SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1
คณะกรรมการจัดท�ำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อบ�ำบัด
น�้ำเสียในชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
คณะกรรมการที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรา อมรแก้ว			 ประธานกรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา บุญสิทธิ์			 กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรรณิการ์	 ม่วงชู			 กรรมการ
นางสาวนฤดี สมิทธ์ปรีชา		 กรรมการ
คณะกรรมการด�ำเนินการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา บุญสิทธิ์			 ประธานกรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สลักจิต พุกจรูญ			 กรรมการ
นายพลกฤษณ์ คุ้มกล�่ำ			 กรรมการ
ดร.ปิยะพงษ์ ปานแก้ว		 	 กรรมการ
ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ		 กรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ สัมมาทัต			 กรรมการ
นางศรีวิไล พวกน้อย			 กรรมการ
นางพิชญา พุกผาสุข		 	 กรรมการ
นางสาวปิยธิดา รุจะศิริ			 กรรมการ
ดร.สุนิสา สายอุปราช		 กรรมการ
นายกิติยศ ตั้งสัจจวงศ์		 กรรมการ
นางสาววรนุช ดีละมัน		 กรรมการ
Mr. Logan Christopher Woodall			 กรรมการ
นางสาวชวนี สุภิรัตน์			 กรรมการและเลขานุการ
2
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีปรัชญาการศึกษาว่า “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สร้างคุณค่า การศึกษาสร้างคนสู่สากลด้วยปัญญา” ด�ำเนินการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ปัจจุบันจัดการเรียนการสอน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากการจัดการ
เรียนการสอนแล้วยังมีภารกิจหลักตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาคืองานวิจัยสิ่งประดิษฐ์และ
นวัตกรรม งานบริการวิชาการแก่สังคม และงานท�ำนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
งานบริการวิชาการแก่สังคม เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินงานเกี่ยวกับการให้บริการทาง
วิชาการโดยค�ำนึงถึงความต้องการของกลุ่มผู้รับบริการหรือชุมชนเป็นหลักและในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2556 ได้รับการสนับสนุนให้ด�ำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตหัวเชื้อ
จุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทาง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ระหว่างสถาบัน
การศึกษา และชุมชน โดยการน�ำความรู้เกี่ยวกับการผลิตหัวเชื้อ
จุลินทรีย์ ถ่ายทอดสู่ชุมชน และให้ชุมชนสามารถน�ำไปใช้ในการ
บ�ำบัดน�้ำเสีย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้ดีขึ้นอย่าง
ยั่งยืนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมุ่งหวังให้คนใน
ชุมชนสามารถผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ น�ำมาใช้ได้เองในครัวเรือน หรือ
ชุมชน เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนอีกทางหนึ่ง
ขอขอบคุณคณะกรรมการที่รวบรวมและจัดท�ำ
เอกสารเผยแพร่โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ“การผลิตหัว
เชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประจ�ำ
ปีงบประมาณพ.ศ.2556และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร
ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสังคมต่อไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรา อมรแก้ว)
คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารจากคณบดี
3
อีเอ็ม (EM)
อีเอ็ม(EM)ย่อมาจากEffectiveMicroorganismหมายถึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.เทรูโอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญสาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริวกิว
เมืองโอกินาวาประเทศญี่ปุ่นศาสตราจารย์ดร.เทรูโอะฮิงะเริ่มค้นคว้าทดลองตั้งแต่ปีพ.ศ.2510
และค้นพบอีเอ็ม เมื่อ พ.ศ. 2526 พบว่ากลุ่มจุลินทรีย์นี้ใช้ได้ผลจริง หลังจากนั้นศาสตราจารย์วาคุกามิ
ได้น�ำมาเผยแพร่ในประเทศไทย
ศาสตราจารย์ดร.เทรูโอะฮิงะพบว่ามีกลุ่มจุลินทรีย์อยู่3กลุ่มรวมอยู่ในกระบวนปลูกพืช
ที่เกิดจากการหมัก งานวิจัยของเขาแสดงให้เห็นถึงจุลินทรีย์จ�ำเพาะที่ดีที่มีอยู่ในดินและน�้ำใน
สัดส่วนที่แน่นอน เขาจึงได้พัฒนาสูตรของ EM ในหัวเชื้อน�้ำ EM ทางการค้า นั้นเป็นการผสม
ผสานของส่วนประกอบต่างๆของจุลินทรีย์หลายชนิดที่สามารถขยายส่วนท�ำเพิ่มเติมได้จากขนาด
ที่มีอยู่เดิมถึง20เท่าโดยการใส่หัวเชื้อน�้ำEMผสมลงในน�้ำและกากน�้ำตาลจากนั้นก็หมักใส่ภาชนะ
ปิดฝาไว้ประมาณ 3 วันถึงหนึ่งอาทิตย์หรือเป็นเดือนก็ได้ แล้วแต่วัตถุประสงค์ที่จะใช้
อีเอ็มเป็นของเหลวสีน�้ำตาลด�ำซึ่งมีจุลินทรีย์ประมาณ 80 ชนิดที่สามารถย่อยสลาย
อินทรียวัตถุ อีเอ็มสามารถใช้ในบ้านและครัวเรือนเหมือนกับสารธรรมชาติฆ่าเชื้อโรค เป็นตัว
ท�ำลายความสกปรกทั้งหลายช่วยให้เกิดการย่อยสลาย ไม่มีกาก ท�ำให้ส้วมไม่เต็ม ใช้ก�ำจัดเศษ
อาหาร ลดสารโลหะหนักในการบ�ำบัดน�้ำเสียเหมือนเป็นไส้กรองเซรามิคที่กรองน�้ำให้สะอาด
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์สลักจิต พุกจรูญ
อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
4
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Effective Micro-organism (EM)
EM (anbreviation for Effective Micro-organisms) are "friendly effective
microorganisms" developed by Professor Dr. Teruo Higa from the University of the Ryukyus
inOkinawa,Japan.Hestartedin1967anddiscoveredEMin1983.Eventually,EMwasintroduced
in Thailand by Professor Wakukami.
Dr.Teruo Higa realized that there are three general forms of soil microbes involved
withtheprocessofgrowingplantsthatcreateasoilcalledazymogenicsoil.Hisresearchshowed
that specific types of microorganisms tended to exist in certain proportions in healthy soil
environments and in water. He developed the EM formula. In the EM trademark, these
microorganisms exist as a consortium or in a symbiotic relationship to one another. This EM
cultureissoldasaninoculantthatcanbeactivatedorextended(grown)forreasonsofeconomics.
Theprocessofactivationcanresultinuptoa20xincreasefromtheoriginalculture.Activation
usually involves adding the original EM culture to a mixture of water and blackstrap molasses,
its main food source. The mixture is then allowed to ferment in an anaerobic environment
anywhere from several days to weeks or months, depending on the goals of application.
EM is a black-brown liquid with a combination of approximately 80 different
microorganisms that is capable of positively influencing decomposing organic matters. EM is
usedinthehomelikeaprobioticdisinfectantforthebathandkitchen,aswellasfordisinfection
ofthesepticsystem,asanaturaldraincleaner,andtoreducethebiosolidsinsewagetreatment.
The process is akin to the use of peptidases and ureases for proteolytic degradation. EM has
also been impregnated into ceramic disks for water purification.
5
ความสามารถและประโยชน์ในการใช้ EM
1. สามารถใช้ในบ้านเรือน ในชีวิตประจ�ำวันได้
2. น�ำของเสียจากอาหารกลับมาใช้ใหม่และเพิ่มคุณค่าอินทรียวัตถุ
3. ปรับปรุงโครงสร้างและคุณภาพดิน เพิ่มผลผลิต และก�ำจัดวัชพืชและโรคพืช
4. แก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม เช่น น�้ำและดิน
5. การท�ำเกษตรและพืชสวน ผลไม้ และการเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
6. ในการเลี้ยงสัตว์และปศุสัตว์
7. ใช้ในการประมงสัตว์น�้ำและสระว่ายน�้ำ
8. ในสุขภาพส่วนบุคคลและร่างกายช่วยป้องกันและรักษาปัญหาทางสุขภาพ
วีธีการขยาย EM
EM1ส่วน+กากน�้ำตาล1ส่วน+น�้ำสะอาด20ส่วนหมักไว้ในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด
อย่าให้อากาศเข้าได้เป็นเวลา 7 วัน แล้วน�ำมาใช้ให้หมดภายใน 7 วัน
วิธีการเก็บรักษา EM
เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 - 45 องศาเซลเซียส (อย่าเก็บในตู้เย็น) โดยปิดฝาให้สนิท
EM เสียสภาพ
หากEMเปลี่ยนเป็นสีด�ำมีกลิ่นเหม็นเน่าถือว่าEMตายไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก
ให้น�ำ EM ที่เสียผสมน�้ำรดก�ำจัดหญ้าและวัชพืชที่ไม่ต้องการได้ กรณีเก็บไว้นาน ๆ จะมีฝ้าขาว
เหนือผิวน�้ำแสดงว่าEMพักตัวเมื่อเขย่าภาชนะฝ้าขาวจะสลายตัวกลับไปอยู่ในน�้ำเหมือนเดิมน�ำ
ไปใช้ได้ เมื่อน�ำไปขยายเชื้อในน�้ำและกากน�้ำตาล จะมีกลิ่นหอม และเป็นฟองขาว ๆ ภายใน 2-3
วัน ถ้าไม่มีฟอง น�้ำนิ่งสนิทแสดงว่าการหมักขยายเชื้อยังไม่ได้ผล
6
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
The possibilities and benefits of using EM are the following
1. For use in the home in routine cleaning.
2. The recycling of kitchen waste and conversion into valuable organic material.
3. To improve soil structure and quality, increase productivity and to suppress both
disease and weeds.
4. For solving environmental problems such as water, air, and soil pollution.
5. In agriculture and horticulture, fruit and flower cultivation.
6. In animal husbandry and for all kinds of pets.
7. In fisheries, aquariums and swimming pools.
8. In personal hygiene and for the prevention and treatment of health problems.
The propagation of EM
ThemixtureofEM,molassesandwaterwitharatioof1:1:20isfermentedinaclosed
container for 7 days.
The storage of EM
EMisgenerallystoredbetween20-45degreeCelsius(don’tkeepinrefrigerator).The
cover should remain closed when not in use.
The expire of EM
EMexpireswhenitchangestoblackcolorandproducesanunpleasantsmell.Expired
EM can be used to eliminate weeds. If kept for a long time, white foam will appears on the
surfaceofliquidinsocallednon-activeEM.Thewhitefoamwillbedecomposedaftershaking
the container.
7
สูตรที่ 1 : การท�ำหัวเชื้อจุลินทรีย์
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. สับปะรด 	 3	 ถ้วย
	 2. น�้ำซาวข้าว 	 1	 ถ้วย
	 3. น�้ำมะพร้าวสด 	 1	 ถ้วย
	 4. กากน�้ำตาล หรือน�้ำตาลทรายแดง	 1	 แก้ว
	 5. ถังพลาสติก ขนาด 15-20 ลิตร	 1	 ใบ
	 6. ผ้าขาวบาง เชือกฟาง		
	 7. ถ้วยพลาสติก (ถ้วยแกง)		
	 8. น�้ำ		
วิธีท�ำ 1) น�ำเปลือกและเนื้อสับปะรดสับให้ละเอียด ตวงโดยใช้ถ้วยพลาสติก 3 ถ้วย ใส่ถัง
ที่เตรียมไว้
2) เติมน�้ำซาวข้าว
3) เติมน�้ำมะพร้าวสด
4) น�ำขั้นตอนที่ 1–3 คลุกเคล้าให้เข้ากัน
5) เติมกากน�้ำตาล 1 แก้ว จากนั้นคนให้เข้ากัน
6) ใช้ผ้าขาวบางปิดปากถัง และใช้เชือกฟางรัดขอบถังให้แน่น
7) ท�ำการหมักทิ้งไว้ 7 – 10 วัน น�้ำสีน�้ำตาลที่เกิดอยู่ในถังคือหัวเชื้อจุลินทรีย์
หมายเหตุ : เก็บใส่ขวด ปิดฝาให้แน่นเก็บไว้ใช้ได้ 1 ปี ห้ามโดนแสงแดด และไม่ใส่ตู้เย็น ให้ตั้งไว้
ในห้องที่มีอุณหภูมิปกติ และมีแสงพอประมาณ
การขยายจุลินทรีย์ EM : ผสมจุลินทรีย์ EM 2 ช้อนโต๊ะ กากน�้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ และน�้ำ 1 ลิตร
เข้าด้วย ในขวดพลาสติกชนิดฝาเกลียวปิดฝาให้แน่น เก็บไว้ 5 วัน จะเป็นหัวเชื้อขยาย เป็นการน�ำ
จุลินทรีย์มาขยายให้ได้จ�ำนวนมาก ลดต้นทุนการน�ำไปใช้ หรือขยายต่อได้อีกเก็บได้นาน 3 เดือน
ประโยชน์ : ใช้ท�ำจุลินทรีย์น�้ำ ฮอร์โมน สารไล่แมลงและจุลินทรีย์แห้ง ฯลฯ
8
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Formula 1 : Preparation of the concentrated effective microorganisms
Materials 1. Pineapple 	 3	 cups
	 2. Washed rice-water	 1	 cup
3. Fresh coconut water	 1	 cup
4. Molasses or brown sugar 	 1	 cup
5. Plastic cylinder (15-20 liters)	1 piece	
6. White cloth, packthread		
7. Plastic cups		
8. Water 		
Method 1)Pineappleanditspeelarechopped.Place3cupsintoplasticcontainer.
2) Add washed rice-water
3) Add fresh coconut water
4) Mix the mixture from step 1–3
5) Add the 1 glass of molasses, then mix (15-20 liters)
6) Closed the plastic cylinder with white cloth and packthread
7) Ferment about 7 – 10 days, until concentrated microorganisms products
formed and show a brown color.
Note : Concentrated EM can be kept in sealed bottle for long time (about 1 year)
and stores at room temperature (don’t keep in sunlight or a refrigerator storage).
Propagation of EM : The EM (2 tablespoons), molasses (2 tablespoons) and
water (1 liter) are mixed in a screw-caped plastic bottle. After standing at room
temperature for 5 days, it becomes an intensive EM (concentrated).
Users : Use as a liquid microorganism, hormones, insect and repellents.
 
9
สูตรที่ 2 : การท�ำฮอร์โมนผลไม้
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. มะละกอสุก	 2	 กิโลกรัม
	 2. ฟักทองแก่จัด	 2	 กิโลกรัม
	 3. กล้วยน�้ำว้าสุก	 2	 กิโลกรัม
	 4. จุลินทรีย์ EM	 1	 แก้ว
	 5. กากน�้ำตาล	 1	 แก้ว
	 6. น�้ำ 	 10	 ลิตร
		
วิธีท�ำ :หั่นมะละกอฟักทองกล้วยทั้งเปลือกและเมล็ดใส่ในถังพลาสติกแล้วผสมEMและกาก
น�้ำตาลอย่างละ 1 แก้ว ใส่น�้ำ 10 ลิตร ปิดฝาให้แน่นหมักไว้ 7 – 8 วัน ก่อนใช้
วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ส�ำหรับฉีดพ่น หรือรดไม้พืชหรือไม้ดอก
ประโยชน์ : ท�ำให้ดอกติด ผลดก ขนาดโต น�้ำหนักดี รสชาติอร่อย	
Formula 2 : Fruit hormone preparation
Materials 	 1. Ripped papaya	 2	 Kg.
	 2. Ripped pumpkin 	 2	 Kg.
	 3. Ripped cultivated banana	 2	 Kg.
	 4. EM 	 1	 glass
	 5. Molasses 	 1	 glass
	 6. Water 	 10	 liters
Method : Chopped papaya, pumpkins and cultivated banana and poured into plastic cylinder
containingaglassofEMandmolassesand10litersofwater.Mixandkeepinclosedcontainer
for 7 – 8 days before using.
How to use : 4 – 5 tablespoons dissolved in 10 liters of water for spraying or sprinkling on
fruits.
Users : Improves fruits flowering and taste.
10
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สูตรที่ 3 : การท�ำฮอร์โมนยอดพืช
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. ยอด/ใบยูคาลิปตัส 	 1	 กิโลกรัม
	 2. ยอดสะเดา (ยอดและเมล็ด)	 1	 กิโลกรัม
	 3. น�้ำ 	 10	 ลิตร
	 4. จุลินทรีย์ EM 	 1	 แก้ว
	 5. กากน�้ำตาล 	 1	 แก้ว
		
วิธีท�ำ	 1) น�ำใบหรือยอดยูคาลิปตัส ยอดสะเดา และน�้ำ 10 ลิตร (1 ถัง) ต้มรวมกันจนเหลือน�้ำ
ครึ่งถัง ทิ้งให้เย็น
2) ผสมจุลินทรีย์ และกากน�้ำตาล หมักไว้ 7 – 10 วัน
วิธีใช้	 : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ส�ำหรับฉีดพ่น หรือรดไม้พืชหรือไม้ดอก
ประโยชน์ : ท�ำให้ดอกติด ผลดก ขนาดโต น�้ำหนักดี บ�ำบัดน�้ำเสีย	
Formula 3 : Soft plant hormones preparation
Materials 	 1. Eucalyptus leaflet	 1	 Kg.
	 2. Neem (Leaflet and seed)	 1	 Kg.
	 3. Water	 10	 liters
	 4. EM 	 1	 cup
	 5. molasses 	 1	 cup
Method	1) Boil the Leaflet Eucalyptus Neem and water in a bucket containing full water
until water level reduces to half the bucket and keep the rest at room temperature.
2) Add EM and molasses, Keep 7 – 10 days before use.
How to use:4–5tablespoonsdissolvedin10litersofwaterforsprayingorsprinklingonfruits.
Uses : Improves fruit flowering and taste.
11
สูตรที่ 4 : สูตรไล่หอย เพลี้ยไฟ
วัสดุอุปกรณ์ 1. ยอดยูคาลิปตัส 	 2	 กิโลกรัม
	 2. ยอดสะเดา (20 ยอด)	 2	 กิโลกรัม
	 3. ข่าแก่	 2 	 กิโลกรัม
4. บอระเพ็ด 	 2	 กิโลกรัม
5. จุลินทรีย์ EM 	 1	 แก้ว
6. กากน�้ำตาล 	 1	 แก้ว
วิธีท�ำ	 1) น�ำยอดยูคาลิปตัส ยอดสะเดา ข่าแก่ และบอระเพ็ด แต่ละอย่างแยกกันใส่ปี๊บ ใส่น�้ำ
ให้เต็ม ต้มให้เหลือน�้ำอย่างละครึ่งปี๊บ ทิ้งไว้ให้เย็น
2)น�ำมาเทรวมกันในถังใหญ่หรือโอ่งใส่จุลินทรีย์EM1แก้ว,กากน�้ำตาล1แก้วปิดฝา
ให้สนิททิ้งไว้ 5 วัน
วิธีใช้: ใช้ครึ่งแก้วผสมน�้ำ20ลิตรใช้ฉีดพ่นรดหรือราดในแปลงพืชผักในนาข้าวเพื่อป้องกันใบ
ข้าวไหม้
ประโยชน์ : สารไล่หอย ก�ำจัดเพลี้ยไฟ บ�ำบัดน�้ำเสีย
Formula 4 : Pursued shells, thrips
Materials 	 1. Eucalyptus leaflet	 2	 Kg.
	 2. Neem leaflet	 2	 Kg.
	 3. Galangal 	 2	 Kg.
	 4. Boraphet 	 2	 Kg.
	 5. EM	 1	 glass
	 6. Molasses	 1	 glass
Method	1) All ingredients, including the eucalyptus leaflet, neem leaflet, galangal and are
boiled in a bucket containing full water until water level reduces to half the bucket. Leave
standing at room temperature.
2) Add 1 glass of EM and molasses keeps for 5 days before use.
How to use: Half a glass is dissolved in 20 liter of water for use by spraying and sprinkling
on trees, gardens and rice farms for protecting against plant diseases.
Uses : Pursued shell, thrips and water treatment
12
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สูตรที่ 5 : สูตรไล่แมลง
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. จุลินทรีย์ EM 1	 แก้ว
	 2. กากน�้ำตาล	 1	 แก้ว
	 3. น�้ำส้มสายชู 5% 	 1	 แก้ว
	 4. เหล้าขาว 28–40 ดีกรี	 2	 แก้ว
	 5. น�้ำ	 10	 ลิตร
วิธีท�ำ	 1) น�ำส่วนผสมทั้งหมดมาผสมให้เข้ากัน ใส่ภาชนะปิดฝาให้สนิทหมักไว้ 7 – 10 วัน
2) เขย่าถังเบา ๆ วันละอย่างน้อย 1 ครั้ง และเปิดฝานิด ๆ ให้ก๊าซระบายออก
3) ครบก�ำหนดเทใส่ขวดพลาสติกปิดฝาเกลียว เก็บไว้ใช้ได้นาน 3 เดือน
วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 20 ลิตร ใช้ฉีด พ่น หรือราดไม้ใบ ไม้ผล พืชสวน ทุกสัปดาห์
ประโยชน์ : สารไล่แมลงชนิดต่างๆ และบ�ำบัดน�้ำเสีย
Formula 5 : Insect repellents
Materials 1.	 EM 	 1	 glass
2.	 Molasses 	 1	 glass
3.	 Vinegar (5% v/v) 	 1	 glass 	
4.	 Rice whiskey 28–40 degree	 2	 glasses
5.	 Water 10	 liters
Method	1) All ingredients are mixed in a closed container and fermented for 7 – 10 days
2) The container should be shaken at least one time per day. The cover should be a
little open for releasing gas.
3) When fermentation finishes it keep in a screwed-cap bottle and it can be used for
3 months.
How to use: 4–5tablespoonsaredissolvedin20litersofwaterforsprayingandsprinkling.
Uses : Insect repellents and water treatment
13
สูตรที่ 6 : สูตรไล่แมลง (โดยใช้ลูกยอสุก)
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. ลูกยอสุก	 1	 กิโลกรัม
	 2. จุลินทรีย์ EM	 1	 แก้ว
	 3. กากน�้ำตาล	 1	 แก้ว
วิธีท�ำ : น�ำลูกยอสุกมาสับให้ละเอียด ใส่น�้ำพอท่วมผสมจุลินทรีย์ EM กากน�้ำตาล คนให้เข้ากัน
หมักไว้ 10 วันแล้วกรองเอาแต่น�้ำมาใช้
วิธีใช้ : ใช้ 1 แก้ว ผสมน�้ำ 20 ลิตร น�ำไปฉีด พ่น หรือราดไม้ใบ ไม้ผล พืชสวน
ประโยชน์ : ก�ำจัดแมลงชนิดต่างๆ บ�ำบัดน�้ำเสีย
Formula 6 : Pursued insect
Materials 1.	 Morinda	 1	 Kg.
2.	 EM 	 1	 glass
3.	 Molasses 1	 glass
Method	: Chop morinda and ferment with EM and molasses for at least 10 days. Then, it is
filtered through a white cloth before use.
How to use : 1 glass of solution is dissolved in 20 liters of water for spraying or sprinkling
on trees, gardens and fruit.
Uses : Pursued insect and water treatment
14
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สูตรที่ 7 : สูตรก�ำจัดไรในเห็ดและพืชต่าง ๆ
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. ใบน้อยหน่า 	 1	 ถ้วย
	 2. ต้นข่า	 1	 ถ้วย
	 3 ตะไคร้หอม 	 1	 ถ้วย
	 4. กากน�้ำตาลหรือน�้ำตาลทรายแดง	 1	 แก้ว
	 5. จุลินทรีย์ EM 	 1	 แก้ว
	 6. น�้ำ (ทิ้งไว้ 1 คืน) 	1/2	 ลิตร
วิธีท�ำ	 1)น�ำใบน้อยหน่าสับละเอียด1ถ้วยผสมต้นข่าสับละเอียด1ถ้วยจากนั้นใส่ตะไคร้หอม
ที่สับละเอียด 1 ถ้วย คลุกเคล้าให้เข้ากัน
2) เติมกากน�้ำตาล และน�้ำเปล่าลงไป ผสมให้เข้ากัน จากนั้นหมักไว้ 15 - 30 วัน
วิธีใช้ : ใช้ 1 แก้ว ผสมน�้ำ 20 ลิตร น�ำไปใช้ฉีดพ่น
ประโยชน์ : ก�ำจัดไรในเห็ดชนิดต่างๆ รวมทั้งพืชผัก บ�ำบัดน�้ำเสีย
Formula 7 : Elimination of fleas in mushrooms or plant
Materials 1. Custard apple leaf	 1	 cup
2. Mashed galingale 	 1	 cup
3. Lemongrass	 1	 cup
4. Molasses or brown sugar	 1	 cup
5. EM	 1	 glass
6. Water (stored for 1 night)	 0.5	 liter
Method	1) Mix 1 cup of chopped custard apple leaf is mix with 1 cup of mashed galingale.
Then, mix with 1 cup of lemongrass.
2) Mix the previous mixture with molasses, EM and water, after that ferment for
15-30 days before use.
How to use : 1 glass of fermented solution is dissolved in 20 liters of water for using by
spray to tree.
Uses : Eliminates fleas and treats water
15
สูตรที่ 8 : สูตรสารท�ำความสะอาด และลดมลพิษทางน�้ำ
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. มะกรูด 	 1	 ถ้วย
	 2. กากน�้ำตาล 	 1	 แก้ว
	 3. ผงขี้เถ้าผสมน�้ำ หรือน�้ำปูนใส	 1	 แก้ว
	 4. จุลินทรีย์ EM 	 1	 แก้ว
	 5. น�้ำ (ทิ้งไว้ 1 คืน) 	 1	 แก้ว
	 6. N70 (สารท�ำให้เกิดฟอง) 	 500	 ซีซี
วิธีท�ำ 1) น�ำมะกรูดมาผ่าซีก ใส่กากน�้ำตาล เติมน�้ำเปล่า หมักทิ้งไว้ 3 เดือน
2) เติมน�้ำปูนใส (น�ำปูนแดงละลายน�้ำ ปล่อยให้ตกตะกอน ตวงแต่น�้ำใสด้านบนมาใช้)
และสาร N70 (สารท�ำให้เกิดฟอง) หมักทิ้งไว้อีก 1 เดือน ก็จะน�ำมาใช้ได้
วิธีใช้	 : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ฉีดพ่น รด
ประโยชน์ : เป็นน�้ำยาล้างจาน ใช้ถูพื้น ก�ำจัดคราบและกลิ่น บ�ำบัดน�้ำเสีย
Formula 8 : Cleaner and water treatment
Materials 	 1. Bergamots 	 1	 cup
	 2. Molasses 	 1	 glass
	 3. Water Ashes dissolve or limewater	 1	 glass
	 4. EM	 1	 glass
	 5. water (stored for 1 night) 	 1	 glass
	 6. N70 (engender foam) 	 500	 cc
Method	1) The mixture of bergamots, molasses, EM and water are fermented for 3 months
2)After3months,limewateranddetergentN70areaddedandfermentedfor1month
before use.
How to use : 4 – 5 tablespoons of fermented liquid is dissolved in 10 liters of water for use
by spraying and sprinkling.
Uses : Dish-wash cleaner, floor cleaner, smell and water treatment
16
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สูตรที่ 9 : การท�ำจุลินทรีย์น�้ำ (ใช้ได้ทันที)
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. จุลินทรีย์ EM	 1	 ช้อนโต๊ะ
	 2. กากน�้ำตาล	 1	 ช้อนโต๊ะ
	 3. น�้ำ 	 10	 ลิตร
วิธีท�ำ : น�ำจุลินทรีย์ EM และกากน�้ำตาล ผสมน�้ำให้เข้ากัน
วิธีใช้ : พืช ผัก ใช้ฉีด พ่น ราด ทุก ๆ 3 วัน ไม้ดอก ไม้ผล พืชสวน ใช้ฉีด พ่นอยู่ ทุกๆ 7 วัน
ประโยชน์ : บ�ำบัดน�้ำเสีย ก�ำจัดกลิ่น
Formula 9 : Liquid effective microorganism (available uses)
Materials 1. EM	 1	 tablespoon
2. Molasses	 1	 tablespoon
3. Water 	 10	 liters
Method	: Mix all ingredients
How to used:Forvegetables, squirtorwetevery3days.Forflowersorfruit,squirtevery7days.
Uses : Smell and water treatment
17
สูตรที่ 10 : สูตรน�้ำซาวข้าว
วัสดุอุปกรณ์ 	 1. น�้ำซาวข้าว 	 2	 ลิตร
	 2. จุลินทรีย์ EM	 4	 ช้อนโต๊ะ
วิธีท�ำ	 1) น�ำน�้ำซาวข้าว ประมาณ 2 ลิตร (หากไม่ถึง 2 ลิตร ให้เติมน�้ำสะอาดลงไป)
2) ใส่จุลินทรีย์ EM 4 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากัน แล้วบรรจุในขวดพลาสติกชนิดฝาเกลียว
ปิดฝาให้สนิท
3) เก็บไว้ 4 วัน น�้ำที่ได้มีสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอมจึงน�ำไปใช้
วิธีใช้	 1.ใช้แทนผงซักฟอกโดยใช้สูตรน�้ำซาวข้าวผสมน�้ำในอัตราส่วน1:20แช่ผ้าทิ้งไว้1คืน
กรณีใช้เครื่องซักผ้า ประมาณ 500 ซีซี วันรุ่งขึ้นซักน�้ำสะอาด และน�ำผ้าตากให้แห้ง ผ้าจะสะอาด
ไม่กระด้าง รีดง่าย
2. ใช้เป็นสเปรย์ดับกลิ่น โดยน�ำสูตรน�้ำซาวข้าวใส่ขวดที่มีหัวฉีดเป็นละออง ดับกลิ่น
เหม็นติดเสื้อผ้า กลิ่นอับในรถยนต์
3. ใช้ผสมน�้ำถูพื้นบ้าน พื้นครัว (อัตราส่วนต้องดูตามความสกปรก)
4. กรณีที่มีตะกอนที่ก้นขวด ให้ใช้เฉพาะน�้ำที่ใสเท่านั้น
5. ใช้ให้หมดภายในเวลาประมาณ 4 วัน
ประโยชน์ : ถูพื้น ท�ำความสะอาด ซักผ้า ดับกลิ่น บ�ำบัดน�้ำเสีย
หมายเหตุ	 1 แก้ว	 	 เท่ากับ		 250 	 ซีซี
	 1 ช้อนโต๊ะ 	 เท่ากับ		 10 	 ซีซี
	 1 ถัง	 	 เท่ากับ 		 10 	 ลิตร
น�้ำ ถ้าเป็นน�้ำจากธรรมชาติเช่นน�้ำคลองน�้ำบาดาลใช้ได้เลยแต่ถ้าเป็นน�้ำประปาต้อง
ทิ้งไว้ก่อน 1 คืน
18
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Formula 10 : Washed rice water
Materials 1. Washed rice water	 2	 liters
2. EM			 4	 tablespoons
Method	 1) 2 liters of washed rice water (if volume is less than 2 liters, water can be added)
2) Add 4 tablespoons ofEMandmix.Keepinascrew-cappedbottlefor4daysbeforeuse.
How to use 1.	As detergent by dissolving in water with a ratio of 1:20. Rest allows to on
the cloth for 1 night, then wash.
2.	As deodorant spray.
3.	As floor cleaner by dissolving in water (ratio depends on dirtiness of the
surface).
4.	If precipitation occurs only the solution can be effectively used.
5.	It should be used within 4 days.
Uses : Washing, deodorant, floor cleaner
Note 1 glass	 	 =	 250 	 cc
1 tablespoon	 =	 10 	 cc
1 bin	 	 =	 10 	 liters
Water : natural water such as river groundwater can use suddenly, but tap water should be
stored over night.
19
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM

More Related Content

What's hot

ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 

What's hot (20)

ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 

Viewers also liked

พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - PeriodicDr.Woravith Chansuvarn
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 

Viewers also liked (11)

02412106 AnalChem_LabReport
02412106 AnalChem_LabReport02412106 AnalChem_LabReport
02412106 AnalChem_LabReport
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
02412106 AnalChem_LabManual
02412106 AnalChem_LabManual02412106 AnalChem_LabManual
02412106 AnalChem_LabManual
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 

Similar to การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพbeau1234
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Technology Innovation Center
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)Nutthakorn Songkram
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชWeeraphon Parawach
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 

Similar to การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM (20)

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
อช02007
อช02007อช02007
อช02007
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional GroupsDr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn (20)

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 

การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM

  • 2. คณะกรรมการจัดท�ำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อบ�ำบัด น�้ำเสียในชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะกรรมการที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรา อมรแก้ว ประธานกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา บุญสิทธิ์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรรณิการ์ ม่วงชู กรรมการ นางสาวนฤดี สมิทธ์ปรีชา กรรมการ คณะกรรมการด�ำเนินการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา บุญสิทธิ์ ประธานกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สลักจิต พุกจรูญ กรรมการ นายพลกฤษณ์ คุ้มกล�่ำ กรรมการ ดร.ปิยะพงษ์ ปานแก้ว กรรมการ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ สัมมาทัต กรรมการ นางศรีวิไล พวกน้อย กรรมการ นางพิชญา พุกผาสุข กรรมการ นางสาวปิยธิดา รุจะศิริ กรรมการ ดร.สุนิสา สายอุปราช กรรมการ นายกิติยศ ตั้งสัจจวงศ์ กรรมการ นางสาววรนุช ดีละมัน กรรมการ Mr. Logan Christopher Woodall กรรมการ นางสาวชวนี สุภิรัตน์ กรรมการและเลขานุการ 2
  • 3. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีปรัชญาการศึกษาว่า “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างคุณค่า การศึกษาสร้างคนสู่สากลด้วยปัญญา” ด�ำเนินการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ปัจจุบันจัดการเรียนการสอน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ และสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากการจัดการ เรียนการสอนแล้วยังมีภารกิจหลักตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาคืองานวิจัยสิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรม งานบริการวิชาการแก่สังคม และงานท�ำนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม งานบริการวิชาการแก่สังคม เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินงานเกี่ยวกับการให้บริการทาง วิชาการโดยค�ำนึงถึงความต้องการของกลุ่มผู้รับบริการหรือชุมชนเป็นหลักและในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ได้รับการสนับสนุนให้ด�ำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตหัวเชื้อ จุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ระหว่างสถาบัน การศึกษา และชุมชน โดยการน�ำความรู้เกี่ยวกับการผลิตหัวเชื้อ จุลินทรีย์ ถ่ายทอดสู่ชุมชน และให้ชุมชนสามารถน�ำไปใช้ในการ บ�ำบัดน�้ำเสีย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้ดีขึ้นอย่าง ยั่งยืนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมุ่งหวังให้คนใน ชุมชนสามารถผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ น�ำมาใช้ได้เองในครัวเรือน หรือ ชุมชน เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนอีกทางหนึ่ง ขอขอบคุณคณะกรรมการที่รวบรวมและจัดท�ำ เอกสารเผยแพร่โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ“การผลิตหัว เชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประจ�ำ ปีงบประมาณพ.ศ.2556และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสังคมต่อไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรา อมรแก้ว) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สารจากคณบดี 3
  • 4. อีเอ็ม (EM) อีเอ็ม(EM)ย่อมาจากEffectiveMicroorganismหมายถึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.เทรูโอะ ฮิงะ นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญสาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยริวกิว เมืองโอกินาวาประเทศญี่ปุ่นศาสตราจารย์ดร.เทรูโอะฮิงะเริ่มค้นคว้าทดลองตั้งแต่ปีพ.ศ.2510 และค้นพบอีเอ็ม เมื่อ พ.ศ. 2526 พบว่ากลุ่มจุลินทรีย์นี้ใช้ได้ผลจริง หลังจากนั้นศาสตราจารย์วาคุกามิ ได้น�ำมาเผยแพร่ในประเทศไทย ศาสตราจารย์ดร.เทรูโอะฮิงะพบว่ามีกลุ่มจุลินทรีย์อยู่3กลุ่มรวมอยู่ในกระบวนปลูกพืช ที่เกิดจากการหมัก งานวิจัยของเขาแสดงให้เห็นถึงจุลินทรีย์จ�ำเพาะที่ดีที่มีอยู่ในดินและน�้ำใน สัดส่วนที่แน่นอน เขาจึงได้พัฒนาสูตรของ EM ในหัวเชื้อน�้ำ EM ทางการค้า นั้นเป็นการผสม ผสานของส่วนประกอบต่างๆของจุลินทรีย์หลายชนิดที่สามารถขยายส่วนท�ำเพิ่มเติมได้จากขนาด ที่มีอยู่เดิมถึง20เท่าโดยการใส่หัวเชื้อน�้ำEMผสมลงในน�้ำและกากน�้ำตาลจากนั้นก็หมักใส่ภาชนะ ปิดฝาไว้ประมาณ 3 วันถึงหนึ่งอาทิตย์หรือเป็นเดือนก็ได้ แล้วแต่วัตถุประสงค์ที่จะใช้ อีเอ็มเป็นของเหลวสีน�้ำตาลด�ำซึ่งมีจุลินทรีย์ประมาณ 80 ชนิดที่สามารถย่อยสลาย อินทรียวัตถุ อีเอ็มสามารถใช้ในบ้านและครัวเรือนเหมือนกับสารธรรมชาติฆ่าเชื้อโรค เป็นตัว ท�ำลายความสกปรกทั้งหลายช่วยให้เกิดการย่อยสลาย ไม่มีกาก ท�ำให้ส้วมไม่เต็ม ใช้ก�ำจัดเศษ อาหาร ลดสารโลหะหนักในการบ�ำบัดน�้ำเสียเหมือนเป็นไส้กรองเซรามิคที่กรองน�้ำให้สะอาด * ผู้ช่วยศาสตราจารย์สลักจิต พุกจรูญ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4
  • 5. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Effective Micro-organism (EM) EM (anbreviation for Effective Micro-organisms) are "friendly effective microorganisms" developed by Professor Dr. Teruo Higa from the University of the Ryukyus inOkinawa,Japan.Hestartedin1967anddiscoveredEMin1983.Eventually,EMwasintroduced in Thailand by Professor Wakukami. Dr.Teruo Higa realized that there are three general forms of soil microbes involved withtheprocessofgrowingplantsthatcreateasoilcalledazymogenicsoil.Hisresearchshowed that specific types of microorganisms tended to exist in certain proportions in healthy soil environments and in water. He developed the EM formula. In the EM trademark, these microorganisms exist as a consortium or in a symbiotic relationship to one another. This EM cultureissoldasaninoculantthatcanbeactivatedorextended(grown)forreasonsofeconomics. Theprocessofactivationcanresultinuptoa20xincreasefromtheoriginalculture.Activation usually involves adding the original EM culture to a mixture of water and blackstrap molasses, its main food source. The mixture is then allowed to ferment in an anaerobic environment anywhere from several days to weeks or months, depending on the goals of application. EM is a black-brown liquid with a combination of approximately 80 different microorganisms that is capable of positively influencing decomposing organic matters. EM is usedinthehomelikeaprobioticdisinfectantforthebathandkitchen,aswellasfordisinfection ofthesepticsystem,asanaturaldraincleaner,andtoreducethebiosolidsinsewagetreatment. The process is akin to the use of peptidases and ureases for proteolytic degradation. EM has also been impregnated into ceramic disks for water purification. 5
  • 6. ความสามารถและประโยชน์ในการใช้ EM 1. สามารถใช้ในบ้านเรือน ในชีวิตประจ�ำวันได้ 2. น�ำของเสียจากอาหารกลับมาใช้ใหม่และเพิ่มคุณค่าอินทรียวัตถุ 3. ปรับปรุงโครงสร้างและคุณภาพดิน เพิ่มผลผลิต และก�ำจัดวัชพืชและโรคพืช 4. แก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม เช่น น�้ำและดิน 5. การท�ำเกษตรและพืชสวน ผลไม้ และการเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 6. ในการเลี้ยงสัตว์และปศุสัตว์ 7. ใช้ในการประมงสัตว์น�้ำและสระว่ายน�้ำ 8. ในสุขภาพส่วนบุคคลและร่างกายช่วยป้องกันและรักษาปัญหาทางสุขภาพ วีธีการขยาย EM EM1ส่วน+กากน�้ำตาล1ส่วน+น�้ำสะอาด20ส่วนหมักไว้ในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด อย่าให้อากาศเข้าได้เป็นเวลา 7 วัน แล้วน�ำมาใช้ให้หมดภายใน 7 วัน วิธีการเก็บรักษา EM เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 - 45 องศาเซลเซียส (อย่าเก็บในตู้เย็น) โดยปิดฝาให้สนิท EM เสียสภาพ หากEMเปลี่ยนเป็นสีด�ำมีกลิ่นเหม็นเน่าถือว่าEMตายไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก ให้น�ำ EM ที่เสียผสมน�้ำรดก�ำจัดหญ้าและวัชพืชที่ไม่ต้องการได้ กรณีเก็บไว้นาน ๆ จะมีฝ้าขาว เหนือผิวน�้ำแสดงว่าEMพักตัวเมื่อเขย่าภาชนะฝ้าขาวจะสลายตัวกลับไปอยู่ในน�้ำเหมือนเดิมน�ำ ไปใช้ได้ เมื่อน�ำไปขยายเชื้อในน�้ำและกากน�้ำตาล จะมีกลิ่นหอม และเป็นฟองขาว ๆ ภายใน 2-3 วัน ถ้าไม่มีฟอง น�้ำนิ่งสนิทแสดงว่าการหมักขยายเชื้อยังไม่ได้ผล 6
  • 7. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง The possibilities and benefits of using EM are the following 1. For use in the home in routine cleaning. 2. The recycling of kitchen waste and conversion into valuable organic material. 3. To improve soil structure and quality, increase productivity and to suppress both disease and weeds. 4. For solving environmental problems such as water, air, and soil pollution. 5. In agriculture and horticulture, fruit and flower cultivation. 6. In animal husbandry and for all kinds of pets. 7. In fisheries, aquariums and swimming pools. 8. In personal hygiene and for the prevention and treatment of health problems. The propagation of EM ThemixtureofEM,molassesandwaterwitharatioof1:1:20isfermentedinaclosed container for 7 days. The storage of EM EMisgenerallystoredbetween20-45degreeCelsius(don’tkeepinrefrigerator).The cover should remain closed when not in use. The expire of EM EMexpireswhenitchangestoblackcolorandproducesanunpleasantsmell.Expired EM can be used to eliminate weeds. If kept for a long time, white foam will appears on the surfaceofliquidinsocallednon-activeEM.Thewhitefoamwillbedecomposedaftershaking the container. 7
  • 8. สูตรที่ 1 : การท�ำหัวเชื้อจุลินทรีย์ วัสดุอุปกรณ์ 1. สับปะรด 3 ถ้วย 2. น�้ำซาวข้าว 1 ถ้วย 3. น�้ำมะพร้าวสด 1 ถ้วย 4. กากน�้ำตาล หรือน�้ำตาลทรายแดง 1 แก้ว 5. ถังพลาสติก ขนาด 15-20 ลิตร 1 ใบ 6. ผ้าขาวบาง เชือกฟาง 7. ถ้วยพลาสติก (ถ้วยแกง) 8. น�้ำ วิธีท�ำ 1) น�ำเปลือกและเนื้อสับปะรดสับให้ละเอียด ตวงโดยใช้ถ้วยพลาสติก 3 ถ้วย ใส่ถัง ที่เตรียมไว้ 2) เติมน�้ำซาวข้าว 3) เติมน�้ำมะพร้าวสด 4) น�ำขั้นตอนที่ 1–3 คลุกเคล้าให้เข้ากัน 5) เติมกากน�้ำตาล 1 แก้ว จากนั้นคนให้เข้ากัน 6) ใช้ผ้าขาวบางปิดปากถัง และใช้เชือกฟางรัดขอบถังให้แน่น 7) ท�ำการหมักทิ้งไว้ 7 – 10 วัน น�้ำสีน�้ำตาลที่เกิดอยู่ในถังคือหัวเชื้อจุลินทรีย์ หมายเหตุ : เก็บใส่ขวด ปิดฝาให้แน่นเก็บไว้ใช้ได้ 1 ปี ห้ามโดนแสงแดด และไม่ใส่ตู้เย็น ให้ตั้งไว้ ในห้องที่มีอุณหภูมิปกติ และมีแสงพอประมาณ การขยายจุลินทรีย์ EM : ผสมจุลินทรีย์ EM 2 ช้อนโต๊ะ กากน�้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ และน�้ำ 1 ลิตร เข้าด้วย ในขวดพลาสติกชนิดฝาเกลียวปิดฝาให้แน่น เก็บไว้ 5 วัน จะเป็นหัวเชื้อขยาย เป็นการน�ำ จุลินทรีย์มาขยายให้ได้จ�ำนวนมาก ลดต้นทุนการน�ำไปใช้ หรือขยายต่อได้อีกเก็บได้นาน 3 เดือน ประโยชน์ : ใช้ท�ำจุลินทรีย์น�้ำ ฮอร์โมน สารไล่แมลงและจุลินทรีย์แห้ง ฯลฯ 8
  • 9. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Formula 1 : Preparation of the concentrated effective microorganisms Materials 1. Pineapple 3 cups 2. Washed rice-water 1 cup 3. Fresh coconut water 1 cup 4. Molasses or brown sugar 1 cup 5. Plastic cylinder (15-20 liters) 1 piece 6. White cloth, packthread 7. Plastic cups 8. Water Method 1)Pineappleanditspeelarechopped.Place3cupsintoplasticcontainer. 2) Add washed rice-water 3) Add fresh coconut water 4) Mix the mixture from step 1–3 5) Add the 1 glass of molasses, then mix (15-20 liters) 6) Closed the plastic cylinder with white cloth and packthread 7) Ferment about 7 – 10 days, until concentrated microorganisms products formed and show a brown color. Note : Concentrated EM can be kept in sealed bottle for long time (about 1 year) and stores at room temperature (don’t keep in sunlight or a refrigerator storage). Propagation of EM : The EM (2 tablespoons), molasses (2 tablespoons) and water (1 liter) are mixed in a screw-caped plastic bottle. After standing at room temperature for 5 days, it becomes an intensive EM (concentrated). Users : Use as a liquid microorganism, hormones, insect and repellents.   9
  • 10. สูตรที่ 2 : การท�ำฮอร์โมนผลไม้ วัสดุอุปกรณ์ 1. มะละกอสุก 2 กิโลกรัม 2. ฟักทองแก่จัด 2 กิโลกรัม 3. กล้วยน�้ำว้าสุก 2 กิโลกรัม 4. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 5. กากน�้ำตาล 1 แก้ว 6. น�้ำ 10 ลิตร วิธีท�ำ :หั่นมะละกอฟักทองกล้วยทั้งเปลือกและเมล็ดใส่ในถังพลาสติกแล้วผสมEMและกาก น�้ำตาลอย่างละ 1 แก้ว ใส่น�้ำ 10 ลิตร ปิดฝาให้แน่นหมักไว้ 7 – 8 วัน ก่อนใช้ วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ส�ำหรับฉีดพ่น หรือรดไม้พืชหรือไม้ดอก ประโยชน์ : ท�ำให้ดอกติด ผลดก ขนาดโต น�้ำหนักดี รสชาติอร่อย Formula 2 : Fruit hormone preparation Materials 1. Ripped papaya 2 Kg. 2. Ripped pumpkin 2 Kg. 3. Ripped cultivated banana 2 Kg. 4. EM 1 glass 5. Molasses 1 glass 6. Water 10 liters Method : Chopped papaya, pumpkins and cultivated banana and poured into plastic cylinder containingaglassofEMandmolassesand10litersofwater.Mixandkeepinclosedcontainer for 7 – 8 days before using. How to use : 4 – 5 tablespoons dissolved in 10 liters of water for spraying or sprinkling on fruits. Users : Improves fruits flowering and taste. 10
  • 11. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูตรที่ 3 : การท�ำฮอร์โมนยอดพืช วัสดุอุปกรณ์ 1. ยอด/ใบยูคาลิปตัส 1 กิโลกรัม 2. ยอดสะเดา (ยอดและเมล็ด) 1 กิโลกรัม 3. น�้ำ 10 ลิตร 4. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 5. กากน�้ำตาล 1 แก้ว วิธีท�ำ 1) น�ำใบหรือยอดยูคาลิปตัส ยอดสะเดา และน�้ำ 10 ลิตร (1 ถัง) ต้มรวมกันจนเหลือน�้ำ ครึ่งถัง ทิ้งให้เย็น 2) ผสมจุลินทรีย์ และกากน�้ำตาล หมักไว้ 7 – 10 วัน วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ส�ำหรับฉีดพ่น หรือรดไม้พืชหรือไม้ดอก ประโยชน์ : ท�ำให้ดอกติด ผลดก ขนาดโต น�้ำหนักดี บ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 3 : Soft plant hormones preparation Materials 1. Eucalyptus leaflet 1 Kg. 2. Neem (Leaflet and seed) 1 Kg. 3. Water 10 liters 4. EM 1 cup 5. molasses 1 cup Method 1) Boil the Leaflet Eucalyptus Neem and water in a bucket containing full water until water level reduces to half the bucket and keep the rest at room temperature. 2) Add EM and molasses, Keep 7 – 10 days before use. How to use:4–5tablespoonsdissolvedin10litersofwaterforsprayingorsprinklingonfruits. Uses : Improves fruit flowering and taste. 11
  • 12. สูตรที่ 4 : สูตรไล่หอย เพลี้ยไฟ วัสดุอุปกรณ์ 1. ยอดยูคาลิปตัส 2 กิโลกรัม 2. ยอดสะเดา (20 ยอด) 2 กิโลกรัม 3. ข่าแก่ 2 กิโลกรัม 4. บอระเพ็ด 2 กิโลกรัม 5. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 6. กากน�้ำตาล 1 แก้ว วิธีท�ำ 1) น�ำยอดยูคาลิปตัส ยอดสะเดา ข่าแก่ และบอระเพ็ด แต่ละอย่างแยกกันใส่ปี๊บ ใส่น�้ำ ให้เต็ม ต้มให้เหลือน�้ำอย่างละครึ่งปี๊บ ทิ้งไว้ให้เย็น 2)น�ำมาเทรวมกันในถังใหญ่หรือโอ่งใส่จุลินทรีย์EM1แก้ว,กากน�้ำตาล1แก้วปิดฝา ให้สนิททิ้งไว้ 5 วัน วิธีใช้: ใช้ครึ่งแก้วผสมน�้ำ20ลิตรใช้ฉีดพ่นรดหรือราดในแปลงพืชผักในนาข้าวเพื่อป้องกันใบ ข้าวไหม้ ประโยชน์ : สารไล่หอย ก�ำจัดเพลี้ยไฟ บ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 4 : Pursued shells, thrips Materials 1. Eucalyptus leaflet 2 Kg. 2. Neem leaflet 2 Kg. 3. Galangal 2 Kg. 4. Boraphet 2 Kg. 5. EM 1 glass 6. Molasses 1 glass Method 1) All ingredients, including the eucalyptus leaflet, neem leaflet, galangal and are boiled in a bucket containing full water until water level reduces to half the bucket. Leave standing at room temperature. 2) Add 1 glass of EM and molasses keeps for 5 days before use. How to use: Half a glass is dissolved in 20 liter of water for use by spraying and sprinkling on trees, gardens and rice farms for protecting against plant diseases. Uses : Pursued shell, thrips and water treatment 12
  • 13. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูตรที่ 5 : สูตรไล่แมลง วัสดุอุปกรณ์ 1. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 2. กากน�้ำตาล 1 แก้ว 3. น�้ำส้มสายชู 5% 1 แก้ว 4. เหล้าขาว 28–40 ดีกรี 2 แก้ว 5. น�้ำ 10 ลิตร วิธีท�ำ 1) น�ำส่วนผสมทั้งหมดมาผสมให้เข้ากัน ใส่ภาชนะปิดฝาให้สนิทหมักไว้ 7 – 10 วัน 2) เขย่าถังเบา ๆ วันละอย่างน้อย 1 ครั้ง และเปิดฝานิด ๆ ให้ก๊าซระบายออก 3) ครบก�ำหนดเทใส่ขวดพลาสติกปิดฝาเกลียว เก็บไว้ใช้ได้นาน 3 เดือน วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 20 ลิตร ใช้ฉีด พ่น หรือราดไม้ใบ ไม้ผล พืชสวน ทุกสัปดาห์ ประโยชน์ : สารไล่แมลงชนิดต่างๆ และบ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 5 : Insect repellents Materials 1. EM 1 glass 2. Molasses 1 glass 3. Vinegar (5% v/v) 1 glass 4. Rice whiskey 28–40 degree 2 glasses 5. Water 10 liters Method 1) All ingredients are mixed in a closed container and fermented for 7 – 10 days 2) The container should be shaken at least one time per day. The cover should be a little open for releasing gas. 3) When fermentation finishes it keep in a screwed-cap bottle and it can be used for 3 months. How to use: 4–5tablespoonsaredissolvedin20litersofwaterforsprayingandsprinkling. Uses : Insect repellents and water treatment 13
  • 14. สูตรที่ 6 : สูตรไล่แมลง (โดยใช้ลูกยอสุก) วัสดุอุปกรณ์ 1. ลูกยอสุก 1 กิโลกรัม 2. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 3. กากน�้ำตาล 1 แก้ว วิธีท�ำ : น�ำลูกยอสุกมาสับให้ละเอียด ใส่น�้ำพอท่วมผสมจุลินทรีย์ EM กากน�้ำตาล คนให้เข้ากัน หมักไว้ 10 วันแล้วกรองเอาแต่น�้ำมาใช้ วิธีใช้ : ใช้ 1 แก้ว ผสมน�้ำ 20 ลิตร น�ำไปฉีด พ่น หรือราดไม้ใบ ไม้ผล พืชสวน ประโยชน์ : ก�ำจัดแมลงชนิดต่างๆ บ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 6 : Pursued insect Materials 1. Morinda 1 Kg. 2. EM 1 glass 3. Molasses 1 glass Method : Chop morinda and ferment with EM and molasses for at least 10 days. Then, it is filtered through a white cloth before use. How to use : 1 glass of solution is dissolved in 20 liters of water for spraying or sprinkling on trees, gardens and fruit. Uses : Pursued insect and water treatment 14
  • 15. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูตรที่ 7 : สูตรก�ำจัดไรในเห็ดและพืชต่าง ๆ วัสดุอุปกรณ์ 1. ใบน้อยหน่า 1 ถ้วย 2. ต้นข่า 1 ถ้วย 3 ตะไคร้หอม 1 ถ้วย 4. กากน�้ำตาลหรือน�้ำตาลทรายแดง 1 แก้ว 5. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 6. น�้ำ (ทิ้งไว้ 1 คืน) 1/2 ลิตร วิธีท�ำ 1)น�ำใบน้อยหน่าสับละเอียด1ถ้วยผสมต้นข่าสับละเอียด1ถ้วยจากนั้นใส่ตะไคร้หอม ที่สับละเอียด 1 ถ้วย คลุกเคล้าให้เข้ากัน 2) เติมกากน�้ำตาล และน�้ำเปล่าลงไป ผสมให้เข้ากัน จากนั้นหมักไว้ 15 - 30 วัน วิธีใช้ : ใช้ 1 แก้ว ผสมน�้ำ 20 ลิตร น�ำไปใช้ฉีดพ่น ประโยชน์ : ก�ำจัดไรในเห็ดชนิดต่างๆ รวมทั้งพืชผัก บ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 7 : Elimination of fleas in mushrooms or plant Materials 1. Custard apple leaf 1 cup 2. Mashed galingale 1 cup 3. Lemongrass 1 cup 4. Molasses or brown sugar 1 cup 5. EM 1 glass 6. Water (stored for 1 night) 0.5 liter Method 1) Mix 1 cup of chopped custard apple leaf is mix with 1 cup of mashed galingale. Then, mix with 1 cup of lemongrass. 2) Mix the previous mixture with molasses, EM and water, after that ferment for 15-30 days before use. How to use : 1 glass of fermented solution is dissolved in 20 liters of water for using by spray to tree. Uses : Eliminates fleas and treats water 15
  • 16. สูตรที่ 8 : สูตรสารท�ำความสะอาด และลดมลพิษทางน�้ำ วัสดุอุปกรณ์ 1. มะกรูด 1 ถ้วย 2. กากน�้ำตาล 1 แก้ว 3. ผงขี้เถ้าผสมน�้ำ หรือน�้ำปูนใส 1 แก้ว 4. จุลินทรีย์ EM 1 แก้ว 5. น�้ำ (ทิ้งไว้ 1 คืน) 1 แก้ว 6. N70 (สารท�ำให้เกิดฟอง) 500 ซีซี วิธีท�ำ 1) น�ำมะกรูดมาผ่าซีก ใส่กากน�้ำตาล เติมน�้ำเปล่า หมักทิ้งไว้ 3 เดือน 2) เติมน�้ำปูนใส (น�ำปูนแดงละลายน�้ำ ปล่อยให้ตกตะกอน ตวงแต่น�้ำใสด้านบนมาใช้) และสาร N70 (สารท�ำให้เกิดฟอง) หมักทิ้งไว้อีก 1 เดือน ก็จะน�ำมาใช้ได้ วิธีใช้ : ใช้ 4 – 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน�้ำ 10 ลิตร ฉีดพ่น รด ประโยชน์ : เป็นน�้ำยาล้างจาน ใช้ถูพื้น ก�ำจัดคราบและกลิ่น บ�ำบัดน�้ำเสีย Formula 8 : Cleaner and water treatment Materials 1. Bergamots 1 cup 2. Molasses 1 glass 3. Water Ashes dissolve or limewater 1 glass 4. EM 1 glass 5. water (stored for 1 night) 1 glass 6. N70 (engender foam) 500 cc Method 1) The mixture of bergamots, molasses, EM and water are fermented for 3 months 2)After3months,limewateranddetergentN70areaddedandfermentedfor1month before use. How to use : 4 – 5 tablespoons of fermented liquid is dissolved in 10 liters of water for use by spraying and sprinkling. Uses : Dish-wash cleaner, floor cleaner, smell and water treatment 16
  • 17. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สูตรที่ 9 : การท�ำจุลินทรีย์น�้ำ (ใช้ได้ทันที) วัสดุอุปกรณ์ 1. จุลินทรีย์ EM 1 ช้อนโต๊ะ 2. กากน�้ำตาล 1 ช้อนโต๊ะ 3. น�้ำ 10 ลิตร วิธีท�ำ : น�ำจุลินทรีย์ EM และกากน�้ำตาล ผสมน�้ำให้เข้ากัน วิธีใช้ : พืช ผัก ใช้ฉีด พ่น ราด ทุก ๆ 3 วัน ไม้ดอก ไม้ผล พืชสวน ใช้ฉีด พ่นอยู่ ทุกๆ 7 วัน ประโยชน์ : บ�ำบัดน�้ำเสีย ก�ำจัดกลิ่น Formula 9 : Liquid effective microorganism (available uses) Materials 1. EM 1 tablespoon 2. Molasses 1 tablespoon 3. Water 10 liters Method : Mix all ingredients How to used:Forvegetables, squirtorwetevery3days.Forflowersorfruit,squirtevery7days. Uses : Smell and water treatment 17
  • 18. สูตรที่ 10 : สูตรน�้ำซาวข้าว วัสดุอุปกรณ์ 1. น�้ำซาวข้าว 2 ลิตร 2. จุลินทรีย์ EM 4 ช้อนโต๊ะ วิธีท�ำ 1) น�ำน�้ำซาวข้าว ประมาณ 2 ลิตร (หากไม่ถึง 2 ลิตร ให้เติมน�้ำสะอาดลงไป) 2) ใส่จุลินทรีย์ EM 4 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากัน แล้วบรรจุในขวดพลาสติกชนิดฝาเกลียว ปิดฝาให้สนิท 3) เก็บไว้ 4 วัน น�้ำที่ได้มีสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอมจึงน�ำไปใช้ วิธีใช้ 1.ใช้แทนผงซักฟอกโดยใช้สูตรน�้ำซาวข้าวผสมน�้ำในอัตราส่วน1:20แช่ผ้าทิ้งไว้1คืน กรณีใช้เครื่องซักผ้า ประมาณ 500 ซีซี วันรุ่งขึ้นซักน�้ำสะอาด และน�ำผ้าตากให้แห้ง ผ้าจะสะอาด ไม่กระด้าง รีดง่าย 2. ใช้เป็นสเปรย์ดับกลิ่น โดยน�ำสูตรน�้ำซาวข้าวใส่ขวดที่มีหัวฉีดเป็นละออง ดับกลิ่น เหม็นติดเสื้อผ้า กลิ่นอับในรถยนต์ 3. ใช้ผสมน�้ำถูพื้นบ้าน พื้นครัว (อัตราส่วนต้องดูตามความสกปรก) 4. กรณีที่มีตะกอนที่ก้นขวด ให้ใช้เฉพาะน�้ำที่ใสเท่านั้น 5. ใช้ให้หมดภายในเวลาประมาณ 4 วัน ประโยชน์ : ถูพื้น ท�ำความสะอาด ซักผ้า ดับกลิ่น บ�ำบัดน�้ำเสีย หมายเหตุ 1 แก้ว เท่ากับ 250 ซีซี 1 ช้อนโต๊ะ เท่ากับ 10 ซีซี 1 ถัง เท่ากับ 10 ลิตร น�้ำ ถ้าเป็นน�้ำจากธรรมชาติเช่นน�้ำคลองน�้ำบาดาลใช้ได้เลยแต่ถ้าเป็นน�้ำประปาต้อง ทิ้งไว้ก่อน 1 คืน 18
  • 19. การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อบ�ำบัดน�้ำเสียในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Formula 10 : Washed rice water Materials 1. Washed rice water 2 liters 2. EM 4 tablespoons Method 1) 2 liters of washed rice water (if volume is less than 2 liters, water can be added) 2) Add 4 tablespoons ofEMandmix.Keepinascrew-cappedbottlefor4daysbeforeuse. How to use 1. As detergent by dissolving in water with a ratio of 1:20. Rest allows to on the cloth for 1 night, then wash. 2. As deodorant spray. 3. As floor cleaner by dissolving in water (ratio depends on dirtiness of the surface). 4. If precipitation occurs only the solution can be effectively used. 5. It should be used within 4 days. Uses : Washing, deodorant, floor cleaner Note 1 glass = 250 cc 1 tablespoon = 10 cc 1 bin = 10 liters Water : natural water such as river groundwater can use suddenly, but tap water should be stored over night. 19