบาย (Policy Group) และกลุ่มจัดทา แผนงาน/โครงการ (Program Group) ปฏิบติงานร่ วมมือกันอย่างดียง ั ิ่ ั 2) การบริ หารจัดการเป็ นความร่ วมมือและประสานสัมพันธ์กนระหว่างบุคลากรทั้งหมด ของโรงเรี ยนรวมถึงนักเรี ยนและชุมชน 3) การบริ หารจัดการเน้นการทาหน้าที่หลักของโรงเรี ยน คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยน
  • 11. 11 การสอน 4) กลุ่มกาหนดนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการบริ หารทาหน้าที่สาคัญ 4 ประการ คือ กาหนดเป้ าหมายและวิเคร าะห์ปัญหา /ความต้องการ กาหนดนโยบาย กาหนดงบประมาณและ ประเมินผล สาเร็จตามเป้ าหมาย นโยบายและการสนองตอบต่อปั ญหา/ความต้องการ 5) กลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการ ได้แก่ คณะครู เจ้าหน้าที่ มีหน้าที่จดทาแผนงาน/ ั โครงการที่สอดคล้องกับเป้ าหมายและนโยบาย 6) แผนงาน/โครงการที่จดทาสะท้อนถึงทิศทางการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่ดาเนิ นงานตามแผน ั 7) การนาแผน/โครงการไปปฏิบติและประเมินผลเป็ นภารกิจสาคัญของกลุ่มจัดทา ั แผนงาน/โครงการ 8) กลุ่มกาหนดนโยบายและกลุ่มจัดทาแผนงาน/โครงการมีการแบ่งหน้าที่กนอย่างชัดเจน ั แต่มีบางกิจกรรมปฏิบติงานอยูท้งสองกลุ่ม ั ่ ั กระบวนการบริหารจัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทาประกอบด้ วยขั้นตอนต่ างๆ ดังนี้ ขั้นที่ 1 การกาหนดเป้ าหมาย และวิเคราะห์ ปัญหา/ความต้ องการ (Goal Setting and Need Identification) การกาหนดเป้ าหมาย (Goal) เป็ นการกาหนดข้อความแสดงทิศทางอย่าง กว้างๆ รวมถึงวัตถุประสงค์หรื อความต้องการไม่มีการกาหนดช่วงเวลา เป้ าหมายของสถานศึกษาจะ แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยน ส่วนการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการนั้นจะ พิจารณาจากสิ่งที่เป็ นจริ งกับสิ่งที่ควรจะเป็ นว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด แล้วนาปั ญหาและ ความต้องการในแต่ละด้านมาจัดลาดับความสาคัญ ขั้นที่ 2 การกาหนดนโยบาย (Policy Making) การกาหนดนโยบายเป็ นการกาหนดข้อความที่ แสดงถึงวัตถุประสงค์และแนวทางที่จะดาเนินการเพือให้วตถุประสงค์ประสบความสาเร็จ และ ่ ั กาหนดกรอบเป็ นแนวปฏิบติดวยโดยปกตินโยบายกาหนดจากปรัชญาการศึกษาและเป้ าหมาย ั ้ การศึกษาที่สถานศึกษายอมรับและกาหนดขึ้น พร้อมเสนอแนวทางปฏิบติประกอบไว้อย่างชัดเจนง่าย ั ต่อการนาไปปฏิบติ ั ขั้นที่ 3 การวางแผน (Planning) การวางแผนเป็ นการคิดก่อนที่จะลงมือปฏิบติ คือคิดว่าจะทา ั อะไร ทาเมื่อไร ทาอย่างไร และใครเป็ นคนทา ขั้นที่ 4 การกาหนดงบประมาณ (Budgeting) การกาหนดงบประมาณของสถานศึกษาเป็ น การแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน กลุ่มจัดทาแผนงาน /โครงการ ต้องเตรี ยมข้อมูลด้าน
  • 12. 12 งบประ มาณและวิเคราะห์สถานภาพของสถาน ศึก ษานามาจั ดทาแผนปฏิบ ั ติการเพือสนับสนุน ่ โครงการอย่างทัวถึงและเหมาะสม ่ ขั้นตอนที่ 5 การนาแผนไปปฏิบัติ (Implementing) เมื่อการจัดทาแผนเป็ นที่ยอมรับของทุก ฝ่ ายแล้วรายละเอียดของแผนที่กลุ่มกาหนดนโยบายให้ความเห็นชอบแล้วกลุ่มจัดทาแผนงาน / โครงการก็สามารถนาแผนไปปฏิบติได้ ั ขั้นตอนที่ 6 การประเมินผล ( Evaluating) เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือจุดประสงค์ในการ ่ ตัดสินใจ และต้อง ตัดสินใจว่าถูกหรื อผิดจากข้อมูล การประเมินผลจะต้องทาในระหว่างดาเนินงาน และภายหลังการปฏิบติงานตามแผนเสร็จสิ้น ั การบริ หารจัดการแบบร่ วมคิดร่ วมทานั้นจะส่งผลกระทบก็ต่อเมื่อผลของการดาเนินโครงการ ก่อให้เกิดเป้ าหมายใหม่ ปั ญหาความต้องการใหม่ กาหนดนโยบายใหม่หรื อมีโครงการใหม่ ๆ เกิดขึ้น 3.3 รู ปแบบการเปลี่ยนแปลง การบริ หารการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง (Integrated four perspective Model) ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบคือ 1) การเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ โครงสร้าง เทคโนโลยี คนและวัฒนธรรม 2) รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลง 4 มุมมอง ได้แก่ คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top - Down) มุมมองจากล่างขึ้นบน (Bottom –Up) มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน (Outside–In) และมุมมอง ภายในสู่ภายนอก (Inside–Out) 3) กระบวนการร่ วมคิดร่ วมทาได้แก่ การกาหนดเป้ าหมายและวิเคราะห์ปัญหาความต้อง การ การกาหนดนโยบาย การวางแผน การกาหนดงบประมาณ การทาแผนไปปฏิบตและการประเมินผล ัิ 4) ระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยในแต่ละองค์ประกอบมีความสอดคล้องสัมพันธ์กน และ ั ่ั ขึ้นอยูกบรู ปแบบการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง 4 มุมมอง คือ มุมมองจากบนลงล่าง (Top- Down) เช่น กระทรวงหรื อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบาย หรื อ การนาเสนอ ความ คิดเห็น กระบวนการทางานโครงสร้างต่าง ๆ ก็ อาจถูกนาเสนอจากล่างขึ้นบนได้ และเมื่อเกิดการ ยอมรับก็จะทาให้งานสาเร็จลุล่วงด้วยดี มุมมองจากภายนอกสู่ภายใน เช่น ด้านเทคโนโลยี ปั จจุบน ั สถานศึกษาต้องปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีให้ทนสมัยและรวดเร็ว ส่วนมุมมองภายในสู่ภายนอก เช่น ครู ั คิดนวัตกรรมอบรมคุณธรรมจริ ยธรรมนักเรี ยนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาเพือป้ องกัน ่ ปั ญหายาเสพติด ดังนั้น การบริ หารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาต้องอาศัยกระบวนการบริ หารแบบ ร่ วมคิดร่ วมทา 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การกาหนดเป้ าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การกาหนด นโยบาย 3) การวางแผน 4)การกาหนดงบประมาณ 5) การนาแผนไปปฏิบติและ 6) การประเมินผล ั ทั้งนี้ในการดาเนินงานแต่ละส่วนต้องใช้วงจรคุณภาพ PDCA กากับโดยมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงทุก ส่วน
  • 13. 13 ส่ วนที่ 4 กลยุทธ์ การดาเนินงานและปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ 4.1 กลยุทธ์ การดาเนินงาน รู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ มี กลยุทธ์การดาเนินงานสู่ความสาเร็จดังนี้ 1) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการบัญชาการเป็ นการที่ผบริ หารคิดริ เริ่ มและใช้ ู้ อานาจบัญชาการปรับเปลี่ยนส่วนต่างๆ ขององค์กร 2) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการให้มีส่วนร่ วมในวงจากัด เป็ นวิธีการเปิ ด โอกาสให้บุคลากรทีมีความสาคัญโดยตาแหน่งหน้าที่หรื อการยอมรับอย่างไม่เป็ นทางการ 3) กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนองค์กรโดยการกระจายอานาจเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ทุกคนมี ่ ส่วนริ เริ่ มและดาเนินการเปลี่ยนแปลงองค์กรทั้งในส่วนที่ตนรับผิดชอบและในส่ วนที่อยูนอกเหนือ ความรับผิดชอบ 4) กลยุทธ์แบบผสม เป็ นการนากลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงหลายๆ แบบมาใช้ร่วมกัน อาจใช้กลยุทธ์การบัญชาการโดยผูบริ หารสูงสุดประกอบกับการสร้า งทีมงานการปรับระบบงานของ ้ ฝ่ ายต่างๆ และเสริ มด้วยการจัดกิจกรรมกลุ่มคุณภาพในระดับปฏิบตการ ัิ 5) กลยุทธ์การพัฒนาองค์กร เป็ นกลยุทธ์ท่มุ่งสร้างขีดความสามารถให้แก่สมาชิกใน ี องค์กร ด้วยการมองปั ญหา แก้ปัญหาและเรี ยนรู ้ร่วมกันโดยอาศัยที่ปรึ กษา 4.2 ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสู่ ความสาเร็จ ปั จจัยที่ช่วยการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จซึ่งส่วนใหญ่ข้ ึนอยูกบสมรรถนะส่วน ่ ั บุคคลของผูบริ หารสถานศึกษา ดังนั้นปั จจัย การบริ หารการเปลี่ยนแปลงซึ่งประกอบด้วย 1) ภาวะ ้ ผูนา 2)ความเป็ นอิสระในการบริ หาร 3)ความร่ วมมือของบุคลากร 4)โครงการที่ดีและมีความ ้ เหมาะสม 5)การกระจายอานาจ 6)แรงจูงใจ 7)วิสยทัศน์ 8)การบริ หารบุคลากร 9)การบริ หาร ั ทรัพยากร 10)การมีส่วนร่ วมของบุคลากร 11)เครื อข่ายภายนอก 12)การจัดการปั ญหา 13)การ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง 14)การปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม 15)ความเป็ นสถาบัน 16)การเปลี่ยนแปลง ั องค์กร ซึ่งสี่ปัจจัยแรกจะเป็ นสมรรถนะของผูบริ หารสถานศึกษาที่มีทกษะความเป็ นผูนา ส่วนเรื่ อง ้ ั ้ ่ ั ความเป็ นอิสระในการบริ หารโรงเรี ยนจะขึ้นอยูกบนโยบายของโรงเรี ยนความร่ วมมือของบุคลากร ผูบริ หารซึ่งมีส่วนสาคัญในการสร้างความศรัทธาให้แก่บุคลากรและตัวบุคลากรเองก็ตองมีสมรรถนะ ้ ้ ที่ดีและปั จจัยสุดท้ายคือ โครงการที่ดีและมีความเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน ชุมชนและ วัฒนธรรม นอกจากนี้ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนามาสู่ความสาเร็จได้แก่ การ
  • 14. 14 บริ หารทรัพยากร การมีส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา การพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง การปฏิบติงานอย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบันและการเปลี่ยนแปลงองค์กรซึ่งจะเป็ นปั จจัย ั ที่ส่งผลต่อการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเร็จของสถานศึกษาได้อย่างยังยืน ผูบริ หารซึ่งมีส่วน ่ ้ สาคัญในการส ร้างความศรัทธาให้แก่บุคลากรและตัวบุคลากรเองก็ตองมีสมรรถนะที่ดีและปั จจัย ้ สุดท้ายคือ โครงการที่ดีและมีความเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน ชุมชนและวัฒนธรรม นอกจากนี้ ปั จจัยที่ช่วยส่งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันนามาสู่ความสาเร็จได้แก่ การบริ หารทรัพยากร การมี ส่วนร่ วมของบุคลากร เครื อข่ายภายนอก การจัดการปั ญหา การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปฏิบติงาน ั อย่างเหมาะสม ความเป็ นสถาบันและการเปลี่ยนแปลงองค์กร อภิปรายผลการศึกษา 1. ผลการศึกษาสภาพการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของรัฐ มีความสอดคล้องกับแนว คิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพศึกษาของ บาร์โทล (Bartol, 1998) ที่ กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาเป็ นการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างองค์กร หรื อออกแบบ งานใหม่ มีการปรับกระบวนการของงานโดยใช้เทคโนโลยี และพัฒนาคนในเรื่ องทัศนคติความ คาดหวัง การรับรู ้และพฤติกรรมการปฏิบติ งานโดยการสร้างความหมายร่ วมกันขององค์กรเป็ น ั วัฒนธรรมองค์กร และผลการวิจยของ ศานิตย์ เชยชุ่ม (2543) เรื่ องของแนวทางการบริ หารเพือความ ั ่ เป็ นเลิศ ของสถานศึกษาเอกชน ซึ่งพบว่า การบริ หารงานเพือความเป็ นเลิศ มีการบริ หารงานด้าน ่ ่ โครงสร้างอยูในระดับมากเป็ นลาดับที่ 1 ขององค์ประกอบและในองค์ประกอบย่อย ส่วนผลการศึกษา ปั ญหาการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความ สอดคล้องกับ รายงานการวิจย เรื่ องสภาพและปั ญหาการบริ หารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาใน ั ประเทศไทย (ธีระ รุ ญเจริ ญ , 2545) ที่พบว่า กา รบริ หารและจัดการศึกษามีปัญหาอุปสรรคด้าน งบประมาณและอาคารสถานที่ คือ งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอที่จะดาเนินการได้ตามแผนที่ กาหนดไว้และสถานศึกษาไม่สามารถจัดหางบประมาณเพิมเติมนอกเหนือจากงบประมาณและรายได้ ่ ในปั จจุบน และผลการวิจยของ รัตนวดี จันทร์น้ าใส (2552) เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการต่อต้านการ ั ั เปลี่ยนแปลงในองค์การขอบงนักงานบริ ษทเอกชนในกรุ งเทพมหานคร ที่พบว่า เมื่อองค์การมีการ ั เปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยี และเป้ าหมายการดาเนินงานของผูบริ หารจะส่งผลต่อพฤติกรรมการ ้ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงโดยทางตรงและแสดงออกอย่างเปิ ดเผย 2. ผลการพัฒนารู ปแบบการบริ หารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็ นเลิศของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานของรัฐ มีความสอดคล้องกับผลการศึกษาของ วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ (2547) เรื่ องการพัฒนา รู ปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามแนวทางพระราชบัญญั ติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่พบว่า ยุทธศาสตร์การดาเนินงานสู่ผลสาเร็จของการจัดการศึกษาแบบ
  • 15. 15 กระจายอานาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่ วม ยุทธศาสตร์การ มอบงาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์การกากับติดตามงาน ยุทธศาสตร์การใช้ เทคโนโลยี ยุทธศาสตร์การร ะดมทรัพยากร ยุทธศาสตร์การประสานงาน ยุทธศาสตร์การบูรณาการ และยุทธศาสตร์การบริ หารที่เน้นคุณภาพทั้งองค์กร รายการอ้ างอิง ธีระ รุ ญเจริ ญ. รายงานการวิจัยเรื่องสภาพและปัญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ ของสถานศึกษาในประเทศไทย. 2546. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.onec.go.th/ publiccation/tera/tera.pdf [2 มิถุนายน 2550] ปองสิน วิเศษศิริ. แนวคิด ทฤษฎีและรู ปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาขั้น พืนฐาน. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอนวิชากระบวนการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม ้ ในองค์การทางการศึกษา. กรุ งเทพมหานคร: คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ . การพัฒนารู ปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอานาจในสถานศึกษา ขั้นพืนฐานตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา ้ ดุษฎีบณฑิต สาขาวิชาบริ หารการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. ั ศานิตย์ เชยชุ่ม. แนวทางการบริหารงานเพื่อความเป็ นเลิศของโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. เสริ มศักดิ์ วิศาลาภรณ์. ความขัดแย้ ง: การบริหารเพื่อความสร้ างสรรค์. กรุ งเทพมหานคร: ต้นอ้อ, 2539. Bartol, M. K., and Martin, C. D. Management. 3rd ed. New York: McGraw-Hill, 1998. Hamlin, B., Keep, J., and Ash, K. Organizational Change and Development: A Reflective Guide for Managers, Trainers and Developers. Harlow: Financial Times/Financial Hall, 2001. Lewin, K. Model for Organization Change. Frontier in Group Dynamics. New York: Harper & Row, 1985. Leucke, R. Managing Change and Transition. Boston: Harvard Business School Press, 2003.