SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
คํานํา
         รายงานเลมนี้เกี่ยวของกับกิจกรรมดานศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นในการ
ปฏิบัติงานของนิสิตนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรางสรรคชุมชน ทบวงมหาวิทยาลัยโดย
หนวยแกนนําประสานงานสถาบันราชภัฏสุรินทร พื้นที่รับผิดชอบ คือ ตําบลเชื้อเพลิง อําเภอ
ปราสาท จังหวั ดสุรินทร จัด ทํ าขึ้ นเพื่อ สํารวจเก็บขอมูล รับทราบปญหาและความต องการ
เบื้องตนของชุมชน มีการสรางเครือขายความรวมมือของชุมชนในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม
ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น นอกจากนี้ไดจัดทําขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น ที่ไดรับจาก
การศึกษา มาเสนอตอชุมชน เพื่อกอประโยชนและตระหนักถึงความสําคัญในคุณคาของมรดก
ทางดานศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และมีสวนรวมในการจรรโลง
และรักษาไวสืบตอไป
         การจัดทํารายงานของกลุมศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นในการปฏิบัติงานของ
นิสิตนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน ทบวงมหาวิทยาลัย โดยหนวยแกนนํา
ประสานงานสถาบันราชภัฏสุรินทร ซึ่งไดรับความรวมมือจากคณาจารย ผูแทนหนวยราชการ
องคกร และประชาชนในทองถิ่นที่ใหความอนุเคราะหขอมูลจนสําเร็จลุลวงไปดวยดี กลุมกิจกรรม
ดานศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้



                                                                                คณะผูจัดทํา
                                       กลุมกิจกรรมศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                              
                                                   โครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน
                                                                      สถาบันราชภัฏสุรินทร
บทที่ 1
                                                บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ
          จากการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2544 วันที่ 8, 15, และ 29 มกราคม
2545 ไดมีมติซึ่งสรุปสาระสําคัญไดวา ในชวงปดภาคการศึกษาประจําปการศึกษาควรจะไดจัดให
มีโครงการเพื่อใหนิสิตนักศึกษา รวมถึงอาจารยไดกระทํากิจกรรมที่สรางสรรคและใชเวลาวางให
เป น ประโยชน ก อ เกิ ด รายได ห รื อ เพิ่ ม ทั ก ษะด า นอาชี พ มี ก ารฝ ก ฝนและดํ า เนิ น การในฐานะ
ผูประกอบการรายใหม (Young Entrepreneur) ในอนาคต ซึ่งเบื้องตนนี้ เกิดขึ้นจากดําริของ
ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร)
          เพื่ อ สนองต อ นโยบายของรั ฐ บาลและมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ดั ง กล า วข า งต น กลุ ม ศิ ล ปะ
วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น จึงไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของโครงการนี้ที่ใหนิสิตนักศึกษาได
เรียนรูวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณีทองถิ่น โดยใชภูมิปญญารวมกับชุมชนในการ
พั ฒ นาท อ งถิ่ น สร า งความคิ ด ในเชิ ง สร า งสรรค มี น วั ฒ กรรมสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ใ หม ๆ ที่ ส ามารถ
เชื่อมโยงจากการใชงานไดจริงในชุมชน ตลอดจนสงเสริมอนุรักษ สืบสานและสรางเครือขายรวม
ในการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของชาติทั้งทางดานขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและ
ภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยูตอไป
วัตถุประสงคของโครงการ
         1. เพื่อใหนักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลงานดานศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม
            และภูมิปญญาทองถิ่นในแตละตําบลที่ไดเขาไปปฏิบัติงาน
         2. เพื่อทราบปญหาและความตองการเบื้องตนของชุมชนที่มีตองานดานศิลปะวัฒนธรรม
            และภูมมิปญญาทองถิ่นที่มีตอการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
         3. เพื่ อ สร า งเครื อ ข า ยความร ว มมื อ ของชุ ม ชนในการอนุ รั ก ษ ม รดกทางด า นศิ ล ปะ
            วัฒนธรรมตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของทองถิ่น
         4. เพื่ อ ให นั ก ศึก ษาได เ รีย นรูแ ละตระหนัก ถึงความสําคัญและคุ ณ คาของมรดกศิลปะ
            วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและมีสวนรวมในการจรรโลง
            และรักษาไว
พื้นที่เปาหมาย
           ตําบลเชื้อเพลิง อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร
การดําเนินงาน
         1. นักศึกษาที่ออกปฏิบัติงานมีกิจกรรมที่ตองดําเนินการประกอบดวย
            กิจกรรมที่ 1 นักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลในดานแหลงโบราณสถาน แหลงโบราณคดี
                         โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ แหลงวัฒนธรรมตามรูปแบบการจัดเก็บขอมูลที่
                         กรมศิลปากรกําหนด
            กิจกรรมที่ 2 นักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลในดานมรดกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
                         ประเพณี การละเลนพื้นบานและภูมิปญญาทองถิ่นโดยการสอบถาม
                         สังเกตการณ สืบคน การสัมภาษณ ถายภาพ หรือวาดภาพลายเสน
                         ตามรู ป แบบการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ที่ ก รมศิ ล ปากรกํ า หนดหรื อ อื่ น ๆที่
                         เหมาะสม
            กิจกรรมที่ 3 นักศึกษาจัดกิจกรรมหรือโครงการสืบสานอนุรักษมรดกไทยหรือ
                         ภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับชุมชนหรือตําบล
         2. นําผลการจัดกิจกรรมที่ไดศกษาและจัดทํา ประมวล สรุป วิเคราะห และเสนอปญหา
                                     ึ
            ขอคิดเห็น
นิยามศัพทเฉพาะ
            “มรดกทางศิลปวัฒนธรรม” หมายถึง ผลงานที่เกิดจากการคิดคนประดิษฐสรางสรรคส่ิง
ที่ ถือ กัน มาเป น สิ่ ง ที่ดี ง าม แล ว เรี ย นรูสืบ ทอดตอ ๆ กั น บางสิ่งยั ง คงเหลือเปน หลัก ฐานจนถึ ง
ปจจุบัน มรดกทางศิลปวัฒนธรรม จึงรวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และวรรณกรรม
การแสดง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปหัตถกรรมตาง ๆ เปนตน
            “โบราณสถาน” หมายถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมประเภทสิ่งกอสราง อาคาร สถานที่
และสวนประกอบที่เคลื่อนยายไมได เปนที่ดินเนิน ที่มีหลักฐานเกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร เปนถ้ํา
เพิงผาที่คนโบราณเคยพักอาศัยแลวทิ้งรองรอยภาพศิลปะ หรือฝงศพ หรือบางแหงอาจยังถูกใช
ประโยชนอยูในปจจุบัน เชน วัด เจดีย ปราสาท แหลงประวัติศาสตร เปนตน
            “โบราณวัตถุ”              หมายถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่เปนวัตถุขนาดตาง ๆ สามารถ
เคลื่อนยายไดยากตามขนาดตาง ๆ และน้ําหนักหรือชนิดของโบราณวัตถุ เชน เครื่องปนดินเผา
พระพิมพ อาวุธ เครื่องประดับ เปนตน
            “ภูมิปญญาทองถิ่น” หมายถึง งาน/ผลงาน หรือการประดิษฐอยูในดานตาง ๆ เชน ดาน
                  
ศิลปวัฒนธรรม ดานหัตถกรรม/เทคโนโลยีพื้นบาน หรือในดานอื่น ๆ
ระยะเวลาการดําเนินโครงการ
       วันที่ 1 – 30 เมษายน 2546 ปฏิบัติงานภาคสนามในพื้นที่
       วันที่ 1 – 31 พฤษภาคม 2546

ประโยชนที่คาดวาจะไดรบ
                       ั
       1. ไดฐานขอมูลดานโบราณสถาน แหลงโบราณคดี โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและแหลง
          วัฒนธรรมในแตละตําบล
       2. ไดฐานขอมูลมรดกวัฒนธรรมดานขนบธรรมเนียมประเพณี การละเลนพื้นบานและ
          ภูมิปญญาทองถิ่น ในแตละตําบล
       3. มีก ารเก็บ รวบรวมข อ มู ล ในดา นตา ง ๆ และรายงานผลที่ จ ะนํา ไปขยายผลในการ
          ดําเนินการและพัฒนาตอไปในอนาคต
       4. มีการสรางเครือขายชุมชนและรับทราบปญหาและความตองการของชุมชนที่มีตองาน
          ดานอนุรักษมรดกวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อหนวยงานที่เกี่ยวของนําไป
          ดําเนินการแกไขและพัฒนาตอไป
       5. ทําใหนักศึกษามีความเขาใจและเห็นความสําคัญและเห็นคุณคาตอการอนุรักษมรดก
          ทางวัฒนธรรมในดานตาง ๆ
บทที่ 2
                                     สภาพทั่วไปของชุมชน

ประวัติชุมชน
          ตําบลเชื้อเพลิงแตเดิมอยูในเขตการปกครองตําบลไพล ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2524 ไดแยก
เปนตําบลเชื้อเพลิงโดยเริ่มแรกมี 9 หมูบาน และเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 ไดมีประกาศ
จัดตั้งจากกระทรวงมหาดไทยใหเปนองคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล
และ
สภาองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลเชื้อเพลิงมีที่ทําการอยู
ที่บานรําเบอะหมูที่ 2 ตําบลเชื้อเพลิง
          คําวา “เชื้อเพลิง” มาจากภาษาทองถิ่น เปนชื่อของตนไมชนิดหนึ่งซึ่งชาวบานถือวาเปนยา
สมุนไพรใชสําหรับสตรีที่คลอดบุตรชวยขับเลือดหลังจากอยูไฟ
          ปจจุบันตําบลเชื้อเพลิงแบงเขตการปกครองตามลักษณะทองที่มีหมูบานจํานวน 12 หมูบาน
ประกอบดวย
          หมูที่ 1 บานเชื้อเพลิง
          หมูที่ 2 บานรําเบอะ
          หมูที่ 3 บานโพธิ์กอง
          หมูที่ 4 บานแสรโบราณ
          หมูที่ 5 บานขยอง
          หมูที่ 6 บานปราสาท
          หมูที่ 7 บานเสม็ด
          หมูที่ 8 บานขนาดปริง
          หมูที่ 9 บานหนองซูง
          หมูที่ 10 บานปรือรูง
          หมูที่ 11 บานโสนกพัฒนา
          หมูที่ 12 บานเชื้อเพลิงสามัคคี
สภาพชุมชน
    2.1 ระยะทางชุมชน หางจากที่วาการอําเภอปราสาท 6.50 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือ
        ระยะทางหางจากศาลากลางจังหวัดสุรินทรไปทางทิศใต 23 กิโลเมตร
    2.2 ขนาดพื้นที่ของตําบล/ชุมชนที่ดําเนินงาน 32.6256 ตารางกิโลเมตร
            - ที่ดินสาธารณะประโยชน              150     ไร
-   ที่ดินราชพัสดุ                                -     ไร
                   -   ที่ดินที่อยูอาศัย                          1,072 ไร
                   -   ที่ดินทํากิน                                14,821 ไร
                   -   พื้นที่ปา                                  3,150 ไร
                   -   พื้นที่แหลงน้ํา                            1,200 ไร
                                    รวม                            20,392 ไร
       2.3 จํานวนประชากรทั้งหมดในตําบล/ชุมชน
               ชาย      3,687 คน
               หญิง     3,822 คน
               รวม      7,509 คน
จํานวนหมูบาน 12 หมูบาน
        จํานวน         จํานวนประชากร (คน)                                           ชวงอายุ(ป)
        ครัวเรือ                                                                                                        60 ป
หมู                                          ต่ํา
           น           ชาย    หญิง    รวม             1- 2   3-5    6 - 11   12- 14       15 - 17   18 - 49   50 - 59    ขึ้น   อื่น ๆ
                                             กวา 1
                                                                                                                         ไป
  1       167           330    331     661     5       16     31      65       30           31        346       63       71       3
  2       239           462    469     931     2       23     35      82       43           59        484       74      124       5
  3       129           287    330     617     2       18     22      51       23           22        334       57       84       4
  4       147           227    224     451     3       11     21      36       12           18        254       52       42       2
  5        74           187    196     383     3       11     20      39       15           21        198       34       38       4
  6       142           353    348     701     3       11     30      64       24           20        383       74       87       5
  7        92           230    233     463     1       10     19      55       28            9        246       41       54       -
  8       147           350    321     671     6       13     27      63       35           42        344       55       81       5
  9       204           455    474     929     2       35     57     121       51           50        477       74       60       2
 10       145           289    333     622     6       23     24      70       34           39        293       65       69       1
 11       746           169    161     330     1       8       9      26        8           18        185       42       31       2
 12       137           348    402     750     4       24     29      87       46           36        369       65       89       1
รวม      1769          3687   3822    7509    38      203    324     759      349          374       3913      696      830      35


อื่น ๆ หมายถึง ประชากรที่เปนชาวตางชาติในชุมชนนั้น ไมระบุเพศ
* รวม หมายถึง จํานวนประชากรรวมถึงอื่น ๆ ในแตละชุมชนดวย
หมายเหตุ ขอมูลประชากรจากสํานักงานสถิติ อ.ปราสาท จ.สุรินทร ประจําเดือนมีนาคม 2546
           รวบรวมวันที่ 11 เมษายน 2546โดยนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน
สภาพทางเศรษฐกิจ
  3.1 อาชีพ
       - อาชีพหลักของประชากรในตําบล/ชุมชน
           1. ทํานา
           2. เลี้ยงสัตว
           3. ปลูกหมอน เลี้ยงไหม
           4. ทอผา
           5. ปลูกพืชฤดูแลง
  3.2 รายไดของประชากรตอครัวเรือน
       1. หมูที่ 1 บานเชื้อเพลิง          27,806    บาท/ครัวเรือน/ป
       2. หมูที่ 2 บานรําเบอะ             52,086    บาท/ครัวเรือน/ป
       3. หมูที่ 3 บานโพธิ์กอง            70,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       4. หมูที่ 4 บานแสรโบราณ            20,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       5. หมูที่ 5 บานขยอง                126,000   บาท/ครัวเรือน/ป
       6. หมูที่ 6 บานปราสาท              45,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       7. หมูที่ 7 บานเสม็ด               25,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       8. หมูที่ 8 บานขนาดปริง            23,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       9. หมูที่ 9 บานหนองซูง             15,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       10. หมูที่ 10 บานปรือรูง           89,522    บาท/ครัวเรือน/ป
       11. หมูที่ 11 บานโสนกพัฒนา         70,000    บาท/ครัวเรือน/ป
       12. หมูที่ 12 บานเชื้อเพลิงสามัคคี 85,777    บาท/ครัวเรือน/ป
  3.3 สถานประกอบการในตําบล/ชุมชน
       - ปมน้ํามัน   1 แหง
       - โรงสีขนาดยอม 32 แหง
       - ตลาดนัด       2 แหง
สภาพทางสังคม
   4.1 การศึกษา

สถานศึกษา                                จํานวนนักเรียน (คน)      จํานวนครู (คน)

1. โรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง
   1.1 โรงเรียนบานโพธิ์กอง              263                      10
   1.2 โรงเรียนบานเชื้อเพลิง            372                      13
   1.3 โรงเรียนรัฐประชาสามัคคี           256                      11

2. โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แหง
    2.1 โรงเรียนเชื้อเพลิงวิทยา          500                      23

3. อื่นๆ 1 แหง
    3.1 โรงเรียนศึกษาพิเศษ               336                      51
    3.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก หมู 2        90                       4
                           หมู 3        60                       3


  4.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา
       - วัด                             4 แหง
       - สํานักสงฆ                      1 แหง
       - โบสถ ( คริสตจักร)             1 แหง มีสมาชิก 163 คน อาจารย 3 คน
  4.3 สาธารณสุข
       - สถานีอนามัย           1 แหง
       - สถานที่ผลิตยาสมุนไพร / อาหารเสริม 1 แหง
       - กลุม ผสส. / อสม. 12 กลุม
  4.4 หนวยงานที่ดูแลดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน(เชน ทสปช./อปพร./อื่นๆ) 1 กลุม
  4.5 การรวมกลุมของคนในชุมชน (เชน กลุมแมบานเกษตรกร / อื่นๆ)
      1. กลุมผูจดทําแปลงขยายพันธุขาว
                  ั
      2. กลุมศูนยผลิตเมล็ดพันธุขาวชุมชน
      3. กลุมทอผาไหม
      4. กลุมธนาคารผัก
5. กลุมกองทุนฟนฟูอาชีพเกษตรกร หลังการพักชําระหนี้
      6. กลุมเกษตรเกื้อกูล
      7. กลุมเกษตรอินทรีย
การบริการขั้นพื้นฐาน
  5.1 การคมนาคม
         - ทางบก มีถนนสายที่สําคัญ 1 สาย ไดแก สุรินทร – ปราสาท
       สภาพการใชงาน
         - ภายในชุมชน ใชงานทางบก
         - ระหวางชุมชน ใชงานทางบก
  5.2 การโทรคมนาคม
         - ที่ทําการไปรษณียโทรเลข 1 แหง
         - สถานบริการโทรศัพท              21 แหง สภาพการใชงาน 15 แหง
  5.3 การไฟฟา
        - จํานวนหมูบานที่มีไฟฟาเขาถึง 12 หมูบาน
  5.4 การประปา
         - จํานวนหมูบานที่มีประปาตําบล / ชุมชน หรือประปาหมูบาน 8 แหง
   5.5 แหลงน้ําธรรมชาติ
       1. หวยโยน
       2. หนองน้ํา
           2.1 หนองระกา
           2.2 หนองมะเมียง
           2.3 หนองบันคลา
           2.4 หนองกะทม 1
           2.5 หนองกะทม 2
           2.6 หนองขยอง
           2.7 หนองจลีก
           2.8 หนองปราสาท
           2.9 หนองโดนเสาะ
           2.10 หนองตากวง
           2.11 หนองตาเมียง
           2.12 หนองตามุน
2.13 หนองพลวง
         2.14 หนองขนาดปริง
         2.15 หนองเปรอะ
         2.16 หนองตะเกียด
         2.17 หนองซูง
         2.18 หนองปรือรูง
         2.20 หนองรูง
        2.21 หนองนาสาม
        2.22 หนองเชื้อเพลิง
5.6 แหลงน้ําที่สรางขึ้นเพื่ออุปโภค/บริโภค
      - ฝาย 3 แหง ขนาด 100, 60 และ 40 ไร
      - บอน้ําตื้น (บอขุด)           10         แหง
             มีน้ําใชตลอดป           3          แหง
             มีน้ําใชไมตลอดป        7          แหง
      - บอโยก                          23        แหง
             มีน้ําใชตลอดป           20         แหง
             มีน้ําใชไมตลอดป        3          แหง
      - อื่น ๆ (ระบุ)……………………
  5.7 แหลงน้ําเพื่อการเกษตร
       1. หนอง หมู 2, 6, 3, 5, 7, 8 และ 9 ปริมาณ a           เพียงพอ     ขาดแคลน
       2. อางเก็บน้ํา หมู 3                      ปริมาณ     เพียงพอ   a ขาดแคลน
       3. คลองชลประทาน หมู 7 และ 6 ปริมาณ                    เพียงพอ   a ขาดแคลน
       4. หวย หมู 7                              ปริมาณ a   เพียงพอ     ขาดแคลน
       5. คลอง หมู 6, 10, 12, 11 และ 9 ปริมาณ                เพียงพอ   a ขาดแคลน
       6. สระ                                      ปริมาณ     เพียงพอ   a ขาดแคลน
   5.8 สวนสาธารณะ/สนามกีฬา
         1. สนามกีฬาหมูบานหมูที่ 1,2, 4,5,6,8,9,10,11,12
  5.9 สถานที่พักผอนหยอนใจ
         1. ปราสาทบานไพล             บานปราสาท
         2. หนองปราสาท                บานปราสาท
         3. สวนสมุนไพร                บานปราสาท
         4. อางเก็บน้ําบานโพธิ์กอง บานโพธิ์กอง
5. สวนผักปลอดสารพิษ           บานเสม็ด
             6. หวยเสม็ด                  บานเสม็ด
             7. หวยยวน                    บานแสรโบราณ
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม
        1. เขมร
        เขมร เปนกลุมชนพื้นเมืองที่สําคัญกลุมหนึ่งในบริเวณภาคอิสานตอนลางของประเทศไทย
และเปนกลุมที่มีบทบาทเดนชัด ในการควบคุมอิทธิพลทางการเมืองของดินแดนอิสานระหวาง
พุทธศตวรรษที่ 12-18 พวกเขมรหรือขอม อาจจะอพยพมาจากทางเหนือของแมนํ้าโขง โดยตาม
ชาวมอญลงมาตอนลางแตไปตั้งหลักแหลงอยูทางทิศตะวันออกในดินแดนที่เปนประเทศลาวใน
ปจจุบัน และในที่ราบสูงโคราช รวมทั้งคงมีบางสวนที่อพยพไปตามลําน้ําโขง ตั้งถิ่นฐานปะปน
กับกลุมดั้งเดิมอื่นๆ
         กลุมชนชาวเขมรไดมีการเคลื่อนยายถิ่นฐานดวยเหตุผลทางการเมืองและอิทธิพลความเชื่อ
ทางศาสนาพราหมณฮินดูอยูเปนระยะ ซึ่งเปนชวงที่อิทธิพลทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรมเขมรได
แพรเขาสูอิสานตอนลางอยางมากมาย ในชวงเวลานี้ไดมีการกอสรางศาสนสถานไวเปนจํานวนมาก
และนาจะเป น ชว งสําคั ญช ว งหนึ่งที่มีการอพยพของชาวเขมรจากประเทศกัมพู ชา โดยเฉพาะ
ชางฝมือและแรงงานเขมรเขาสูประเทศไทย ซึ่งในเขตของตําบลเชื้อเพลิงนั้นนาจะเปนที่อยูเกาของ
ชาวเขมรโบราณ โดยทราบจากหลักฐานที่มีการสรางปราสาทบานไพล ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบ
เขมร ชาวเขมรเหลานี้คงไดตั้งบานเรือนอยูบริเวณเดียวกันกับชาวกูยในเขตปาดงทั่วไปในสมัยนั้น
           ชาวเขมรที่เขามานี้ไดนําเอาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมตางๆ เขามาใชและเขาไปมี
อิ ท ธิ พ ลต อ กลุ ม อื่ น ก อ ให เ กิ ด การผสมกลมกลื น ทางเชื้ อ ชาติ ภาษาและวั ฒ นธรรม จนเกิ ด
เอกลักษณเฉพาะถิ่น โดยไดมีการกําหนดชื่อเรียกของภาษาเขมรและคนที่พูดภาษาเขมรในประเทศ
ไทยวา “เขมรถิ่นไทย”
         โดยทั่วๆ ไปแลวชาวเขมรถิ่นไทยจะเรียกตัวเองวา “คแมร” และเรียกภาษาของตัวเองวา
“คแมร-ลือ” ซึ่งมีความหมายวา “เขมรสูง” เรียกภาษาเขมรและชาวเขมรที่อาศัยอยูในประเทศ
กัมพูชาวา “คแมร-กรอม” แปลวา “เขมรต่ํา” และเรียกคนไทยหรือคนที่พูดไทยวา “ซีม” ซึ่งตรงกับ
คําวา สยาม ในภาษาไทย
         กลาวโดยทั่วไปเขมรและไทยคลายกันมาก ผิดแตคนไทยเขมรมักจะมีผิวสีคล้ํากวาไทย
และมักนิยมไวหนวดเครา สวนความเปนอยู การนับถือศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและ
วัฒนธรรมจะมีสวนคลายคลึงกับวัฒนธรรมของไทยหรือของไทยลาวมาก เพราะวาตางก็อยูใน
วัฒ นธรรมแบบพระพุท ธศาสนาและสั ง คมชาวนาเหมื อนกั น แตค วามเชื่อ บางอย า งที่มี ค วาม
แตกตางกันออกไปเขมรยังรักษาของตนไวอยางดี
       2. ภาษาเขมร
          ได มี ก ารขุ ด พบศิ ล าจารึ ก อั ก ษรขอม ภาษาเขมรโบราณ ที่ มี อ ายุ เ ก า แก ตั้ ง แต ร าว
พุทธศตวรรษที่ 12 ที่วัดจุมพลสุทธาวาส นอกจากนี้ยังไดมีการขุดพบอีกหลายที่ในจังหวัดสุรินทร
ซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวามีกลุมชนที่ใชภาษาเขมรเปนภาษาพูดและภาษาเขียนมาตั้งแตโบราณแลว
ในบริเวณจังหวัดสุรินทร โดยในบริเวณพื้นที่ตําบลเชื้อเพลิงนั้นมีหลักฐานที่บงบอกวามีการใช
ภาษาเขมรตั้งแตโบราณจนถึงในปจจุบัน โดยพบวามีการจารึกคัมภีรพระไตรปฎกเปนภาษาเขมร
โดยมีหลักฐานที่ วัดมุนีนิรมิต และชาวบานในตําบลสวนมากจะพูดภาษาเขมร คนที่พูดภาษาอื่น
มักจะเปนคนที่มาจากตางถิ่น ภาษาที่นอกเหนือจากภาษาเขมร เชน ไทยลาว สวย
          ภาษาเขมรเปนภาษากลุมยอยของกลุม ภาษามอญเขมร
          นักภาษาศาสตรไดแบงภาษาออกเปน 3 กลุม ตามเขตการปกครอง คือ
          1. ภาษาเขมรเหนือ หรือเขมรสูง หรือเขมรถิ่นไทย เปนภาษาของคนไทยเชื้อสายเขมรที่
อาศัยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
          2. ภาษาเขมรกลาง เปนภาษาของผูที่พดภาษาเขมรในประเทศกัมพูชา ( ชาวกัมพูชาจะเรียก
                                                  ู
คนที่พูดภาษาเขมรในตอนใตของเวียดนามวา เขมรต่ํา และเรียกตนเองวา เขมรกลาง )
          3.ภาษาเขมรใต เป น ภาษาของคนเวี ย ดนามเชื้ อ สายเขมรที่ อ าศั ย อยู ท างตอนใต ข อง
เวียดนาม
          สําหรับกลุมชนในจังหวัดสุรินทรและในเขตตําบลเชื้อเพลิงที่พูดภาษาเขมรนั้น ภาษาที่พูด
มีความแตกตางจากภาษาเขมรในประเทศกัมพูชา จนบางครั้งพูดและฟงแตกตางกัน ปจจุบันภาษา
เขมรที่ประชาชนในจังหวัดสุรินทรใชพูดกันมีลีลาของเสียงเรียบเสมอ นุมนวล ออนโยน ไม
กระโชกโฮกฮาก ไมกระแทกกระทั้น ไมมีอักษรสูง คําที่ออกมาจะเปนอักษรกลางถึงอักษรต่ํา
ทั้งสิ้น เปนภาษาที่ใชเขียนดวยอักษรขอมหรือเขมรโบราณ ซึ่งปรากฎเปนตัวอักษรในคัมภีรใบ
ลานและบทสวดตางๆที่จารึกเปนตัวหนังสือไทยโบราณและอักษรขอม ภาษาเขมรนับเปนภาษา
เขียนภาษาหนึ่งที่ผูบวชเรียนในสมัยกอน จําเปนตองเรียนควบคูกับภาษาไทย ทั้งนี้เพราะคัมภีรใบ
ลานตามวัดเกาแกจะมีบทสวดหรือคําสอนเปนภาษาเมรเสียสวนใหญ
        ภาษาเขมรหรือเขมรถิ่นไทย เปนภาษาที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต และไมมีระบบเสียง
หนัก - เบาของสระ มีการแบงแยกความหมายของคําแตมีระบบทํานองเสียง คลายกับภาษาอังกฤษ
เชน
        ซี บาย (ทํานองเสียงกลาง) แปลวา “กินขาว”
        ซี บาย(ทํานองเสียงสูง)   แปลวา “กินขาวไหม”
ภาษาเขมรถิ่นไทยมีสระทั้งหมด 24 เสียง แบงเปนสระเดี่ยว 28 เสียง สระผสม 6 เสียง
และมีพยัญชนะ 21 เสียง ซึ่งเกิดเปนพยัญชนะตนได 21 เสียง พยัญชนะทาย 14 เสียง
       ภาษาเขมรจํานวนมากมีรากศัพทมาจากภาษาบาลีสันสกฤต เชน การนับเดือนทั้งสิบสอง
เดือน โดยการเริ่มนับตั้งแตเดือนหาเปนตนไป ดังนี้

          ภาษาไทย                            ภาษาเขมร                       ภาษาสันสกฤต
เดือนหา                          แคแจด                              แจตรมาศ
เดือนหก                           แคประสะ                            ไพศาขมาศ
เดือนเจ็ด                         แคเจษ                             เชษฐมาศ
เดือนแปด                          แคอาสาต                            อาสาฒามาศ
เดือนเกา                         แคสราบ                             ศราวณะมาศ
เดือนสิบ                          แคพ็อดระบ็อด                       พัทธรปทมาศ
เดือนสิบเอ็ด                      แคอาโสจน                          อาศวยธมาศ
เดือนสิบสอง                       แคกระเดอะ                          กรรติกมาศ
เดือนอาย(หนึ่ง)                  แคเมียะตูจ(เอียะเสียงยาว)          มามตศิรมาศ
เดือนยี(สอง)
       ่                          แคเบาะฮ(เสียงกระแทก)             ยุศยมาศ(เขมรเรียกวาเมียะตูจ)
เดือนสาม                          แคเมียะทม(เอียะเสียงยาว)           มาฆมาศ(เขมรเรียกวาเมียะทม)
เดือนสี่                          แคปะกุน                            ยวลคุณมาศ

         ภาษาเขมรเปนภาษาที่มีความคลายคลึงกับภาษาไทยมากกวาความแตกตาง เพราะภาษา
เขมรมี ลั ก ษณะคํ า โดด เช น เดี ย วกั บ ภาษาไทย แต ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ มี ลั ก ษณะของภาษาคํ า ที่
ติดตอกันซึ่งมีลักษณะดังนี้
         1. ความคลายคลึงกับภาษาไทย
             1.1 คําในภาษาเขมรสวนมากเปนคําพยางคเดียว ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปเพื่อแสดง
หนาที่ในประโยค เชนเดียวกับภาษาไทย เชน คํานาม ไมมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อแสดงเพศ พจน
แตใชคําอื่นประกอบเพื่อแสดง เพศ พจน ตัวอยางเชน สรีสวยเนียะ(แสร็ย) ผูหญิง 1 คน
โกนสรี - ลูกสาว คํากริยาไมมีการเปลี่ยนรูปเพื่อบอกกาล มาลา วาจก แตใชคําอื่นๆ ประกอบเชน
ขฒกพุงซีบาย - ฉันกําลังกินขาว กนปรุสนึงโตวรีน - ลูกชายจะไปเรียน เนียงแดงเโตวตลาด -
นางสาวแดงไปตลาด
             1.2 คําในภาษาเขมรคําเดียวมีความหมายและหนาที่ในประโยคไดหลายอยางเชน
นึง – จะ,กับ เนา – อยู,ยัง ผดัจ(เผด็จ) – ตัด
1.3 ภาษาเขมรมีลกษณะนามใชเชนเดียวกับภาษาไทย เชน ผกาปรโตง - ดอกไม 2
                               ั
ชอ เปราะฮปรําเนียะ – ผูชาย 5 คน ปรํามูยดม 6 บาท
             1.4 คําขยายไวหลังคําถูกขยาย เชน ผกาลออ - ดอกไมสวย บายจะเอิน - ขาวสุก
อังกัวรธม - เมืองใหญ ลออจณัป – งามเดน
             1.5 ภาษาเขมรใชในการสรางคําแบบคําประสม เชน ผกายพรึก-ดาวรุงดาวประจําเมือง
ตาราเหาะ - ดาวเทียม
             1.6 ภาษาเขมรเปนภาษาซอนคําแบบคําซอนภาษาไทย เชน เลมียดไลม - (พูก) ชา ๆ
ผดวจเผดิม - แรกเริ่ม โรยเรียบ - เรียบรอย ราบเรียบ
             1.7 การเรียงคําเขาประโยคในภาษาเขมรเปนภาษาไทย เชน อัปรีร สี กบาล - อัปรีย
กินหัว โลก กรู ฟนเรียน ขญมดมปะเตียะ ยูรเฮย - คุณครูสอนฉันมานานแลว จะแก ขเมา เนา
กรอม ปะเตียะ - หมาดําอยูใตถุนบาน
             1.8 เขมรยืมคําภาษาตางประเทศ เชน คําบาลี สันสกฤต เขาไปในภาษาของตนมาก
พอๆ กับภาษาไทย ทั้งนี้เพราะวาเปนภาษาเกี่ยวกับศาสนาและพิธีกรรม

          2. ความแตกตางกับภาษาไทย
               2.1 การสรางคําในภาษาเขมร มีการสรางคําที่แตกตางจากภาษาไทยตรงที่ภาษาไทยใช
วิธีการสรางคําแบบประสมคําเปนหลัก แตเขมรโบราณใชวิธีในการสรางคําโดยการเติมหนาคําและ
กลางคํา แตไมมีการเติมทายคํา ลักษณะเชนนี้คลายกับการสรางคําในภาษาคําติดตอ
               2.2 เขมรไมใช ว รรณยุกต ขอนี้เปนความแตกต างที่เห็นไดชัดมาก คือ ถอยคํา ใน
ภาษาไทยของเราใชวรรณยุกตกําหนดความหมายของคํา จึงตองคิดเครื่องหมายวรรณยุกตข้ึนใช
สวนในภาษาเขมร การบงบอกความหมายของคําขึ้นอยูกับการเนนคํา ฉะนั้นการเขียนภาษาเขมร
จึงไมมีเครื่องหมายวรรณยุกต
               2.3 วิธีการหยิบยืมคําในภาษาตางประเทศไปใชในภาษาของตนทั้งภาษาไทยและเขมร
ไดหยิบยืมภาษาตางประเทศใชในภาษาของตนมากพอๆ กัน ตางกันเพียงแตวา ไทยมักยืมคํามาใช
มากกวาจะยืมระบบเสียง และระบบไวยกรณมาปรับปรุงในภาษาของตน สวนเขมรนั้นรับภาษา
บาลี สันสกฤตเขาไปใชโดยการหยิบยืมคํา ระบบเสียงไวยกรณที่สําคัญ

                 กล า วถึ ง ลั ก ษณะคํ า กริ ย าประการหนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในประโยคแล ว ลั ก ษณะ
โครงสรางของประโยคจะแตกตางไปจากโครงสรางของประโยคปกติ กลาวคือ ลักษณะเปนกริยา
ตามดวยประธาน ลักษณะของประโยคโครงสรางแบบนี้จะพบมากกับคํากริยาที่ใชแสดงลักษณะ
รางกาย ตัวอยางเชน - ภาษาไทยใช ขาหัก ภาษาเขมรใช หักขา(บักเจิง)
                        - ภาษาไทยใช หัวแตก ภาษาเขมรใช แตก หัว (แบก- กบาล)
โครงสรางทางสังคม วิถีชีวต วัฒนธรรมความเปนอยู
                         ิ

          ชาวเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทรและชาวตําบลเชื้อเพลิงมีวิถีชีวิตเรียบงาย รักความสงบ
ใหความเคารพผูท่อาวุโสกวา สวนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําไร หนุมสาวรุน
                     ี
ใหมที่วางจากการทํานาทําไร จะเดินทางไปทํางานรับจางในตัวเมืองหรือในเมืองหลวง และเมื่อถึง
ฤดูทําการเพาะปลูกก็เดินทางกลับสูภูมิลําเนาเพื่อประกอบอาชีพหลักของตน เด็กชายจะไดรับการ
ฝกใหทํางานนอกบาน เชน งานในทองไรทองนา สวนเด็กหญิงจะไดรับการสั่งสอนอบรมให
ทํางานภายในบาน เชน การทําอาหาร การเย็บปกถักรอย และงานทอผา
          โดยทั่วไปลักษณะของครอบครัวของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิง จะเปนครอบครัวใหญ
และมีบางครอบครัวที่มีการแยกออกมาอยู เปนครอบครัวยอยๆ ครอบครัวหนึ่งอาจจะประกอบดวย
ตา ยาย (หรือ ปู ยา)         ลุง ปา นา อา พี่ นอง ลูกหลานเปนจํานวนมาก ลักษณะครอบครัว
เหมือนกับชาวไทยโดยทั่วไป คือ มีพอบานเปนหัวหนาครอบครัว พอครัวเปนผูทํางานเพื่อหาเลี้ยง
สมาชิกในครอบครัว แตวาในสภาพปจจุบันนั้น ทั้งพอบานและแมบานตองชวยกันทํางานหาเลี้ยง
ครอบครัว โดยทั่วไปชาวเขมรถิ่นไทยจะใหความสําคัญหรือใหเกียรติแกเพศชายในการดําเนิน
กิจกรรมหรือตัดสินใจในเรื่องตางๆ
          แมวาวิถีชีวิตของชาวเขมรถิ่นไทยในสุรินทรและในเขตตําบลเชื้อเพลิงมีลักษณะคลายกับ
คนไทยในทองถิ่นทั่วไป ถาเปรียบเทียบกับชาวเขมรในประเทศกัมพูชาแลว ความเปนอยู ประเพณี
และความเชื่อตางๆ ของชาวเขมรถิ่นไทยจะมีสวนคลายกับชาวเขมรในประเทศกัมพูชามาก เชน
ลักษณะของบานชั้นเดียวใตถุนสูง พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิด การตาย การแตงงาน การนับเวลา
วัน เดือน ป การเชื่อเรื่องโชคลางของขลัง ฤกษยาม การรักษาโรคแบบพื้นบาน การประกอบ
อาชีพ การละเลนตางๆ ตลอดจนอุปนิสัยสวนบุคคล เปนตน

        1. อาหาร
        อาหารหลักของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิง และชาวเขมรถิ่นไทย คือ ขาวเจา(ซึ่งไม
เหมือนกับชาวอิสานทั่วไปทีกินขาวเหนียว) สวนอาหารพื้นบานที่เปนที่รูจกคือ “ปราเฮาะคแม”
                          ่                                              ั
(ปลาราเขมร) ปลาจอม ปลาแหง ปลายาง ปลาตม น้ําพริกจิ้มผัก เนื้อสัตว ผัก อาหารดังกลาว
จัดเปนอาหารที่นิยมบริโภคในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังมีการนําวัตถุดบที่หาไดตามธรรมชาติ
                                                                       ิ
มาประกอบอาหารที่จัดเปนเอกลักษณของตัวเอง เชน แกงปูใสเผือก(ละแวกะดาม) แกงกลวย
(ซันลอรเจก) แกงหอย(ซันลอรกะเจา) แกงมะละกอ(ซันลอรละฮอง) ยําปลาจอม (เยือมแตร็ยป-
รัย) ยําไขมดแดง(เยือมปวงอันกรอง) ยําดักแด เปนตน อาหารที่นยมบริโภคควบคูไปกับอาหาร
                                                              ิ
คาวไดแกอาหารหวานตางๆ หรือที่เรียกวา ปงแอม เชน ขาวตมใบมะพราว(อันซอมซาเลาะโดง)
ขนมกนตาราง(นมกันตางราง) ขนมมุก(นมมุ) ขนมกันเตรือม ขนมสะบันงา ขนมนางเล็ด ขนม
ไสมะพราว(นมโกร็จ) เปนตน
          สําหรับอาหารที่ใชในประเพณี พิธกรรมตางๆ ของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิงและชาว
                                              ี
เขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร จัดวาเปนอาหารที่ตองใชฝมอในการปรุงเปนพิเศษ อาหารที่เปน
                                                             ื
เอกลักษณในพิธีแตงงาน ประกอบดวย เนื้อหมู เสนหมี่ วุนเสน ฟกเขียว ฟกทอง วัตถุดบ              ิ
เหลานี้สามารถนําไปประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน แกงหนอไม ตมจืดกระดูกหมู เนื้อหมู
ทอดหรือยาง แกงหมูฟกทอง แกงจืดวุนเสน ผัดหมี่ แกงเผ็ดฟกเขียว อาหารเหลานี้ลวนเปน
                                         
อาหารมงคลสําหรับเลี้ยงแขกเหรื่อที่มารวมงาน สาเหตุที่เลือกอาหารเหลานี้ในพิธีแตงงานมาจาก
ความเชื่อที่วาหมูเปนอาหารในโอกาสพิเศษ
                                                       เพราะในสมัยกอนนั้นเนื้อหมูหายากไมอาจ
รับประทานไดทุกวัน ดังนัน การประกอบอาหารเนื้อหมูจึงเปนการแสดงถึงฐานะของผูจัดงานดวย
                             ้
และเชื่อวาเสนหมี่ วุนเสนเปนสายใยเชื่อมโยงไมตรีของผูครองเรือนใหรักกันยิ่งยืนนาน และมีอายุ
                      
ยืน ฟกเขียวคือความร่ํารวย เพราะฟกเขียวหมายถึงเงิน ฟกทองหมายถึงทอง ฟกเขียวและฟกทอง
จึงแทนความเชื่อของชาวเขมรวาจะร่ํารวยเงินทอง สวนในงานศพนั้นนิยมแกงกลวย ซึ่งเปน
เอกลักษณเฉพาะ โดยเมื่อมีคนตายเจาภาพจะนํากลวยดิบ ซึ่งใชไดทกชนิด ยกเวนกลวยตานี ใส
                                                                     ุ
เนื้อไก เนื้อหมู หรือเนื้อวัว ชนิดใดชนิดหนึ่งแตนิยมใชเนื้อไกเพราะเปนสัตวเลี้ยงประจําบานทีหา
                                                                                                ่
ไดงาย แกงกลวยนี้ถือวาเปนอาหารสําหรับเลี้ยงแขกในงานศพโดยเฉพาะ เพราะมีความเชื่อวาเปน
     
การตัดสายสัมพันธระหวางผูตายกับญาติมตรที่ยังมีชวิตอยู สําหรับอาหารในประเพณีวนสารท(วัน
                                            ิ         ี                                ั
แซนโดน-ตา) นิยมใชปลายาง หมูยาง ไกยาง หมูตม และขาวตมใบมะพราว เปนตน
                                                    
          สวนเครื่องดื่มนั้น คนผูชายสวนมากนิยมดื่มสุรา (เหลาโรง)มาก และในพิธีการตางๆใน
วัฒนธรรมของชาวเขมรถิ่นไทยจะตองใชสุราเปนเครื่องประกอบพิธีดวย คือใชสุราเพื่อการสื่อสาร
ระหวางลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยูกับบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว

         2. การแตงกาย
         การแตงกาย จะคอนขางเรียบงาย ถามีงานออกนอกบานผูชายจะสวมเสื้อคอกลม แขนสั้น
ยาวแลวแตโอกาส นุงโสรงไหม มีผาขาวมาคาดเอว สําหรับหญิงสาวจะสวมเสื้อคอยะวา นุงผาถุง
ไหมซึ่งทําไวใชในครอบครัว ถาอยูบานจะนุงผางายๆสบายๆ ถาไปในงานตางๆจึงจะใชผาที่
สวยงาม เชน ผาโฮล ปะกาปะกุน ปะกาจันทน ผูทสูงอายุนิยมหมผาสไบ โดยเฉพาะเวลาไป
                                                       ี่
ทําบุญที่วัด ผาไหมของชาวตําบลเชื้อเพลิงเปนผาที่มีลวดลายและสีสันที่เปนเอกลักษณประจํากลุม
                                                                                           
ซึ่งสวยงามมาก ผาไหมพืนเมืองที่มีชื่อคือ ผาโฮล ผาอําปรุม ผาซิ่น
                         ้
         เครื่องประดับสวนมากจะเปนเครื่องเงิน ซึ่งเรียกในภาษาพื้นเมืองวา ปะเกือม(ประคํา)
โดยมีการนําเม็ดประเกือมมาทําเปนสรอยคอ สรอยแขนเปนเครื่องประดับ สวนที่หูนั้นใสตุมหูที่
เรียกวา “กระจอน” หรือเรียกอีกอยางหนึงวา “ตะเกา” มีกานงอนหอยลงมา
                                        ่
ปจจุบันนีการแตงกายดวยผาไหม และเครื่องประดับเงิน กําลังเปนทีนิยม ซึ่งเราจะเห็นได
                ้                                                     ่
จากการที่สตรีสวมใสไปรวมงานตางๆ
บทที่ 3
                                     ผลการดําเนินงาน
ความเชื่อ

        1. โบล-หมอโบล
         โบล-หมอโบล (ทํานายโรค-เขมร) มีพิธีกรรมทํานายโรคภัยไขเจ็บแบบหนึ่งเรียกวา “โบล”
ซึ่งแปลวา หาจุดที่ตรงดิ่ง เชน การดิ่งเสาเรือนตอนสรางบานเรือน
         การทํานายโรคภัยไขเจ็บ มีอุปกรณเสี่ยงทาย 4 ชนิด
         1. ใชฝาเตาปูนที่มีหวงบนยอดฝาปด ใชเชือกผูกหวงบนยอดฝาปด มือหนึ่งจับเชือกใหเตา
ปูนหอยหมอโบลจะบริกรรม หรือตั้งจิตเสี่ยงทาย หาสมมุติฐานไปเรื่อยๆหากวาคําใด เชน ผิดผีปูยา
เตาปูนเริ่มกวัดแกวง ก็วาซ้ําๆ ถาเตาปูนกวัดแกวงเร็วขึ้น ก็ทํานายวาปวยเพราะผิดผีปูยา
         2. ใชมีดยับ หรือมีดสะนากหรือตะไกรหนีบหมาก ใชเชือกดายผูกดานดามและดานหัว
ตะไกรหนีบหมาก มือหนึ่งถือเชือก หมอโบลจะบริกรรมหรือตั้งจิตเสี่ยงทาย หาสมมุติฐานของ
การเจ็บไขไดปวยโดยเรียกชื่อคํานั้นซ้ําๆกัน เชน ถูกคุณไสย หากตะไกรหนีบหมากกวัดแกวง และ
คอยๆกวัดแกวงเร็วขึ้นๆก็เชื่อวา คนปวยนั้นถูกคุณไสย
         3. ใชมีดจักตอกปกบนถวยคือใชถวยกระเบื้องเปลาๆแลวนํามีดจักรตอกปกในถวยใชไมไผ
คีบมีด ใหไมไผวางบนจานพอดี ปากหมอโบลก็บริกรรมเสี่ยงทายหาสมมติฐานการอาเพศของคน
ใชกลาวคําซ้ําๆไปเรื่อยๆหากกลาวคําใด เชน ผีตายโหงๆ ๆ มีดปกตั้งอยูบนถวยเปลาได เชื่อวา
ปวยเพราะผีตายโหงกระทํา
         4. ตั้งไขในจาน ใชไขไก 1 ฟองตั้งในจาน ขณะที่ตั้งหมอโบลก็บริกรรม เสี่ยงทายไป
เรื่อยๆ เพื่อหาวาปวยสาเหตุใดหากกลาวคําวา “ผิดคําบนบาน” ๆๆ ไขไกตั้งได ก็ทํานายวาปวย
เพราะผิดคําสาบาน ใหคนปวยไปแกบนตามที่เคยบนบานไว หลังจากนั้นผลของการวินิจฉัยสาเหตุ
ของโรคภัยไขเจ็บก็ประจักษ ซึ่งสวนใหญจะเปนการวินิจฉัยโรคภัยที่เกี่ยวเนื่องดวยไสยศาสตร คือ
เกิดอาเพศของบานเรือน สัตวเลี้ยง หรือถูกผีกระทําตางๆ เชน ผิดครูผิดผี ผีทัก พรายอะกาแสทํา
ผีตายโหงทํา ผีบรรพบุรุษฝายพอหรือฝายแมทํา มีตอไมอยูใตถุนบาน(ปลูกบานครอมตอ) แนวรั้ว
พุงเขาหาเรือนอาศัย ผีปาทํา เทวดาขออยูดวย (บ็องบ็อด) ผิดมะมวด ผิดคําบนบานไว ผีปูตา
โกรธ ถูกคุณไสยของผี หรือของคน เสาเรือนมีไมคาบเปลือก ก็มีอยูในความเชื่อรวมกันเหลานี้
ถาบริกรรมไปหมดคําเหลานี้แลวโบลไมสําเร็จก็มาทายวาเปนโรคที่ตองไปหาหมอ แนะใหไป
โรงพยาบาลเทานั้น
หมอโบลนี้ไมบริการรักษาโรค ทําหนาที่เพียงวินิจฉัยโรคเทานั้น การไปทําพีธีเซนสรวง
หรือพิธีกรรมอื่นใดญาติคนปวยตองไปจัดการเอง และที่พบมาโดยมากเปนสตรีเพศเทานั้นที่เปน
หมอโบล




                                     รูปที่ 1 การโบล

       2. จวม
       จวมเปนความเชื่อในแงของการนับถือครูของการรักษาโรค การทําจวมนี้เพื่อใหผที่มารับ
                                                                                 ู
การรักษาใชในการกราบไหวบูชาประกอบกับการรักษาเพื่อใหผลการรักษาดีขึ้นกวาเดิม       และ
ชาวบานยังมีความเชื่อวาในบางคนแคเพียงทําจวมไวบูชาโดยไมตองใชยาแผนโบราณของหมอยาก็
สามารถหายจากโรคได ซึ่งการทําจวมนั้นของแตละคนจะทําไมเหมือนกัน ขึ้นกับ วัน เดือน ป เกิด
และธาตุของแตละคน จวมนั้นทํามาจากใบตาลเปนหลัก และจวมของผูชายกับผูหญิงจะแตกตาง
กัน โดยของผูชายจะทําเปน 4 แฉก สวนผูหญิงจะเปน 3 แฉก โดยการทําจวมนั้นเปนหนาที่ของ
หมอยาผูใหการรักษา




                              รูปที่ 2 จวมของผูชายและผูหญิง
                                                        
3. การเขาทรง(โจลมะม็วด)
            มะม็วด เปนพีธีกรรมพื้นบานที่ทําเพื่อหาสาเหตุของการเจ็บปวย ครูเขาทรง (กรู มะม็วด)
สวนมากจะเปนผูหญิง การเขาทรงนั้นผูเขาทรงจะเตรียมขันใสขาวสาร และปกเทียนซึ่งจุดไฟแลว
เมื่อทําพิธีเขาทรงผูจะใชมือสองขางหนา แลวนั่งทําสมาธิเพื่อใหวิญญาณหรือสิ่งศักดิ์สทธิ์เขาทรง
                                                                                        ิ
ราง เมื่อวิญญาณเขารางทรงแลวจะมีผูคอยซักถามวา เหตุใดคนไข ถึงไดปวย ผูเขาทรงก็แจงให
ทราบ และบอกวิธแกดวย ภายใตเงื่อนไขการเสี่ยงทายที่ไดจากการโบล ซึ่งหมายถึงวิธการหา
                      ี                                                              ี
สาเหตุความเจ็บปวยของผูปวย หากการโบลบอกวาตองประกอบพิธีกรรมการโจลมะม็วด จึงจะ
                                
ทราบสาเหตุการเจ็บปวยที่แทจริงและโดยละเอียด ผูปวยหรือญาตินองของผูปวยก็จะประกอบพิธี
                                                        
ตามวันและเวลาที่ผูเสี่ยงทายระบุ แตตองไมตรงกับวันพระ
            ระยะเวลาการประกอบพิธีการโจลมะม็วด อยูในชวงเดือนกุมภาพันธ(แคเมียกทม) เดือน
มีนาคม (แคประกุล) และเดือนเมษายน (แคแจด)
            กรูมะม็วด หรือ รางทรงจะทําหนาที่ตดตอหรือเปนสื่อกลางระหวางมนุษยกับวิญญาณ
                                                 ิ
บรรพบุรุษ รวมกันแสวงหาวิธการรักษาผูปวย ซึ่งอาจไดรับคําตอบใหรักษาดวยสมุนไพร การเสก
                                  ี
เปาดวยลมปาก น้ําหมาก น้ามนต การบีบนวดตามรางกาย หรือการทิมแทงรางกายดวยรากไม การ
                              ํ                                       ่
ฟอนรําหรือการเซนไหวผีบรรพบุรุษ เปนตน
            ในบางครั้งวิญญาณที่เขาทรงตองการจะรํา ในกรณีนี้ผูเขาทรงซึ่งอยูในรางจะตองแตงกาย
ใหม ผูจัดจะนําเครื่องแตงกายมาใหเลือกจนพอใจ และเมื่อรางทรงแตงกายแตงกายเสร็จแลววงป
พาทยกจะบรรเลงเพลงสับเปลี่ยนจังหวะและทํานองเพลงไปเรื่อยๆจนกวารางทรงจะพอใจ หาก
          ็
วิญญาณในรางทรงพอใจเพลงอะไรก็จะรายรําไปตามจังหวะเพลงไปเรือยๆ และเมื่อรางทรงรายรํา
                                                                        ่
จนพอใจแลววิญญาณจะออกจากรางผูเขาทรงจะกัดเทียนที่จุดอยูใหดับ  
            ในกรณีที่วิญญาณภูติผีเขารางทรง ผูเขาทรงจะรําและมีการ “กาบเป”(ฟนเป)ดวย คือเครื่อง
ประกอบการเขาทรงทําจากตนกลวย และมีเครื่องเคียเป ซึ่งประกอบดวยขนม ขาวตมกลวย
ขาวตอก ดอกไม การรําเชนนี้เปนการรําเพือขับไลเสนียดจัญไรไมใหเขามาขัดขวางการประกอบ
                                             ่
พิธกรรม หากเจาภาพใดหรือเครือญาติไมสามารถเขาทรงไดดวยตนเอง ครูมะม็วดจะตองเขาทรง
     ี                                                         
ในพิธกรรมโจลมะม็วดครั้งนั้นดวย นอกเหนือจากการทําหนาที่เขาทรงครั้งสุดทายเพื่อยุติพิธีการ
        ี
โจลมะม็วด ซึงเรียกวา ซาปาดาน
                 ่
            หากคนปวยมีอาการออนเพลีย ยกแขนขาไมขึ้น กินไมได นอนไมหลับ ฯลฯ แมครู
มะม็วดจะแนะนําใหทําพิธี “เฮาปลึง” หรือเรียกขวัญ เพราะเชื่อวาขวัญของคนปวยไมอยูในรูป
ตองทําพิธีเรียกขวัญใหกลับมา ชาวไทยเขมรเชื่อวา ขวัญมีลักษณะคลายดวงแกว มีสีรุง 7 สี
ลักษณะกลมและโตเทากํามือคน
ในกระบวนการเรียกขวัญ (เฮาปลึง)นั้นแมครูมะม็วดจะเชิญเทพมาเขาราง ซึ่งมักจะอางอิง
พระโพธิสัตว(เทพแหงการแพทยและพยาบาล ในพุทธศตวรรษ 17-18 ) ชวงระยะเวลาของการเขา
ประทับรางทรง( 2-3 ชั่วโมง) โดยครูมะม็วดจะรองเพลงเชิญชวนใหดวงแกว(ขวัญ)ที่หายไปกลับมา
           ตอจากการพรรณนาหาแกว(ขวัญ) เรียกขวัญมาแลว แมครูมะม็วดก็รายรําดาบเพื่อไลภูติผี
ปศาจ หรือสิที่ไมดีตางๆออกจากผูปวย สุดทายก็ใชดาบไปฟนเป(อุปกรณใสเครื่องเซนผีสางระดับ
               ่                   
ต่ําที่ไลออกจากรางของคนปวย รวมทังเปนอุปกรณรองรับสิ่งไมดีหรือโรครายทั้งหลาบจากราง
                                        ้
ของผูปวย ทําจากกานกลวย) เปนอันเสร็จพิธี

           4. การเฮาปลึง
           ปลึง เปนภาษาเขมรแปลวา ขวัญ อาศัยอยูกับจิตของคน ชาวเขมร เชื่อวาจิตใจของคนจะ
มีปลึงอยูทั้งหมด 19 ดวง ทําใหจิตใจปกติ มีความสุขสดใส หากเกิดเหตุการณที่ทําใหคนนันตกใจ    ้
หวาดกลัว หรือหวาดผวา ก็จะทําให “ละลัวะปลึง” (ขวัญขาดพรองจํานวนไป) หรือ “บัดปลึง”
(ขวัญหายหรือขวัญไมอยูกับเนื้อกับตัว) จําตองทําพิธี “เฮาปลึง”(เรียกขวัญ) หรือหากวาปลึงนั้นถูก
ผูที่มีเวทมนตสวดสูบเอาปลึงไปทําคุณไสย หรือภูติผีมาจับเอาปลึงไปทําราย กักขัง ก็ตองทําพิธี
“ยัวปลึง” (เอาขวัญคืนมา)
           ปลึงนอกจากจะมีในมนุษยแลวในสิ่งอื่นๆก็อาจจะมีเชน ในขาวเปลือก จึงเกิดพิธี “เฮาปลึง
สะเริว”(เรียกขวัญขาว) เปนตน
           คนที่ “ละลัวะปลึง” หรือ “บัดปลึง” มักจะมีอาการอิดโรย ซูบซีด ไมมีแรง กินไมอรอย
นอนไมหลับ ไมมีชีวิตชีวา แมวากายมิไดแตกดับ แตวาจิตใจกลับสลายแลว เพราะวาปลึงไดออก
จากรางไปแลว เสมือนยามหลับที่เราฝนไป ชาวเขมรก็เรียกวา ปลึงไดไปเที่ยว โดยออกจากรางไป
แตวาปลึงก็กลับมาเมื่อตื่น แตคนที่ละลัวะปลึงหรือวาบัดปลึง จะตองทําพิธีเฮาปลึง(เรียกขวัญหรือ
สูขวัญ)
           ในพิธีเฮาปลึง ก็จะมีสํารับประกอบพิธี เรียกวา “บายปลึง”(ขาวขวัญ) ประกอบดวยขาว
สวย ไขไกตม น้ําตาลปก(น้ําออย) น้ํามะพราวออน และเนื้อมะพราวออน และมีดายสําหรับผูก
                
ขอมือเจาของปลึง ดายนี้ชุบน้ําขมิ้นใหเหลือง เปรียบเสมือนเปนเสนลวดทองคํา
           จากนั้นก็จะนําดายทั้ง 19 เสน รวบเขาดวยกัน แลวคลึงเรียกขวัญ(เฮาปลึง) ที่ขอมือของ
คนไข ครั้งที่ 1 ก็นับหนึ่ง ครั้งที่ 2 ก็นับสอง จนกระทั่งถึงครั้งที่ 19 แลวรองวา “ปรําบูน ตะนอบ
สอบ กรบ โมเวย ปลึง ปเลียะ โมเวย ปลึง เปลียะ ๆ” ( 19 ครั้งครบถวน มาเถิดขวัญเอยๆ) แลวผูก
แขนดวยดายเหลานี้ เปนเสร็จพิธี
5. พิธีมงก็วลจองได
           คําวา มงก็วลจองได เปนคําในภาษาเขมร แปลวา ดายมงคลผูกขอมือ นิยมจัดขึ้นในงาน
มงคลทั่วไป อาทิ งานมงคลสมรส งานเรียก ขวัญนาค งานเรียกขวัญโกนจุก งานเรียกขวัญวันแรก
เกิด งานขึ้นบานใหม งานยกเสาเอก งานครบรอบวันเกิด งานวันเกษียณอายุราชการ งานตอนรับ
แขกบานแขกเมือง ฯลฯ นอกจากนียังมีพิธเี รียกขวัญในโอกาสอื่นๆ เชน เรียกขวัญเมือหายปวยแลว
                                       ้                                                ่
เปนตน
           ลําดับพิธมงก็วลจองได เริมจากการเตรียมอุปกรณเพื่อประกอบพิธีใหครบถวน และเมื่อ
                    ี                    ่
ไดฤกษดแลวจะมีผูใหญทําพิธีกลาวเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์และบรรพบุรุษใหมารวมทําขวัญใหตามดวย
           ี
อัญเชิญเทวดา และการสูขวัญของพอครูเชิญขวัญ (อาจมีการรําเชิญขวัญดวยถาหากเปนพิธีในงาน
สําคัญ) ลําดับสุดทายผูใหญจะนําดายมงคลมาผูกขอมือสูขวัญใหผูเขาพิธี
           การผูกขอมือดวยดายมงคลมี 2 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกขับไลสิ่งที่เปนอวมงคลออกจากรางกาย
โดยผูทาพิธีจะเอาดายมากวาดสิ่งที่ไมดีออกจากมือพรอมกับนับ 1 ถึง 7 เปนภาษาเขมร และกลาวคํา
         ํ
ขับไล ขั้นที่สองเปนการอันเชิญสิ่งที่เปนมงคลเขาสูรางกาย จะนับ 1 ถึง 19 ตามดวยการอัญเชิญ
ขวัญ เมื่อขับไลสิ่งไมดีและอันเชิญสิ่งดีเสร็จแลว จึงมีการผูกขอมือพรอมกับกลาวคําอวยพร
           ในพิธีการขับไลสิ่งที่เปนอวมงคลผูรับการสูขวัญตองคว่ํามือใหผูใหญนําดายมากวาดสิ่งไม
ดีออกจากรางกายผานทางมือ ซึ่งดายที่ใชกวาดสิ่งชัวรายนี้เมื่อใชเสร็จแลวจะโยนทิ้ง แลวผูใหญจะ
                                                      ่
นําดายมงคลเสนใหมมาทําพิธีเรียกสิ่งมงคลเขาสูรางกาย ซึ่งผูรับการสูขวัญจะตองแบฝามือทั้งสอง
ขาง เมื่อเสรจการเรียกขวัญแลวผูใหญจะใหศีลใหพรและผูกขอมือใหดวยดายทีใชทาพิธีเรียกสิ่งที่
                                                                                  ่ ํ
เปนมงคลนั้น

        6. พิธีจัดงานศพ
         การตายเป น วาระสุ ด ทายของชีวิ ต การจั ด งานศพใหแ กผูต ายนับ เป น ประเพณีสุด ทา ย
เกี่ยวกับชีวิต จัดขึ้นตามพิธีกรรมที่เกิดจากความเชื่อในศาสนาที่ตนนับถือ กลุมคนไทยเขมรที่นับ
ถือศาสนาพุทธก็จะจัดพิธีศพตามหลักการของศาสนาพุทธซึ่งผสมผสานอยูระหวางคตินิยมเชิงพุทธ
กับพราหมณ
         การทําโลงศพหรือหีบศพ ตามชนบทไมนิยมซื้อโลงสําเร็จรูป แตจะชวยกันตอโลงเองโดย
นําไมประการฝาบานและกระดานพื้นบานของผูตายมาตอเปนโลงแลวประดับดวยกระดาษแกว
หลากสี นํามาตัดเปนลวดลายตางๆ การตั้งศพนิยมตั้งที่บานผูตาย ถาเปนศพของญาติผูใหญจะตั้ง
ไวหลายวันตั้งแต 3 –7 วัน ศพเด็กหรือศพคนที่มีฐานะยากจนจะตั้งไว 1-3 วัน ก็จะทําพิธีฌาปนกิจ
ในชวงที่ตั้งศพสวดอภิธรรมที่บานจะมีประเพณีการเลนอยางหนึ่งเรียกวา “ลึงกาฮ” หมายถึงการ
เลนทายเหรียญวาจะออกหัวหรือกอย โดยใชเงินเหรียญหมุนแลวครอบดวยขัน สวนการแทงหรือ
การทายจะใชเสื้อผา สิ่งของ ตลอดจนเครื่องประดับเทาที่มีอยูขณะนั้น ไมไดเลนไดเสียกันอยาง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง

More Related Content

What's hot

2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx jeabjeabloei
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2Thanawat Krajaejun
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243KKU Library
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์Niran Kultanan
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenriikiki96
 
Project paper
Project paperProject paper
Project paperriikiki96
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 

What's hot (16)

2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
หนังสือ 60 ปี ดร.นิรันดร์ กุลฑานันท์
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaen
 
Project paper
Project paperProject paper
Project paper
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจพัน พัน
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559Ministry of Agriculture and Cooperatives
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์sudarat248
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กBenz_benz2534
 
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดนโครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดนพัน พัน
 
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013KKU Library
 
โครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาโครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาWirika Samee
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_saftyntc thailand
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐTotsaporn Inthanin
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำintira
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์kasetpcc
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันDrDanai Thienphut
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsornblog2u
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 

Viewers also liked (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
รายงานผลการปฏิบัติราชการสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดนโครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
 
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
 
โครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธาโครงงานมัทนะพาธา
โครงงานมัทนะพาธา
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง

2561 project
2561 project  2561 project
2561 project nunjrn
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒Boonlert Aroonpiboon
 
อปท.ดีเด่น
อปท.ดีเด่นอปท.ดีเด่น
อปท.ดีเด่นComniwat Jaya
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวTharapat
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 

Similar to ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง (20)

2561 project
2561 project  2561 project
2561 project
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
112547
112547112547
112547
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
 
Com
ComCom
Com
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
อปท.ดีเด่น
อปท.ดีเด่นอปท.ดีเด่น
อปท.ดีเด่น
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
1
11
1
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยว
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 

ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง

  • 1. คํานํา รายงานเลมนี้เกี่ยวของกับกิจกรรมดานศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นในการ ปฏิบัติงานของนิสิตนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรางสรรคชุมชน ทบวงมหาวิทยาลัยโดย หนวยแกนนําประสานงานสถาบันราชภัฏสุรินทร พื้นที่รับผิดชอบ คือ ตําบลเชื้อเพลิง อําเภอ ปราสาท จังหวั ดสุรินทร จัด ทํ าขึ้ นเพื่อ สํารวจเก็บขอมูล รับทราบปญหาและความต องการ เบื้องตนของชุมชน มีการสรางเครือขายความรวมมือของชุมชนในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น นอกจากนี้ไดจัดทําขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น ที่ไดรับจาก การศึกษา มาเสนอตอชุมชน เพื่อกอประโยชนและตระหนักถึงความสําคัญในคุณคาของมรดก ทางดานศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และมีสวนรวมในการจรรโลง และรักษาไวสืบตอไป การจัดทํารายงานของกลุมศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นในการปฏิบัติงานของ นิสิตนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน ทบวงมหาวิทยาลัย โดยหนวยแกนนํา ประสานงานสถาบันราชภัฏสุรินทร ซึ่งไดรับความรวมมือจากคณาจารย ผูแทนหนวยราชการ องคกร และประชาชนในทองถิ่นที่ใหความอนุเคราะหขอมูลจนสําเร็จลุลวงไปดวยดี กลุมกิจกรรม ดานศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผูจัดทํา กลุมกิจกรรมศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น  โครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน สถาบันราชภัฏสุรินทร
  • 2. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ จากการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2544 วันที่ 8, 15, และ 29 มกราคม 2545 ไดมีมติซึ่งสรุปสาระสําคัญไดวา ในชวงปดภาคการศึกษาประจําปการศึกษาควรจะไดจัดให มีโครงการเพื่อใหนิสิตนักศึกษา รวมถึงอาจารยไดกระทํากิจกรรมที่สรางสรรคและใชเวลาวางให เป น ประโยชน ก อ เกิ ด รายได ห รื อ เพิ่ ม ทั ก ษะด า นอาชี พ มี ก ารฝ ก ฝนและดํ า เนิ น การในฐานะ ผูประกอบการรายใหม (Young Entrepreneur) ในอนาคต ซึ่งเบื้องตนนี้ เกิดขึ้นจากดําริของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) เพื่ อ สนองต อ นโยบายของรั ฐ บาลและมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ดั ง กล า วข า งต น กลุ ม ศิ ล ปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น จึงไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของโครงการนี้ที่ใหนิสิตนักศึกษาได เรียนรูวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณีทองถิ่น โดยใชภูมิปญญารวมกับชุมชนในการ พั ฒ นาท อ งถิ่ น สร า งความคิ ด ในเชิ ง สร า งสรรค มี น วั ฒ กรรมสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ใ หม ๆ ที่ ส ามารถ เชื่อมโยงจากการใชงานไดจริงในชุมชน ตลอดจนสงเสริมอนุรักษ สืบสานและสรางเครือขายรวม ในการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของชาติทั้งทางดานขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยูตอไป วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อใหนักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลงานดานศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นในแตละตําบลที่ไดเขาไปปฏิบัติงาน 2. เพื่อทราบปญหาและความตองการเบื้องตนของชุมชนที่มีตองานดานศิลปะวัฒนธรรม และภูมมิปญญาทองถิ่นที่มีตอการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ 3. เพื่ อ สร า งเครื อ ข า ยความร ว มมื อ ของชุ ม ชนในการอนุ รั ก ษ ม รดกทางด า นศิ ล ปะ วัฒนธรรมตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของทองถิ่น 4. เพื่ อ ให นั ก ศึก ษาได เ รีย นรูแ ละตระหนัก ถึงความสําคัญและคุ ณ คาของมรดกศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและมีสวนรวมในการจรรโลง และรักษาไว พื้นที่เปาหมาย ตําบลเชื้อเพลิง อําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร
  • 3. การดําเนินงาน 1. นักศึกษาที่ออกปฏิบัติงานมีกิจกรรมที่ตองดําเนินการประกอบดวย กิจกรรมที่ 1 นักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลในดานแหลงโบราณสถาน แหลงโบราณคดี โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ แหลงวัฒนธรรมตามรูปแบบการจัดเก็บขอมูลที่ กรมศิลปากรกําหนด กิจกรรมที่ 2 นักศึกษาสํารวจเก็บขอมูลในดานมรดกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การละเลนพื้นบานและภูมิปญญาทองถิ่นโดยการสอบถาม สังเกตการณ สืบคน การสัมภาษณ ถายภาพ หรือวาดภาพลายเสน ตามรู ป แบบการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ที่ ก รมศิ ล ปากรกํ า หนดหรื อ อื่ น ๆที่ เหมาะสม กิจกรรมที่ 3 นักศึกษาจัดกิจกรรมหรือโครงการสืบสานอนุรักษมรดกไทยหรือ ภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับชุมชนหรือตําบล 2. นําผลการจัดกิจกรรมที่ไดศกษาและจัดทํา ประมวล สรุป วิเคราะห และเสนอปญหา ึ ขอคิดเห็น นิยามศัพทเฉพาะ “มรดกทางศิลปวัฒนธรรม” หมายถึง ผลงานที่เกิดจากการคิดคนประดิษฐสรางสรรคส่ิง ที่ ถือ กัน มาเป น สิ่ ง ที่ดี ง าม แล ว เรี ย นรูสืบ ทอดตอ ๆ กั น บางสิ่งยั ง คงเหลือเปน หลัก ฐานจนถึ ง ปจจุบัน มรดกทางศิลปวัฒนธรรม จึงรวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และวรรณกรรม การแสดง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปหัตถกรรมตาง ๆ เปนตน “โบราณสถาน” หมายถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมประเภทสิ่งกอสราง อาคาร สถานที่ และสวนประกอบที่เคลื่อนยายไมได เปนที่ดินเนิน ที่มีหลักฐานเกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร เปนถ้ํา เพิงผาที่คนโบราณเคยพักอาศัยแลวทิ้งรองรอยภาพศิลปะ หรือฝงศพ หรือบางแหงอาจยังถูกใช ประโยชนอยูในปจจุบัน เชน วัด เจดีย ปราสาท แหลงประวัติศาสตร เปนตน “โบราณวัตถุ” หมายถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่เปนวัตถุขนาดตาง ๆ สามารถ เคลื่อนยายไดยากตามขนาดตาง ๆ และน้ําหนักหรือชนิดของโบราณวัตถุ เชน เครื่องปนดินเผา พระพิมพ อาวุธ เครื่องประดับ เปนตน “ภูมิปญญาทองถิ่น” หมายถึง งาน/ผลงาน หรือการประดิษฐอยูในดานตาง ๆ เชน ดาน  ศิลปวัฒนธรรม ดานหัตถกรรม/เทคโนโลยีพื้นบาน หรือในดานอื่น ๆ
  • 4. ระยะเวลาการดําเนินโครงการ วันที่ 1 – 30 เมษายน 2546 ปฏิบัติงานภาคสนามในพื้นที่ วันที่ 1 – 31 พฤษภาคม 2546 ประโยชนที่คาดวาจะไดรบ ั 1. ไดฐานขอมูลดานโบราณสถาน แหลงโบราณคดี โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและแหลง วัฒนธรรมในแตละตําบล 2. ไดฐานขอมูลมรดกวัฒนธรรมดานขนบธรรมเนียมประเพณี การละเลนพื้นบานและ ภูมิปญญาทองถิ่น ในแตละตําบล 3. มีก ารเก็บ รวบรวมข อ มู ล ในดา นตา ง ๆ และรายงานผลที่ จ ะนํา ไปขยายผลในการ ดําเนินการและพัฒนาตอไปในอนาคต 4. มีการสรางเครือขายชุมชนและรับทราบปญหาและความตองการของชุมชนที่มีตองาน ดานอนุรักษมรดกวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อหนวยงานที่เกี่ยวของนําไป ดําเนินการแกไขและพัฒนาตอไป 5. ทําใหนักศึกษามีความเขาใจและเห็นความสําคัญและเห็นคุณคาตอการอนุรักษมรดก ทางวัฒนธรรมในดานตาง ๆ
  • 5. บทที่ 2 สภาพทั่วไปของชุมชน ประวัติชุมชน ตําบลเชื้อเพลิงแตเดิมอยูในเขตการปกครองตําบลไพล ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2524 ไดแยก เปนตําบลเชื้อเพลิงโดยเริ่มแรกมี 9 หมูบาน และเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 ไดมีประกาศ จัดตั้งจากกระทรวงมหาดไทยใหเปนองคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล และ สภาองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลเชื้อเพลิงมีที่ทําการอยู ที่บานรําเบอะหมูที่ 2 ตําบลเชื้อเพลิง คําวา “เชื้อเพลิง” มาจากภาษาทองถิ่น เปนชื่อของตนไมชนิดหนึ่งซึ่งชาวบานถือวาเปนยา สมุนไพรใชสําหรับสตรีที่คลอดบุตรชวยขับเลือดหลังจากอยูไฟ ปจจุบันตําบลเชื้อเพลิงแบงเขตการปกครองตามลักษณะทองที่มีหมูบานจํานวน 12 หมูบาน ประกอบดวย หมูที่ 1 บานเชื้อเพลิง หมูที่ 2 บานรําเบอะ หมูที่ 3 บานโพธิ์กอง หมูที่ 4 บานแสรโบราณ หมูที่ 5 บานขยอง หมูที่ 6 บานปราสาท หมูที่ 7 บานเสม็ด หมูที่ 8 บานขนาดปริง หมูที่ 9 บานหนองซูง หมูที่ 10 บานปรือรูง หมูที่ 11 บานโสนกพัฒนา หมูที่ 12 บานเชื้อเพลิงสามัคคี สภาพชุมชน 2.1 ระยะทางชุมชน หางจากที่วาการอําเภอปราสาท 6.50 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะทางหางจากศาลากลางจังหวัดสุรินทรไปทางทิศใต 23 กิโลเมตร 2.2 ขนาดพื้นที่ของตําบล/ชุมชนที่ดําเนินงาน 32.6256 ตารางกิโลเมตร - ที่ดินสาธารณะประโยชน 150 ไร
  • 6. - ที่ดินราชพัสดุ - ไร - ที่ดินที่อยูอาศัย 1,072 ไร - ที่ดินทํากิน 14,821 ไร - พื้นที่ปา 3,150 ไร - พื้นที่แหลงน้ํา 1,200 ไร รวม 20,392 ไร 2.3 จํานวนประชากรทั้งหมดในตําบล/ชุมชน ชาย 3,687 คน หญิง 3,822 คน รวม 7,509 คน จํานวนหมูบาน 12 หมูบาน จํานวน จํานวนประชากร (คน) ชวงอายุ(ป) ครัวเรือ 60 ป หมู ต่ํา น ชาย หญิง รวม 1- 2 3-5 6 - 11 12- 14 15 - 17 18 - 49 50 - 59 ขึ้น อื่น ๆ กวา 1 ไป 1 167 330 331 661 5 16 31 65 30 31 346 63 71 3 2 239 462 469 931 2 23 35 82 43 59 484 74 124 5 3 129 287 330 617 2 18 22 51 23 22 334 57 84 4 4 147 227 224 451 3 11 21 36 12 18 254 52 42 2 5 74 187 196 383 3 11 20 39 15 21 198 34 38 4 6 142 353 348 701 3 11 30 64 24 20 383 74 87 5 7 92 230 233 463 1 10 19 55 28 9 246 41 54 - 8 147 350 321 671 6 13 27 63 35 42 344 55 81 5 9 204 455 474 929 2 35 57 121 51 50 477 74 60 2 10 145 289 333 622 6 23 24 70 34 39 293 65 69 1 11 746 169 161 330 1 8 9 26 8 18 185 42 31 2 12 137 348 402 750 4 24 29 87 46 36 369 65 89 1 รวม 1769 3687 3822 7509 38 203 324 759 349 374 3913 696 830 35 อื่น ๆ หมายถึง ประชากรที่เปนชาวตางชาติในชุมชนนั้น ไมระบุเพศ * รวม หมายถึง จํานวนประชากรรวมถึงอื่น ๆ ในแตละชุมชนดวย หมายเหตุ ขอมูลประชากรจากสํานักงานสถิติ อ.ปราสาท จ.สุรินทร ประจําเดือนมีนาคม 2546 รวบรวมวันที่ 11 เมษายน 2546โดยนักศึกษาโครงการเรียนรูรวมกัน สรรคสรางชุมชน
  • 7. สภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 อาชีพ - อาชีพหลักของประชากรในตําบล/ชุมชน 1. ทํานา 2. เลี้ยงสัตว 3. ปลูกหมอน เลี้ยงไหม 4. ทอผา 5. ปลูกพืชฤดูแลง 3.2 รายไดของประชากรตอครัวเรือน 1. หมูที่ 1 บานเชื้อเพลิง 27,806 บาท/ครัวเรือน/ป 2. หมูที่ 2 บานรําเบอะ 52,086 บาท/ครัวเรือน/ป 3. หมูที่ 3 บานโพธิ์กอง 70,000 บาท/ครัวเรือน/ป 4. หมูที่ 4 บานแสรโบราณ 20,000 บาท/ครัวเรือน/ป 5. หมูที่ 5 บานขยอง 126,000 บาท/ครัวเรือน/ป 6. หมูที่ 6 บานปราสาท 45,000 บาท/ครัวเรือน/ป 7. หมูที่ 7 บานเสม็ด 25,000 บาท/ครัวเรือน/ป 8. หมูที่ 8 บานขนาดปริง 23,000 บาท/ครัวเรือน/ป 9. หมูที่ 9 บานหนองซูง 15,000 บาท/ครัวเรือน/ป 10. หมูที่ 10 บานปรือรูง 89,522 บาท/ครัวเรือน/ป 11. หมูที่ 11 บานโสนกพัฒนา 70,000 บาท/ครัวเรือน/ป 12. หมูที่ 12 บานเชื้อเพลิงสามัคคี 85,777 บาท/ครัวเรือน/ป 3.3 สถานประกอบการในตําบล/ชุมชน - ปมน้ํามัน 1 แหง - โรงสีขนาดยอม 32 แหง - ตลาดนัด 2 แหง
  • 8. สภาพทางสังคม 4.1 การศึกษา สถานศึกษา จํานวนนักเรียน (คน) จํานวนครู (คน) 1. โรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง 1.1 โรงเรียนบานโพธิ์กอง 263 10 1.2 โรงเรียนบานเชื้อเพลิง 372 13 1.3 โรงเรียนรัฐประชาสามัคคี 256 11 2. โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แหง 2.1 โรงเรียนเชื้อเพลิงวิทยา 500 23 3. อื่นๆ 1 แหง 3.1 โรงเรียนศึกษาพิเศษ 336 51 3.2 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก หมู 2 90 4 หมู 3 60 3 4.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา - วัด 4 แหง - สํานักสงฆ 1 แหง - โบสถ ( คริสตจักร) 1 แหง มีสมาชิก 163 คน อาจารย 3 คน 4.3 สาธารณสุข - สถานีอนามัย 1 แหง - สถานที่ผลิตยาสมุนไพร / อาหารเสริม 1 แหง - กลุม ผสส. / อสม. 12 กลุม 4.4 หนวยงานที่ดูแลดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน(เชน ทสปช./อปพร./อื่นๆ) 1 กลุม 4.5 การรวมกลุมของคนในชุมชน (เชน กลุมแมบานเกษตรกร / อื่นๆ) 1. กลุมผูจดทําแปลงขยายพันธุขาว ั 2. กลุมศูนยผลิตเมล็ดพันธุขาวชุมชน 3. กลุมทอผาไหม 4. กลุมธนาคารผัก
  • 9. 5. กลุมกองทุนฟนฟูอาชีพเกษตรกร หลังการพักชําระหนี้ 6. กลุมเกษตรเกื้อกูล 7. กลุมเกษตรอินทรีย การบริการขั้นพื้นฐาน 5.1 การคมนาคม - ทางบก มีถนนสายที่สําคัญ 1 สาย ไดแก สุรินทร – ปราสาท สภาพการใชงาน - ภายในชุมชน ใชงานทางบก - ระหวางชุมชน ใชงานทางบก 5.2 การโทรคมนาคม - ที่ทําการไปรษณียโทรเลข 1 แหง - สถานบริการโทรศัพท 21 แหง สภาพการใชงาน 15 แหง 5.3 การไฟฟา - จํานวนหมูบานที่มีไฟฟาเขาถึง 12 หมูบาน 5.4 การประปา - จํานวนหมูบานที่มีประปาตําบล / ชุมชน หรือประปาหมูบาน 8 แหง 5.5 แหลงน้ําธรรมชาติ 1. หวยโยน 2. หนองน้ํา 2.1 หนองระกา 2.2 หนองมะเมียง 2.3 หนองบันคลา 2.4 หนองกะทม 1 2.5 หนองกะทม 2 2.6 หนองขยอง 2.7 หนองจลีก 2.8 หนองปราสาท 2.9 หนองโดนเสาะ 2.10 หนองตากวง 2.11 หนองตาเมียง 2.12 หนองตามุน
  • 10. 2.13 หนองพลวง 2.14 หนองขนาดปริง 2.15 หนองเปรอะ 2.16 หนองตะเกียด 2.17 หนองซูง 2.18 หนองปรือรูง 2.20 หนองรูง 2.21 หนองนาสาม 2.22 หนองเชื้อเพลิง 5.6 แหลงน้ําที่สรางขึ้นเพื่ออุปโภค/บริโภค - ฝาย 3 แหง ขนาด 100, 60 และ 40 ไร - บอน้ําตื้น (บอขุด) 10 แหง มีน้ําใชตลอดป 3 แหง มีน้ําใชไมตลอดป 7 แหง - บอโยก 23 แหง มีน้ําใชตลอดป 20 แหง มีน้ําใชไมตลอดป 3 แหง - อื่น ๆ (ระบุ)…………………… 5.7 แหลงน้ําเพื่อการเกษตร 1. หนอง หมู 2, 6, 3, 5, 7, 8 และ 9 ปริมาณ a เพียงพอ ขาดแคลน 2. อางเก็บน้ํา หมู 3 ปริมาณ เพียงพอ a ขาดแคลน 3. คลองชลประทาน หมู 7 และ 6 ปริมาณ เพียงพอ a ขาดแคลน 4. หวย หมู 7 ปริมาณ a เพียงพอ ขาดแคลน 5. คลอง หมู 6, 10, 12, 11 และ 9 ปริมาณ เพียงพอ a ขาดแคลน 6. สระ ปริมาณ เพียงพอ a ขาดแคลน 5.8 สวนสาธารณะ/สนามกีฬา 1. สนามกีฬาหมูบานหมูที่ 1,2, 4,5,6,8,9,10,11,12 5.9 สถานที่พักผอนหยอนใจ 1. ปราสาทบานไพล บานปราสาท 2. หนองปราสาท บานปราสาท 3. สวนสมุนไพร บานปราสาท 4. อางเก็บน้ําบานโพธิ์กอง บานโพธิ์กอง
  • 11. 5. สวนผักปลอดสารพิษ บานเสม็ด 6. หวยเสม็ด บานเสม็ด 7. หวยยวน บานแสรโบราณ สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม 1. เขมร เขมร เปนกลุมชนพื้นเมืองที่สําคัญกลุมหนึ่งในบริเวณภาคอิสานตอนลางของประเทศไทย และเปนกลุมที่มีบทบาทเดนชัด ในการควบคุมอิทธิพลทางการเมืองของดินแดนอิสานระหวาง พุทธศตวรรษที่ 12-18 พวกเขมรหรือขอม อาจจะอพยพมาจากทางเหนือของแมนํ้าโขง โดยตาม ชาวมอญลงมาตอนลางแตไปตั้งหลักแหลงอยูทางทิศตะวันออกในดินแดนที่เปนประเทศลาวใน ปจจุบัน และในที่ราบสูงโคราช รวมทั้งคงมีบางสวนที่อพยพไปตามลําน้ําโขง ตั้งถิ่นฐานปะปน กับกลุมดั้งเดิมอื่นๆ กลุมชนชาวเขมรไดมีการเคลื่อนยายถิ่นฐานดวยเหตุผลทางการเมืองและอิทธิพลความเชื่อ ทางศาสนาพราหมณฮินดูอยูเปนระยะ ซึ่งเปนชวงที่อิทธิพลทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรมเขมรได แพรเขาสูอิสานตอนลางอยางมากมาย ในชวงเวลานี้ไดมีการกอสรางศาสนสถานไวเปนจํานวนมาก และนาจะเป น ชว งสําคั ญช ว งหนึ่งที่มีการอพยพของชาวเขมรจากประเทศกัมพู ชา โดยเฉพาะ ชางฝมือและแรงงานเขมรเขาสูประเทศไทย ซึ่งในเขตของตําบลเชื้อเพลิงนั้นนาจะเปนที่อยูเกาของ ชาวเขมรโบราณ โดยทราบจากหลักฐานที่มีการสรางปราสาทบานไพล ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบ เขมร ชาวเขมรเหลานี้คงไดตั้งบานเรือนอยูบริเวณเดียวกันกับชาวกูยในเขตปาดงทั่วไปในสมัยนั้น ชาวเขมรที่เขามานี้ไดนําเอาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมตางๆ เขามาใชและเขาไปมี อิ ท ธิ พ ลต อ กลุ ม อื่ น ก อ ให เ กิ ด การผสมกลมกลื น ทางเชื้ อ ชาติ ภาษาและวั ฒ นธรรม จนเกิ ด เอกลักษณเฉพาะถิ่น โดยไดมีการกําหนดชื่อเรียกของภาษาเขมรและคนที่พูดภาษาเขมรในประเทศ ไทยวา “เขมรถิ่นไทย” โดยทั่วๆ ไปแลวชาวเขมรถิ่นไทยจะเรียกตัวเองวา “คแมร” และเรียกภาษาของตัวเองวา “คแมร-ลือ” ซึ่งมีความหมายวา “เขมรสูง” เรียกภาษาเขมรและชาวเขมรที่อาศัยอยูในประเทศ กัมพูชาวา “คแมร-กรอม” แปลวา “เขมรต่ํา” และเรียกคนไทยหรือคนที่พูดไทยวา “ซีม” ซึ่งตรงกับ คําวา สยาม ในภาษาไทย กลาวโดยทั่วไปเขมรและไทยคลายกันมาก ผิดแตคนไทยเขมรมักจะมีผิวสีคล้ํากวาไทย และมักนิยมไวหนวดเครา สวนความเปนอยู การนับถือศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและ วัฒนธรรมจะมีสวนคลายคลึงกับวัฒนธรรมของไทยหรือของไทยลาวมาก เพราะวาตางก็อยูใน
  • 12. วัฒ นธรรมแบบพระพุท ธศาสนาและสั ง คมชาวนาเหมื อนกั น แตค วามเชื่อ บางอย า งที่มี ค วาม แตกตางกันออกไปเขมรยังรักษาของตนไวอยางดี 2. ภาษาเขมร ได มี ก ารขุ ด พบศิ ล าจารึ ก อั ก ษรขอม ภาษาเขมรโบราณ ที่ มี อ ายุ เ ก า แก ตั้ ง แต ร าว พุทธศตวรรษที่ 12 ที่วัดจุมพลสุทธาวาส นอกจากนี้ยังไดมีการขุดพบอีกหลายที่ในจังหวัดสุรินทร ซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวามีกลุมชนที่ใชภาษาเขมรเปนภาษาพูดและภาษาเขียนมาตั้งแตโบราณแลว ในบริเวณจังหวัดสุรินทร โดยในบริเวณพื้นที่ตําบลเชื้อเพลิงนั้นมีหลักฐานที่บงบอกวามีการใช ภาษาเขมรตั้งแตโบราณจนถึงในปจจุบัน โดยพบวามีการจารึกคัมภีรพระไตรปฎกเปนภาษาเขมร โดยมีหลักฐานที่ วัดมุนีนิรมิต และชาวบานในตําบลสวนมากจะพูดภาษาเขมร คนที่พูดภาษาอื่น มักจะเปนคนที่มาจากตางถิ่น ภาษาที่นอกเหนือจากภาษาเขมร เชน ไทยลาว สวย ภาษาเขมรเปนภาษากลุมยอยของกลุม ภาษามอญเขมร นักภาษาศาสตรไดแบงภาษาออกเปน 3 กลุม ตามเขตการปกครอง คือ 1. ภาษาเขมรเหนือ หรือเขมรสูง หรือเขมรถิ่นไทย เปนภาษาของคนไทยเชื้อสายเขมรที่ อาศัยอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 2. ภาษาเขมรกลาง เปนภาษาของผูที่พดภาษาเขมรในประเทศกัมพูชา ( ชาวกัมพูชาจะเรียก ู คนที่พูดภาษาเขมรในตอนใตของเวียดนามวา เขมรต่ํา และเรียกตนเองวา เขมรกลาง ) 3.ภาษาเขมรใต เป น ภาษาของคนเวี ย ดนามเชื้ อ สายเขมรที่ อ าศั ย อยู ท างตอนใต ข อง เวียดนาม สําหรับกลุมชนในจังหวัดสุรินทรและในเขตตําบลเชื้อเพลิงที่พูดภาษาเขมรนั้น ภาษาที่พูด มีความแตกตางจากภาษาเขมรในประเทศกัมพูชา จนบางครั้งพูดและฟงแตกตางกัน ปจจุบันภาษา เขมรที่ประชาชนในจังหวัดสุรินทรใชพูดกันมีลีลาของเสียงเรียบเสมอ นุมนวล ออนโยน ไม กระโชกโฮกฮาก ไมกระแทกกระทั้น ไมมีอักษรสูง คําที่ออกมาจะเปนอักษรกลางถึงอักษรต่ํา ทั้งสิ้น เปนภาษาที่ใชเขียนดวยอักษรขอมหรือเขมรโบราณ ซึ่งปรากฎเปนตัวอักษรในคัมภีรใบ ลานและบทสวดตางๆที่จารึกเปนตัวหนังสือไทยโบราณและอักษรขอม ภาษาเขมรนับเปนภาษา เขียนภาษาหนึ่งที่ผูบวชเรียนในสมัยกอน จําเปนตองเรียนควบคูกับภาษาไทย ทั้งนี้เพราะคัมภีรใบ ลานตามวัดเกาแกจะมีบทสวดหรือคําสอนเปนภาษาเมรเสียสวนใหญ ภาษาเขมรหรือเขมรถิ่นไทย เปนภาษาที่ไมมีระบบเสียงวรรณยุกต และไมมีระบบเสียง หนัก - เบาของสระ มีการแบงแยกความหมายของคําแตมีระบบทํานองเสียง คลายกับภาษาอังกฤษ เชน ซี บาย (ทํานองเสียงกลาง) แปลวา “กินขาว” ซี บาย(ทํานองเสียงสูง) แปลวา “กินขาวไหม”
  • 13. ภาษาเขมรถิ่นไทยมีสระทั้งหมด 24 เสียง แบงเปนสระเดี่ยว 28 เสียง สระผสม 6 เสียง และมีพยัญชนะ 21 เสียง ซึ่งเกิดเปนพยัญชนะตนได 21 เสียง พยัญชนะทาย 14 เสียง ภาษาเขมรจํานวนมากมีรากศัพทมาจากภาษาบาลีสันสกฤต เชน การนับเดือนทั้งสิบสอง เดือน โดยการเริ่มนับตั้งแตเดือนหาเปนตนไป ดังนี้ ภาษาไทย ภาษาเขมร ภาษาสันสกฤต เดือนหา แคแจด แจตรมาศ เดือนหก แคประสะ ไพศาขมาศ เดือนเจ็ด แคเจษ เชษฐมาศ เดือนแปด แคอาสาต อาสาฒามาศ เดือนเกา แคสราบ ศราวณะมาศ เดือนสิบ แคพ็อดระบ็อด พัทธรปทมาศ เดือนสิบเอ็ด แคอาโสจน อาศวยธมาศ เดือนสิบสอง แคกระเดอะ กรรติกมาศ เดือนอาย(หนึ่ง) แคเมียะตูจ(เอียะเสียงยาว) มามตศิรมาศ เดือนยี(สอง) ่ แคเบาะฮ(เสียงกระแทก) ยุศยมาศ(เขมรเรียกวาเมียะตูจ) เดือนสาม แคเมียะทม(เอียะเสียงยาว) มาฆมาศ(เขมรเรียกวาเมียะทม) เดือนสี่ แคปะกุน ยวลคุณมาศ ภาษาเขมรเปนภาษาที่มีความคลายคลึงกับภาษาไทยมากกวาความแตกตาง เพราะภาษา เขมรมี ลั ก ษณะคํ า โดด เช น เดี ย วกั บ ภาษาไทย แต ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ มี ลั ก ษณะของภาษาคํ า ที่ ติดตอกันซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1. ความคลายคลึงกับภาษาไทย 1.1 คําในภาษาเขมรสวนมากเปนคําพยางคเดียว ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปเพื่อแสดง หนาที่ในประโยค เชนเดียวกับภาษาไทย เชน คํานาม ไมมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อแสดงเพศ พจน แตใชคําอื่นประกอบเพื่อแสดง เพศ พจน ตัวอยางเชน สรีสวยเนียะ(แสร็ย) ผูหญิง 1 คน โกนสรี - ลูกสาว คํากริยาไมมีการเปลี่ยนรูปเพื่อบอกกาล มาลา วาจก แตใชคําอื่นๆ ประกอบเชน ขฒกพุงซีบาย - ฉันกําลังกินขาว กนปรุสนึงโตวรีน - ลูกชายจะไปเรียน เนียงแดงเโตวตลาด - นางสาวแดงไปตลาด 1.2 คําในภาษาเขมรคําเดียวมีความหมายและหนาที่ในประโยคไดหลายอยางเชน นึง – จะ,กับ เนา – อยู,ยัง ผดัจ(เผด็จ) – ตัด
  • 14. 1.3 ภาษาเขมรมีลกษณะนามใชเชนเดียวกับภาษาไทย เชน ผกาปรโตง - ดอกไม 2 ั ชอ เปราะฮปรําเนียะ – ผูชาย 5 คน ปรํามูยดม 6 บาท 1.4 คําขยายไวหลังคําถูกขยาย เชน ผกาลออ - ดอกไมสวย บายจะเอิน - ขาวสุก อังกัวรธม - เมืองใหญ ลออจณัป – งามเดน 1.5 ภาษาเขมรใชในการสรางคําแบบคําประสม เชน ผกายพรึก-ดาวรุงดาวประจําเมือง ตาราเหาะ - ดาวเทียม 1.6 ภาษาเขมรเปนภาษาซอนคําแบบคําซอนภาษาไทย เชน เลมียดไลม - (พูก) ชา ๆ ผดวจเผดิม - แรกเริ่ม โรยเรียบ - เรียบรอย ราบเรียบ 1.7 การเรียงคําเขาประโยคในภาษาเขมรเปนภาษาไทย เชน อัปรีร สี กบาล - อัปรีย กินหัว โลก กรู ฟนเรียน ขญมดมปะเตียะ ยูรเฮย - คุณครูสอนฉันมานานแลว จะแก ขเมา เนา กรอม ปะเตียะ - หมาดําอยูใตถุนบาน 1.8 เขมรยืมคําภาษาตางประเทศ เชน คําบาลี สันสกฤต เขาไปในภาษาของตนมาก พอๆ กับภาษาไทย ทั้งนี้เพราะวาเปนภาษาเกี่ยวกับศาสนาและพิธีกรรม 2. ความแตกตางกับภาษาไทย 2.1 การสรางคําในภาษาเขมร มีการสรางคําที่แตกตางจากภาษาไทยตรงที่ภาษาไทยใช วิธีการสรางคําแบบประสมคําเปนหลัก แตเขมรโบราณใชวิธีในการสรางคําโดยการเติมหนาคําและ กลางคํา แตไมมีการเติมทายคํา ลักษณะเชนนี้คลายกับการสรางคําในภาษาคําติดตอ 2.2 เขมรไมใช ว รรณยุกต ขอนี้เปนความแตกต างที่เห็นไดชัดมาก คือ ถอยคํา ใน ภาษาไทยของเราใชวรรณยุกตกําหนดความหมายของคํา จึงตองคิดเครื่องหมายวรรณยุกตข้ึนใช สวนในภาษาเขมร การบงบอกความหมายของคําขึ้นอยูกับการเนนคํา ฉะนั้นการเขียนภาษาเขมร จึงไมมีเครื่องหมายวรรณยุกต 2.3 วิธีการหยิบยืมคําในภาษาตางประเทศไปใชในภาษาของตนทั้งภาษาไทยและเขมร ไดหยิบยืมภาษาตางประเทศใชในภาษาของตนมากพอๆ กัน ตางกันเพียงแตวา ไทยมักยืมคํามาใช มากกวาจะยืมระบบเสียง และระบบไวยกรณมาปรับปรุงในภาษาของตน สวนเขมรนั้นรับภาษา บาลี สันสกฤตเขาไปใชโดยการหยิบยืมคํา ระบบเสียงไวยกรณที่สําคัญ กล า วถึ ง ลั ก ษณะคํ า กริ ย าประการหนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในประโยคแล ว ลั ก ษณะ โครงสรางของประโยคจะแตกตางไปจากโครงสรางของประโยคปกติ กลาวคือ ลักษณะเปนกริยา ตามดวยประธาน ลักษณะของประโยคโครงสรางแบบนี้จะพบมากกับคํากริยาที่ใชแสดงลักษณะ รางกาย ตัวอยางเชน - ภาษาไทยใช ขาหัก ภาษาเขมรใช หักขา(บักเจิง) - ภาษาไทยใช หัวแตก ภาษาเขมรใช แตก หัว (แบก- กบาล)
  • 15. โครงสรางทางสังคม วิถีชีวต วัฒนธรรมความเปนอยู ิ ชาวเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทรและชาวตําบลเชื้อเพลิงมีวิถีชีวิตเรียบงาย รักความสงบ ใหความเคารพผูท่อาวุโสกวา สวนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําไร หนุมสาวรุน ี ใหมที่วางจากการทํานาทําไร จะเดินทางไปทํางานรับจางในตัวเมืองหรือในเมืองหลวง และเมื่อถึง ฤดูทําการเพาะปลูกก็เดินทางกลับสูภูมิลําเนาเพื่อประกอบอาชีพหลักของตน เด็กชายจะไดรับการ ฝกใหทํางานนอกบาน เชน งานในทองไรทองนา สวนเด็กหญิงจะไดรับการสั่งสอนอบรมให ทํางานภายในบาน เชน การทําอาหาร การเย็บปกถักรอย และงานทอผา โดยทั่วไปลักษณะของครอบครัวของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิง จะเปนครอบครัวใหญ และมีบางครอบครัวที่มีการแยกออกมาอยู เปนครอบครัวยอยๆ ครอบครัวหนึ่งอาจจะประกอบดวย ตา ยาย (หรือ ปู ยา) ลุง ปา นา อา พี่ นอง ลูกหลานเปนจํานวนมาก ลักษณะครอบครัว เหมือนกับชาวไทยโดยทั่วไป คือ มีพอบานเปนหัวหนาครอบครัว พอครัวเปนผูทํางานเพื่อหาเลี้ยง สมาชิกในครอบครัว แตวาในสภาพปจจุบันนั้น ทั้งพอบานและแมบานตองชวยกันทํางานหาเลี้ยง ครอบครัว โดยทั่วไปชาวเขมรถิ่นไทยจะใหความสําคัญหรือใหเกียรติแกเพศชายในการดําเนิน กิจกรรมหรือตัดสินใจในเรื่องตางๆ แมวาวิถีชีวิตของชาวเขมรถิ่นไทยในสุรินทรและในเขตตําบลเชื้อเพลิงมีลักษณะคลายกับ คนไทยในทองถิ่นทั่วไป ถาเปรียบเทียบกับชาวเขมรในประเทศกัมพูชาแลว ความเปนอยู ประเพณี และความเชื่อตางๆ ของชาวเขมรถิ่นไทยจะมีสวนคลายกับชาวเขมรในประเทศกัมพูชามาก เชน ลักษณะของบานชั้นเดียวใตถุนสูง พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิด การตาย การแตงงาน การนับเวลา วัน เดือน ป การเชื่อเรื่องโชคลางของขลัง ฤกษยาม การรักษาโรคแบบพื้นบาน การประกอบ อาชีพ การละเลนตางๆ ตลอดจนอุปนิสัยสวนบุคคล เปนตน 1. อาหาร อาหารหลักของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิง และชาวเขมรถิ่นไทย คือ ขาวเจา(ซึ่งไม เหมือนกับชาวอิสานทั่วไปทีกินขาวเหนียว) สวนอาหารพื้นบานที่เปนที่รูจกคือ “ปราเฮาะคแม” ่ ั (ปลาราเขมร) ปลาจอม ปลาแหง ปลายาง ปลาตม น้ําพริกจิ้มผัก เนื้อสัตว ผัก อาหารดังกลาว จัดเปนอาหารที่นิยมบริโภคในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังมีการนําวัตถุดบที่หาไดตามธรรมชาติ ิ มาประกอบอาหารที่จัดเปนเอกลักษณของตัวเอง เชน แกงปูใสเผือก(ละแวกะดาม) แกงกลวย (ซันลอรเจก) แกงหอย(ซันลอรกะเจา) แกงมะละกอ(ซันลอรละฮอง) ยําปลาจอม (เยือมแตร็ยป- รัย) ยําไขมดแดง(เยือมปวงอันกรอง) ยําดักแด เปนตน อาหารที่นยมบริโภคควบคูไปกับอาหาร ิ คาวไดแกอาหารหวานตางๆ หรือที่เรียกวา ปงแอม เชน ขาวตมใบมะพราว(อันซอมซาเลาะโดง)
  • 16. ขนมกนตาราง(นมกันตางราง) ขนมมุก(นมมุ) ขนมกันเตรือม ขนมสะบันงา ขนมนางเล็ด ขนม ไสมะพราว(นมโกร็จ) เปนตน สําหรับอาหารที่ใชในประเพณี พิธกรรมตางๆ ของชาวบานในตําบลเชื้อเพลิงและชาว ี เขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร จัดวาเปนอาหารที่ตองใชฝมอในการปรุงเปนพิเศษ อาหารที่เปน ื เอกลักษณในพิธีแตงงาน ประกอบดวย เนื้อหมู เสนหมี่ วุนเสน ฟกเขียว ฟกทอง วัตถุดบ ิ เหลานี้สามารถนําไปประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน แกงหนอไม ตมจืดกระดูกหมู เนื้อหมู ทอดหรือยาง แกงหมูฟกทอง แกงจืดวุนเสน ผัดหมี่ แกงเผ็ดฟกเขียว อาหารเหลานี้ลวนเปน   อาหารมงคลสําหรับเลี้ยงแขกเหรื่อที่มารวมงาน สาเหตุที่เลือกอาหารเหลานี้ในพิธีแตงงานมาจาก ความเชื่อที่วาหมูเปนอาหารในโอกาสพิเศษ  เพราะในสมัยกอนนั้นเนื้อหมูหายากไมอาจ รับประทานไดทุกวัน ดังนัน การประกอบอาหารเนื้อหมูจึงเปนการแสดงถึงฐานะของผูจัดงานดวย ้ และเชื่อวาเสนหมี่ วุนเสนเปนสายใยเชื่อมโยงไมตรีของผูครองเรือนใหรักกันยิ่งยืนนาน และมีอายุ  ยืน ฟกเขียวคือความร่ํารวย เพราะฟกเขียวหมายถึงเงิน ฟกทองหมายถึงทอง ฟกเขียวและฟกทอง จึงแทนความเชื่อของชาวเขมรวาจะร่ํารวยเงินทอง สวนในงานศพนั้นนิยมแกงกลวย ซึ่งเปน เอกลักษณเฉพาะ โดยเมื่อมีคนตายเจาภาพจะนํากลวยดิบ ซึ่งใชไดทกชนิด ยกเวนกลวยตานี ใส ุ เนื้อไก เนื้อหมู หรือเนื้อวัว ชนิดใดชนิดหนึ่งแตนิยมใชเนื้อไกเพราะเปนสัตวเลี้ยงประจําบานทีหา ่ ไดงาย แกงกลวยนี้ถือวาเปนอาหารสําหรับเลี้ยงแขกในงานศพโดยเฉพาะ เพราะมีความเชื่อวาเปน  การตัดสายสัมพันธระหวางผูตายกับญาติมตรที่ยังมีชวิตอยู สําหรับอาหารในประเพณีวนสารท(วัน ิ ี ั แซนโดน-ตา) นิยมใชปลายาง หมูยาง ไกยาง หมูตม และขาวตมใบมะพราว เปนตน  สวนเครื่องดื่มนั้น คนผูชายสวนมากนิยมดื่มสุรา (เหลาโรง)มาก และในพิธีการตางๆใน วัฒนธรรมของชาวเขมรถิ่นไทยจะตองใชสุราเปนเครื่องประกอบพิธีดวย คือใชสุราเพื่อการสื่อสาร ระหวางลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยูกับบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว 2. การแตงกาย การแตงกาย จะคอนขางเรียบงาย ถามีงานออกนอกบานผูชายจะสวมเสื้อคอกลม แขนสั้น ยาวแลวแตโอกาส นุงโสรงไหม มีผาขาวมาคาดเอว สําหรับหญิงสาวจะสวมเสื้อคอยะวา นุงผาถุง ไหมซึ่งทําไวใชในครอบครัว ถาอยูบานจะนุงผางายๆสบายๆ ถาไปในงานตางๆจึงจะใชผาที่ สวยงาม เชน ผาโฮล ปะกาปะกุน ปะกาจันทน ผูทสูงอายุนิยมหมผาสไบ โดยเฉพาะเวลาไป ี่ ทําบุญที่วัด ผาไหมของชาวตําบลเชื้อเพลิงเปนผาที่มีลวดลายและสีสันที่เปนเอกลักษณประจํากลุม  ซึ่งสวยงามมาก ผาไหมพืนเมืองที่มีชื่อคือ ผาโฮล ผาอําปรุม ผาซิ่น ้ เครื่องประดับสวนมากจะเปนเครื่องเงิน ซึ่งเรียกในภาษาพื้นเมืองวา ปะเกือม(ประคํา) โดยมีการนําเม็ดประเกือมมาทําเปนสรอยคอ สรอยแขนเปนเครื่องประดับ สวนที่หูนั้นใสตุมหูที่ เรียกวา “กระจอน” หรือเรียกอีกอยางหนึงวา “ตะเกา” มีกานงอนหอยลงมา ่
  • 17. ปจจุบันนีการแตงกายดวยผาไหม และเครื่องประดับเงิน กําลังเปนทีนิยม ซึ่งเราจะเห็นได ้ ่ จากการที่สตรีสวมใสไปรวมงานตางๆ
  • 18. บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน ความเชื่อ 1. โบล-หมอโบล โบล-หมอโบล (ทํานายโรค-เขมร) มีพิธีกรรมทํานายโรคภัยไขเจ็บแบบหนึ่งเรียกวา “โบล” ซึ่งแปลวา หาจุดที่ตรงดิ่ง เชน การดิ่งเสาเรือนตอนสรางบานเรือน การทํานายโรคภัยไขเจ็บ มีอุปกรณเสี่ยงทาย 4 ชนิด 1. ใชฝาเตาปูนที่มีหวงบนยอดฝาปด ใชเชือกผูกหวงบนยอดฝาปด มือหนึ่งจับเชือกใหเตา ปูนหอยหมอโบลจะบริกรรม หรือตั้งจิตเสี่ยงทาย หาสมมุติฐานไปเรื่อยๆหากวาคําใด เชน ผิดผีปูยา เตาปูนเริ่มกวัดแกวง ก็วาซ้ําๆ ถาเตาปูนกวัดแกวงเร็วขึ้น ก็ทํานายวาปวยเพราะผิดผีปูยา 2. ใชมีดยับ หรือมีดสะนากหรือตะไกรหนีบหมาก ใชเชือกดายผูกดานดามและดานหัว ตะไกรหนีบหมาก มือหนึ่งถือเชือก หมอโบลจะบริกรรมหรือตั้งจิตเสี่ยงทาย หาสมมุติฐานของ การเจ็บไขไดปวยโดยเรียกชื่อคํานั้นซ้ําๆกัน เชน ถูกคุณไสย หากตะไกรหนีบหมากกวัดแกวง และ คอยๆกวัดแกวงเร็วขึ้นๆก็เชื่อวา คนปวยนั้นถูกคุณไสย 3. ใชมีดจักตอกปกบนถวยคือใชถวยกระเบื้องเปลาๆแลวนํามีดจักรตอกปกในถวยใชไมไผ คีบมีด ใหไมไผวางบนจานพอดี ปากหมอโบลก็บริกรรมเสี่ยงทายหาสมมติฐานการอาเพศของคน ใชกลาวคําซ้ําๆไปเรื่อยๆหากกลาวคําใด เชน ผีตายโหงๆ ๆ มีดปกตั้งอยูบนถวยเปลาได เชื่อวา ปวยเพราะผีตายโหงกระทํา 4. ตั้งไขในจาน ใชไขไก 1 ฟองตั้งในจาน ขณะที่ตั้งหมอโบลก็บริกรรม เสี่ยงทายไป เรื่อยๆ เพื่อหาวาปวยสาเหตุใดหากกลาวคําวา “ผิดคําบนบาน” ๆๆ ไขไกตั้งได ก็ทํานายวาปวย เพราะผิดคําสาบาน ใหคนปวยไปแกบนตามที่เคยบนบานไว หลังจากนั้นผลของการวินิจฉัยสาเหตุ ของโรคภัยไขเจ็บก็ประจักษ ซึ่งสวนใหญจะเปนการวินิจฉัยโรคภัยที่เกี่ยวเนื่องดวยไสยศาสตร คือ เกิดอาเพศของบานเรือน สัตวเลี้ยง หรือถูกผีกระทําตางๆ เชน ผิดครูผิดผี ผีทัก พรายอะกาแสทํา ผีตายโหงทํา ผีบรรพบุรุษฝายพอหรือฝายแมทํา มีตอไมอยูใตถุนบาน(ปลูกบานครอมตอ) แนวรั้ว พุงเขาหาเรือนอาศัย ผีปาทํา เทวดาขออยูดวย (บ็องบ็อด) ผิดมะมวด ผิดคําบนบานไว ผีปูตา โกรธ ถูกคุณไสยของผี หรือของคน เสาเรือนมีไมคาบเปลือก ก็มีอยูในความเชื่อรวมกันเหลานี้ ถาบริกรรมไปหมดคําเหลานี้แลวโบลไมสําเร็จก็มาทายวาเปนโรคที่ตองไปหาหมอ แนะใหไป โรงพยาบาลเทานั้น
  • 19. หมอโบลนี้ไมบริการรักษาโรค ทําหนาที่เพียงวินิจฉัยโรคเทานั้น การไปทําพีธีเซนสรวง หรือพิธีกรรมอื่นใดญาติคนปวยตองไปจัดการเอง และที่พบมาโดยมากเปนสตรีเพศเทานั้นที่เปน หมอโบล รูปที่ 1 การโบล 2. จวม จวมเปนความเชื่อในแงของการนับถือครูของการรักษาโรค การทําจวมนี้เพื่อใหผที่มารับ ู การรักษาใชในการกราบไหวบูชาประกอบกับการรักษาเพื่อใหผลการรักษาดีขึ้นกวาเดิม และ ชาวบานยังมีความเชื่อวาในบางคนแคเพียงทําจวมไวบูชาโดยไมตองใชยาแผนโบราณของหมอยาก็ สามารถหายจากโรคได ซึ่งการทําจวมนั้นของแตละคนจะทําไมเหมือนกัน ขึ้นกับ วัน เดือน ป เกิด และธาตุของแตละคน จวมนั้นทํามาจากใบตาลเปนหลัก และจวมของผูชายกับผูหญิงจะแตกตาง กัน โดยของผูชายจะทําเปน 4 แฉก สวนผูหญิงจะเปน 3 แฉก โดยการทําจวมนั้นเปนหนาที่ของ หมอยาผูใหการรักษา รูปที่ 2 จวมของผูชายและผูหญิง 
  • 20. 3. การเขาทรง(โจลมะม็วด) มะม็วด เปนพีธีกรรมพื้นบานที่ทําเพื่อหาสาเหตุของการเจ็บปวย ครูเขาทรง (กรู มะม็วด) สวนมากจะเปนผูหญิง การเขาทรงนั้นผูเขาทรงจะเตรียมขันใสขาวสาร และปกเทียนซึ่งจุดไฟแลว เมื่อทําพิธีเขาทรงผูจะใชมือสองขางหนา แลวนั่งทําสมาธิเพื่อใหวิญญาณหรือสิ่งศักดิ์สทธิ์เขาทรง ิ ราง เมื่อวิญญาณเขารางทรงแลวจะมีผูคอยซักถามวา เหตุใดคนไข ถึงไดปวย ผูเขาทรงก็แจงให ทราบ และบอกวิธแกดวย ภายใตเงื่อนไขการเสี่ยงทายที่ไดจากการโบล ซึ่งหมายถึงวิธการหา ี  ี สาเหตุความเจ็บปวยของผูปวย หากการโบลบอกวาตองประกอบพิธีกรรมการโจลมะม็วด จึงจะ  ทราบสาเหตุการเจ็บปวยที่แทจริงและโดยละเอียด ผูปวยหรือญาตินองของผูปวยก็จะประกอบพิธี  ตามวันและเวลาที่ผูเสี่ยงทายระบุ แตตองไมตรงกับวันพระ ระยะเวลาการประกอบพิธีการโจลมะม็วด อยูในชวงเดือนกุมภาพันธ(แคเมียกทม) เดือน มีนาคม (แคประกุล) และเดือนเมษายน (แคแจด) กรูมะม็วด หรือ รางทรงจะทําหนาที่ตดตอหรือเปนสื่อกลางระหวางมนุษยกับวิญญาณ ิ บรรพบุรุษ รวมกันแสวงหาวิธการรักษาผูปวย ซึ่งอาจไดรับคําตอบใหรักษาดวยสมุนไพร การเสก ี เปาดวยลมปาก น้ําหมาก น้ามนต การบีบนวดตามรางกาย หรือการทิมแทงรางกายดวยรากไม การ ํ ่ ฟอนรําหรือการเซนไหวผีบรรพบุรุษ เปนตน ในบางครั้งวิญญาณที่เขาทรงตองการจะรํา ในกรณีนี้ผูเขาทรงซึ่งอยูในรางจะตองแตงกาย ใหม ผูจัดจะนําเครื่องแตงกายมาใหเลือกจนพอใจ และเมื่อรางทรงแตงกายแตงกายเสร็จแลววงป พาทยกจะบรรเลงเพลงสับเปลี่ยนจังหวะและทํานองเพลงไปเรื่อยๆจนกวารางทรงจะพอใจ หาก ็ วิญญาณในรางทรงพอใจเพลงอะไรก็จะรายรําไปตามจังหวะเพลงไปเรือยๆ และเมื่อรางทรงรายรํา ่ จนพอใจแลววิญญาณจะออกจากรางผูเขาทรงจะกัดเทียนที่จุดอยูใหดับ  ในกรณีที่วิญญาณภูติผีเขารางทรง ผูเขาทรงจะรําและมีการ “กาบเป”(ฟนเป)ดวย คือเครื่อง ประกอบการเขาทรงทําจากตนกลวย และมีเครื่องเคียเป ซึ่งประกอบดวยขนม ขาวตมกลวย ขาวตอก ดอกไม การรําเชนนี้เปนการรําเพือขับไลเสนียดจัญไรไมใหเขามาขัดขวางการประกอบ ่ พิธกรรม หากเจาภาพใดหรือเครือญาติไมสามารถเขาทรงไดดวยตนเอง ครูมะม็วดจะตองเขาทรง ี  ในพิธกรรมโจลมะม็วดครั้งนั้นดวย นอกเหนือจากการทําหนาที่เขาทรงครั้งสุดทายเพื่อยุติพิธีการ ี โจลมะม็วด ซึงเรียกวา ซาปาดาน ่ หากคนปวยมีอาการออนเพลีย ยกแขนขาไมขึ้น กินไมได นอนไมหลับ ฯลฯ แมครู มะม็วดจะแนะนําใหทําพิธี “เฮาปลึง” หรือเรียกขวัญ เพราะเชื่อวาขวัญของคนปวยไมอยูในรูป ตองทําพิธีเรียกขวัญใหกลับมา ชาวไทยเขมรเชื่อวา ขวัญมีลักษณะคลายดวงแกว มีสีรุง 7 สี ลักษณะกลมและโตเทากํามือคน
  • 21. ในกระบวนการเรียกขวัญ (เฮาปลึง)นั้นแมครูมะม็วดจะเชิญเทพมาเขาราง ซึ่งมักจะอางอิง พระโพธิสัตว(เทพแหงการแพทยและพยาบาล ในพุทธศตวรรษ 17-18 ) ชวงระยะเวลาของการเขา ประทับรางทรง( 2-3 ชั่วโมง) โดยครูมะม็วดจะรองเพลงเชิญชวนใหดวงแกว(ขวัญ)ที่หายไปกลับมา ตอจากการพรรณนาหาแกว(ขวัญ) เรียกขวัญมาแลว แมครูมะม็วดก็รายรําดาบเพื่อไลภูติผี ปศาจ หรือสิที่ไมดีตางๆออกจากผูปวย สุดทายก็ใชดาบไปฟนเป(อุปกรณใสเครื่องเซนผีสางระดับ ่  ต่ําที่ไลออกจากรางของคนปวย รวมทังเปนอุปกรณรองรับสิ่งไมดีหรือโรครายทั้งหลาบจากราง ้ ของผูปวย ทําจากกานกลวย) เปนอันเสร็จพิธี 4. การเฮาปลึง ปลึง เปนภาษาเขมรแปลวา ขวัญ อาศัยอยูกับจิตของคน ชาวเขมร เชื่อวาจิตใจของคนจะ มีปลึงอยูทั้งหมด 19 ดวง ทําใหจิตใจปกติ มีความสุขสดใส หากเกิดเหตุการณที่ทําใหคนนันตกใจ ้ หวาดกลัว หรือหวาดผวา ก็จะทําให “ละลัวะปลึง” (ขวัญขาดพรองจํานวนไป) หรือ “บัดปลึง” (ขวัญหายหรือขวัญไมอยูกับเนื้อกับตัว) จําตองทําพิธี “เฮาปลึง”(เรียกขวัญ) หรือหากวาปลึงนั้นถูก ผูที่มีเวทมนตสวดสูบเอาปลึงไปทําคุณไสย หรือภูติผีมาจับเอาปลึงไปทําราย กักขัง ก็ตองทําพิธี “ยัวปลึง” (เอาขวัญคืนมา) ปลึงนอกจากจะมีในมนุษยแลวในสิ่งอื่นๆก็อาจจะมีเชน ในขาวเปลือก จึงเกิดพิธี “เฮาปลึง สะเริว”(เรียกขวัญขาว) เปนตน คนที่ “ละลัวะปลึง” หรือ “บัดปลึง” มักจะมีอาการอิดโรย ซูบซีด ไมมีแรง กินไมอรอย นอนไมหลับ ไมมีชีวิตชีวา แมวากายมิไดแตกดับ แตวาจิตใจกลับสลายแลว เพราะวาปลึงไดออก จากรางไปแลว เสมือนยามหลับที่เราฝนไป ชาวเขมรก็เรียกวา ปลึงไดไปเที่ยว โดยออกจากรางไป แตวาปลึงก็กลับมาเมื่อตื่น แตคนที่ละลัวะปลึงหรือวาบัดปลึง จะตองทําพิธีเฮาปลึง(เรียกขวัญหรือ สูขวัญ) ในพิธีเฮาปลึง ก็จะมีสํารับประกอบพิธี เรียกวา “บายปลึง”(ขาวขวัญ) ประกอบดวยขาว สวย ไขไกตม น้ําตาลปก(น้ําออย) น้ํามะพราวออน และเนื้อมะพราวออน และมีดายสําหรับผูก  ขอมือเจาของปลึง ดายนี้ชุบน้ําขมิ้นใหเหลือง เปรียบเสมือนเปนเสนลวดทองคํา จากนั้นก็จะนําดายทั้ง 19 เสน รวบเขาดวยกัน แลวคลึงเรียกขวัญ(เฮาปลึง) ที่ขอมือของ คนไข ครั้งที่ 1 ก็นับหนึ่ง ครั้งที่ 2 ก็นับสอง จนกระทั่งถึงครั้งที่ 19 แลวรองวา “ปรําบูน ตะนอบ สอบ กรบ โมเวย ปลึง ปเลียะ โมเวย ปลึง เปลียะ ๆ” ( 19 ครั้งครบถวน มาเถิดขวัญเอยๆ) แลวผูก แขนดวยดายเหลานี้ เปนเสร็จพิธี
  • 22. 5. พิธีมงก็วลจองได คําวา มงก็วลจองได เปนคําในภาษาเขมร แปลวา ดายมงคลผูกขอมือ นิยมจัดขึ้นในงาน มงคลทั่วไป อาทิ งานมงคลสมรส งานเรียก ขวัญนาค งานเรียกขวัญโกนจุก งานเรียกขวัญวันแรก เกิด งานขึ้นบานใหม งานยกเสาเอก งานครบรอบวันเกิด งานวันเกษียณอายุราชการ งานตอนรับ แขกบานแขกเมือง ฯลฯ นอกจากนียังมีพิธเี รียกขวัญในโอกาสอื่นๆ เชน เรียกขวัญเมือหายปวยแลว ้ ่ เปนตน ลําดับพิธมงก็วลจองได เริมจากการเตรียมอุปกรณเพื่อประกอบพิธีใหครบถวน และเมื่อ ี ่ ไดฤกษดแลวจะมีผูใหญทําพิธีกลาวเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์และบรรพบุรุษใหมารวมทําขวัญใหตามดวย ี อัญเชิญเทวดา และการสูขวัญของพอครูเชิญขวัญ (อาจมีการรําเชิญขวัญดวยถาหากเปนพิธีในงาน สําคัญ) ลําดับสุดทายผูใหญจะนําดายมงคลมาผูกขอมือสูขวัญใหผูเขาพิธี การผูกขอมือดวยดายมงคลมี 2 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกขับไลสิ่งที่เปนอวมงคลออกจากรางกาย โดยผูทาพิธีจะเอาดายมากวาดสิ่งที่ไมดีออกจากมือพรอมกับนับ 1 ถึง 7 เปนภาษาเขมร และกลาวคํา ํ ขับไล ขั้นที่สองเปนการอันเชิญสิ่งที่เปนมงคลเขาสูรางกาย จะนับ 1 ถึง 19 ตามดวยการอัญเชิญ ขวัญ เมื่อขับไลสิ่งไมดีและอันเชิญสิ่งดีเสร็จแลว จึงมีการผูกขอมือพรอมกับกลาวคําอวยพร ในพิธีการขับไลสิ่งที่เปนอวมงคลผูรับการสูขวัญตองคว่ํามือใหผูใหญนําดายมากวาดสิ่งไม ดีออกจากรางกายผานทางมือ ซึ่งดายที่ใชกวาดสิ่งชัวรายนี้เมื่อใชเสร็จแลวจะโยนทิ้ง แลวผูใหญจะ ่ นําดายมงคลเสนใหมมาทําพิธีเรียกสิ่งมงคลเขาสูรางกาย ซึ่งผูรับการสูขวัญจะตองแบฝามือทั้งสอง ขาง เมื่อเสรจการเรียกขวัญแลวผูใหญจะใหศีลใหพรและผูกขอมือใหดวยดายทีใชทาพิธีเรียกสิ่งที่ ่ ํ เปนมงคลนั้น 6. พิธีจัดงานศพ การตายเป น วาระสุ ด ทายของชีวิ ต การจั ด งานศพใหแ กผูต ายนับ เป น ประเพณีสุด ทา ย เกี่ยวกับชีวิต จัดขึ้นตามพิธีกรรมที่เกิดจากความเชื่อในศาสนาที่ตนนับถือ กลุมคนไทยเขมรที่นับ ถือศาสนาพุทธก็จะจัดพิธีศพตามหลักการของศาสนาพุทธซึ่งผสมผสานอยูระหวางคตินิยมเชิงพุทธ กับพราหมณ การทําโลงศพหรือหีบศพ ตามชนบทไมนิยมซื้อโลงสําเร็จรูป แตจะชวยกันตอโลงเองโดย นําไมประการฝาบานและกระดานพื้นบานของผูตายมาตอเปนโลงแลวประดับดวยกระดาษแกว หลากสี นํามาตัดเปนลวดลายตางๆ การตั้งศพนิยมตั้งที่บานผูตาย ถาเปนศพของญาติผูใหญจะตั้ง ไวหลายวันตั้งแต 3 –7 วัน ศพเด็กหรือศพคนที่มีฐานะยากจนจะตั้งไว 1-3 วัน ก็จะทําพิธีฌาปนกิจ ในชวงที่ตั้งศพสวดอภิธรรมที่บานจะมีประเพณีการเลนอยางหนึ่งเรียกวา “ลึงกาฮ” หมายถึงการ เลนทายเหรียญวาจะออกหัวหรือกอย โดยใชเงินเหรียญหมุนแลวครอบดวยขัน สวนการแทงหรือ การทายจะใชเสื้อผา สิ่งของ ตลอดจนเครื่องประดับเทาที่มีอยูขณะนั้น ไมไดเลนไดเสียกันอยาง